Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต้นลุมพุก

ต้นลุมพุก

Published by chonthioha_bum, 2020-05-09 00:57:54

Description: ตะลุมพุก สรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะลุมพุก

Search

Read the Text Version

สาระน่ารู้ ตน้ ลุมพุก หรือ ต้นตะลมุ พุก ส่งเสรมิ การอ่านโดยห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี จงั หวัดยโสธร ตะลุมพกุ หรอื ตน้ ตะลมุ พกุ

ลกั ษณะของตน้ ตะลมุ พุก ตน้ ตะลมุ พุก มถี น่ิ กาเนิดในประเทศไทย อินเดีย บงั คลาเทศ ศรีลงั กา และเวยี ดนาม โดยจัดเป็นไม้ยืน ต้นผลดั ใบขนาดเล็ก มีความสูงของต้นประมาณ 5-10 เมตร ตามลาตน้ และปลายกง่ิ กา้ นมีหนามแหลม ยาวท่ีจะพฒั นาเป็นกิง่ เลก็ โดยหนามจะออกตรงขา้ มกันเป็นคู่ ๆ เป็นปมขรุขระทว่ั ไป กงิ่ ออ่ นเปน็ เหลยี่ มมน เปลอื กลาต้นเปน็ สีน้าตาลเขม้ มเี น้ือไมเ้ ปน็ สขี าวปนสนี ้าตาลออ่ น เนือ้ มีความละเอยี ดและ สม่าเสมอมาก ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมลด็ หรือใชว้ ิธีการตอนกง่ิ มกั พบขน้ึ ตามริมน้า ในป่าเบญจ พรรณและตามปา่ เต็งรัง ที่ระดับความสูงจากระดบั นา้ ทะเลประมาณ 100-800 เมตร เป็นพนั ธป์ุ า่ ทมี่ ี ความทนทานตอ่ ภาพแวดลอ้ ม ไมม่ ีโรคและแมลงมารบกวน มีรูปทรงของตน้ ไม่แนน่ อน ลาตน้ ไม่ตรง แตส่ ามารถดดั หรือตัดแต่งไดไ้ ม่ยากนัก ส่งเสรมิ การอ่านโดยหอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกุมารี จงั หวัดยโสธร ตะลมุ พุก หรอื ต้นตะลมุ พกุ

ใบตะลมุ พุก ใบเปน็ ใบเดี่ยวออกเรยี งตรงข้ามกนั ลักษณะของใบเป็นรปู ไขก่ ลบั ปลายใบเรียบ โคนใบสอบแหลม สว่ นขอบใบเรยี บ มขี นาดกว้างประมาณ 5-10 เซนติเมตรและยาวประมาณ 8-14 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขยี วอ่อน ผิวใบเรยี บ หลงั ใบเรยี บล่นื เป็นมนั ส่วนทอ้ งใบเรียบ เนื้อใบบางและฉีกขาดได้ง่าย แผ่นใบมีขนประปรายปกคลุมอยู่ดา้ นลา่ ง มกี า้ นใบยาวไมเ่ กิน 1 เซนติเมตร และมีหูใบขนาดเลก็ อยรู่ ะหว่างก้านใบ ดอกตะลุมพกุ ดอกเป็นดอกเดีย่ วออกตามซอกใบใกลก้ บั ปลายยอด มขี นาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ดอกประมาณ 3-5 เซนติเมตร กลีบดอกเปน็ สีขาวและมกี ลน่ิ หอม ลกั ษณะของกลบี ดอกเปน็ รปู ทรง กลมใหญ่ มี 5 กลีบ โคนกลีบดอกเชอ่ื มตดิ กนั ปลายกลบี ดอกมน กลบี ดอกค่อนข้างหนา ส่วนหลอด กลีบยาวกว่ากลบี ดอก ส่วนเกสรเพศผูม้ ี 5 กา้ น อบั เรณูเป็นสเี หลอื ง สว่ นเกสรเพศเมียมี 1 ก้าน ก้านเกสรเปน็ สขี าว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็นแฉก 2 แฉก ปลายเกสรเพศเมียเป็นรูปถ้วย ยอดเกสร เพศเมียมีนา้ เมือกคอ่ นข้างมาก ส่วนกลีบเลย้ี งดอกเป็นสขี าวมี 5 กลบี โคนเชือ่ มกัน สว่ นปลายแยก เป็นแฉก 5 แฉก ส่งเสรมิ การอา่ นโดยหอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกุมารี จงั หวดั ยโสธร ตะลมุ พุก หรอื ต้นตะลุมพุก

ใบตะลมุ พุก ดอกตะลุมพุก สง่ เสริมการอา่ นโดยห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี จงั หวัดยโสธร ตะลมุ พกุ หรือตน้ ตะลมุ พกุ

ผลตะลมุ พกุ ผลเปน็ ผลสด ลักษณะของผลเปน็ รูปไข่ กลมรี มขี นาดยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร เนือ้ แน่น แขง็ ผิวผลเรยี บ ผลสดเป็นสีเขียว เมอื่ สุกแล้วจะเปลีย่ นเป็นสเี หลอื ง ส่วนปลายผลมีกลีบ เล้ยี งติดอยู่ ภายในผลมเี มล็ดเปน็ รปู ทรงกลมจานวนมาก เมลด็ มักฝ่อ โดยจะตดิ ผลในช่วงเดอื น กรกฎาคมถงึ เดือนสิงหาคม ส่งเสริมการอ่านโดยห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี จงั หวัดยโสธร ตะลุมพุก หรือตน้ ตะลุมพกุ

สรรพคณุ ของต้นตะลมุ พกุ 1. แก่นตะลุมพุกใช้ผสมกับแก่นตะลมุ พุกแดง (มะคังแดง) น้ามาตม้ กบั น้าดื่มเป็นยาบารุงร่างกาย (แก่น) 2. รากและแก่นต้มกับน้าดม่ื ช่วยบารงุ เลอื ด (ราก, แกน่ ) 3. ผลและรากมรี สฝาดสขุ มุ ช่วยแกท้ ้องเสยี แกบ้ ิดมกู เลือด (ผล, ราก) 4. ผลชว่ ยแกอ้ ตสิ าร (อาการของการเจบ็ ไข้ทีเ่ ขา้ ขีดตายหรือโรคลงแดง) 5. รากและแกน่ นามาต้มกบั นา้ ด่ืม เขา้ ยาแก้ปวดเม่ือย (ราก, แก่น) ส่งเสริมการอา่ นโดยหอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกมุ ารี จังหวดั ยโสธร ตะลุมพกุ หรือต้นตะลมุ พุก

ประโยชน์ของต้นตะลมุ พกุ - คนโบราณจะใช้ผลของตะลมุ พกุ นามาทุบใหแ้ หลก แล้วนาไปใชเ้ ป็นสว่ นผสมของสียอ้ มผ้า ทาใหส้ ตี ิดทนนาน อย่างเชน่ จีวรพระ - เนือ้ ไมต้ ะลมุ พุกเปน็ สขี าวปนสนี า้ ตาลอ่อน มีความละเอยี ดและสม่าเสมอ จงึ นิยมนามาใช้ ในงานแกะสลกั ทว่ั ไป[1] หรือนามาใช้ทาเปน็ เคร่ืองใชส้ อยหรอื ใชท้ าดา้ มเคร่ืองมือตา่ ง ๆ ทา กระสวย ใช้สาหรับงานกลงึ ฯลฯ - ในปัจจุบันจะเหน็ ไดว้ ่ามกี ารปลกู ต้นตะลมุ พกุ ไวเ้ ป็นไม้ประดับ เพราะสามารถดัดหรือตัด แตง่ ได้ไม่ยาก ขยายพันธุ์และปลูกเลี้ยงดแู ลไดง้ า่ ย ดอกสวยและมีกล่นิ หอม เป็นพนั ธ์ไุ มท้ ่ีมี ความทนทานตอ่ สภาพแวดล้อมไดด้ ี เมื่อเจรญิ เติบโตจะสามารถใหร้ ่มเงาได้ดเี น่อื งจากเป็น ตน้ ไม้ทม่ี ใี บเปน็ จานวนมาก สง่ เสริมการอ่านโดยหอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารี จงั หวดั ยโสธร ตะลมุ พุก หรอื ต้นตะลุมพุก

เอกสารอ้างอิง 1. หนังสือสมนุ ไพรไทย เล่ม 1. “ตะลมุ พกุ (Talum Phuk)”. (ดร.นจิ ศริ ิ เรืองรังษี, ธวชั ชยั มังคละคุปต์). หน้า 127. 2. ฐานขอ้ มูลสมนุ ไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี. “ตะลุกพุก”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.phargarden.com. [10 มี.ค. 2014]. 3. ฝา่ ยปฏบิ ตั ิการวจิ ยั และเรือนปลกู พืชทดลอง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. “ตะลุมพกุ ”. (นพพล เกตุ ประสาท). [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: clgc.rdi.ku.ac.th. [10 ม.ี ค. 2014]. 4. ฐานขอ้ มูลพรรณไม้ องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์, กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. “ตะลุมพกุ ”. อ้างอิงใน: หนงั สือพรรณไม้สวนพฤกษศาสตรส์ มเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ เล่ม 2. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: www.qsbg.org. [10 มี.ค. 2014]. 5. แมกโนเลยี ไทยแลนด์. “ตะลกุ พุก”. (ririka). [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: www.magnoliathailand.com. [10 ม.ี ค. 2014]. 6. เว็บไซตท์ อ่ งไทยแลนด์ดอทคอม. “ตะลกุ พกุ ”. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: www.thongthailand.com. [10 มี.ค. 2014]. ภาพประกอบ : www.flickr.com (by dinesh_valke, Nelindah), www.phargarden.com (by Sudarat Homhual) เรียบเรยี งข้อมูลโดยเวบ็ ไซตเ์ มดไทย (Medthai) ส่งเสรมิ การอ่านโดยหอ้ งสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี จังหวดั ยโสธร

ติดตามขอ้ มูลข่าวสารไดท้ ่ี facebook กศน. อาเภอคาเขอื่ นแกว้ เวบ็ ไซต์ กศน. อาเภอคาเข่อื นแกว้ facebook หอ้ งสมดุ ประชาชน เวบ็ ไซต์ห้องสมดุ ประชาชน อาเภอคาเขื่อนแกว้ อาเภอคาเขื่อนแก้ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook