93 สลายตัวไดงายกวาปกติ นอกจากนี้ ยังพบวายาอะมิโนพัยรินและไดพัยโรน มีผลตอสวนประกอบของ เลอื ดอยางมาก 3. ความเปน พษิ ตอ ตบั ถึงแมต ับจะเปนอวยั วะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกําจัดยา แตมันก็ถูก กับตัวยาในความเขมขนที่สูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานท่ีอาจเปนอันตรายตอ เซลลของตบั โดยตรง เชน ยาจําพวก Chlorinated hydrocarbons ยาเม็ดคมุ กําเนดิ ยาปฏิชวี นะจําพวก โพลิมกิ ซนิ และวิตามนิ เอ ในขนานสงู มากๆ อาจทาํ ใหต บั หยอ นสมรรถภาพได 4. ความเปนพิษตอไต ไตเปนอวยั วะที่สําคัญท่ีสุดในการขับถายยาออกจากรา งกาย ยาจาํ พวก ซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทําใหไตอักเสบเวลารับประทานยาพวกนี้จึงควรดื่มนํ้ามาก ๆ นอกจากน้ี ยงั มยี าทอ่ี าจทาํ ใหเกดิ พษิ โดยตรงตอไตได เชน ยานีโอมยั ซนิ เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวก เพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดพิษตอไต ไตหยอน สมรรถภาพ จนถึงขัน้ เสียชีวติ ได 5. ความเปนพษิ ตอ เสน ประสาทของหู ยาบางชนดิ เปน พิษตอเสน ประสาทของหู ทาํ ใหอาการ หูอ้อื หูตึง และหหู นวกได เชน ยาสเตร็ปโตมยั ซิน นีโอมัยซนิ กานามัยซนิ ควินิน และยาจําพวก ซาลิซัยเลท เปน ตน 6. ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใช แอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวนกระวาย อยูไมสุข และ ชักได สวนยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําใหเกิดอาการงวง ซึมเศรา จนถึงขั้น อยากฆาตัวตาย 7. ความเปน พษิ ตอ ระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด ไปทําใหหัวใจเตน เร็วผิดปกติ 8. ความเปน พิษตอ กระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เชน แอสไพริน เฟนลิ บิวตาโซน เพรดโซโลน อนิ โดเมธาซนิ ถารับประทานตอนทองวางและรบั ประทานบอยๆ จะทําใหก ระเพาะอาหารอกั เสบและเปน แผลได 9. ความเปนพษิ ตอทารกในครรภ มียาบางชนิดที่แมไ มค วรรบั ประทานระหวางต้ังครรภ เชน ยาธาลโิ ดไมลช ว ยใหนอนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาลใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใช กลอมประสาท และยาแกคลื่นไสอาเจียน เนื่องจากอาจเปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ เปนผลใหเ ด็กท่ีคลอดออกมามคี วามพิการ เชน บางรายอาจมอื กุด ขากุด จมูกโหว เพดานและรมิ ฝ ปากแหวง หรอื บางคนศรี ษะอาจยุบหายไปเปนบางสวน ดังนน้ั แมใ นระหวา งตั้งครรภค วรระมัดระวงั การ ใชยาเปน อยา งย่ิง
94 การใชยาผดิ และการตดิ ยา (Drug Abuse and Drug Dependence) การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจน จุดประสงคข องการใชย าน้ันในการรกั ษาโรค เชน การใชย าบารบ ทิ ูเรต (เหลา แหง ) เพื่อใหนอนหลบั สบาย โดยอยูภายใตก ารดแู ลของแพทย ถอื วาเปน การใชย าถกู ตอ ง แตถาใชยาบารบ ิทเู รต (เหลา แหง ) จํานวนเดิม เพอ่ื ใหเคลบิ เคลมิ้ เปน สขุ (Euphoria) ถอื วา เปนการใชยาผิด การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปชั่วระยะเวลาหน่ึง แลวอวัยวะของรางกายโดยเฉพาะ อยา งย่ิงระบบประสาท ไดยอมรบั ยาขนานน้นั เขา ไวเปนสิ่งหน่ึงท่ีจําเปน สําหรับเมตาบอลิซึมของอวัยวะน้ัน ๆ ซึง่ ถาหากหยุดยาหรือไดร ับยาไมเพยี งพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการถอนยา (Abstinence or Withdrawal Syndrome) ซึง่ แบง ไดเ ปน อาการทางกาย และอาการทางจติ ใจ สาเหตทุ ่ที าํ ใหเกิดการใชย าผิดหรอื การตดิ ยา อาจเนอ่ื งมาจาก 1. ความเชอ่ื ทวี่ า ยาน้ันสามารถแกโรคหรอื ปญหาตา งๆ ได 2. สามารถซ้อื ยาไดง ายจากแหลงตา งๆ 3. มีความพงึ พอใจในฤทธ์ขิ องยาที่ทาํ ใหร ูสกึ เคลบิ เคลิ้มเปน สขุ 4. การทาํ ตามอยา งเพอื่ น เพอ่ื ใหเ ขากับกลุมได หรือเพ่อื ใหร สู กึ วาตนเองทันสมยั 5. ความเชือ่ ทว่ี ายาน้นั ชวยใหม คี วามสามารถและสติปญ ญาดีขนึ้ 6. ความไมพ อใจในสภาพหรือสังคมท่เี ปน อยู หรอื ความรูส กึ ตอตานวัฒนธรรม 7. การหลงเชอื่ คาํ โฆษณาสรรพคณุ ของยานัน้ การใชย าผดิ แบงตามลกั ษณะการใชโดยสังเขปไดเปน 2 ประการ คอื 1. ใชผ ิดทาง ไมเปน ไปเพ่อื การรักษาโรค เชน ใชยาปฏชิ วี นะเสมอื นหนึ่งเปน การลดไข ชาวนา ใชข ี้ผึง้ เพนิซิลลินทาแทนวาสลิน เพื่อกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึงแกชีวิตได โดยท่ัวไป แพทยจะใหนา้ํ เกลอื และยาบาํ รงุ เขา เสน ตาง ๆ เฉพาะผูที่ปวยเทาน้ัน แตผูท่ีมีสุขภาพดีกลับนําไปใชอยาง กวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใหป ระโยชนแลวยงั เปนอนั ตรายถึงชีวิตได 2. ใชพร่ําเพร่ือ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมีสวนผสมของ แอสไพริน และเฟนาเซติน เพื่อรกั ษาอาการปวดเม่อื ยหรือทําใหจ ิตใจเปน สขุ ถาใชต ดิ ตอกันนาน ๆ ทําให ติดยาและสขุ ภาพทรดุ โทรม นอกจากนี้ การใชย านอนหลับ ยาระงบั ประสาท ยากลอมประสาท กญั ชา โคเคน แอมแฟตามนี โบรไมด การสูดกาวสารทาํ ใหเ กิดประสาทหลอนตดิ ตอ กันเปน เวลานานจะทาํ ใหต ิดยาได ขอควรระวังในการใชสมนุ ไพร เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคท่ีจะใชสมุนไพรไมวาจะเพ่ือประสงคอยางไรก็ตาม ใหร ะลกึ อยเู สมอวา ถาอยากมสี ุขภาพที่ดี หายจากการเจ็บปวย สิง่ ที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปน สง่ิ ทีด่ ี มปี ระโยชนตอรา งกายดว ย อยา ใหความเช่อื แบบผดิ ๆ มาสง ผลเสยี กับรา งกายเพ่ิมขึ้น หลายคนอาจ เคยไดย ินขาวเกี่ยวกับหมอนอย ซ่ึงเปน เด็กอายเุ พยี ง 3 ป 7 เดอื น ท่ีเปนขา วในหนา หนังสอื พมิ พเ มื่อป 2529 ท่ีสามารถรกั ษาโรคไดทุกชนิดใชเพียงกงิ่ ไมใ บไมอ ะไรกไ็ ดแ ลวแตจ ะช้ีไป คนเอาไปตมรับประทานดวย
95 ความเช่ือ ซ่ึงความจริงการเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และความรูที่ถูกตอง การใชจึงจะเกิด ประโยชน ขอควรระวงั ในการใชอยางงายๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน การใชส มนุ ไพร คือ - ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีช่ือพองกัน การใชผิดตน นอกจากไมเ กดิ ผลในการรักษาแลว ยังอาจเกิดพิษข้นึ ได - ใชใหถกู สวน ในแตละสว นของพชื สมนุ ไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมีสรรพคุณไมเหมือนกัน และบางสวนอาจมพี ษิ เชน เมลด็ ของมะกล่ําตาหนูเพยี งเม็ดเดียว ถา เค้ียวรับประทานอาจตายได ในขณะที่ สวนของใบไมเ ปนพิษ - ใชใ หถ กู ขนาด ปรมิ าณการใชเปน สวนสาํ คัญทท่ี าํ ใหเกิดพษิ โดยเฉพาะ ถา มีการใชในปรมิ าณ ที่มากเกินไป หรือถานอ ยเกนิ ไปก็ไมเ กิดผลในการรกั ษา - ใชใหถ กู โรค สมนุ ไพรแตละชนิดมีสรรพคุณไมเ หมอื นกนั เปนโรคอะไรควรใชส มุนไพรท่ีมี สรรพคณุ รกั ษาโรคนั้นๆ และสง่ิ ที่ควรคาํ นงึ คอื อาการเจ็บปวย บางอยางมคี วามรุนแรงถึงชวี ิตได ถา ไมได รับการรักษาทันทวงทีในกรณีเชนน้ีไมควรใชยาสมุนไพร ควรรับการรักษาจากแพทยผูเช่ียวชาญจะ เหมาะสมกวา การรับประทานยาสมุนไพรจากท่ีเตรียมเอง ปญหาท่ีพบบอยคือ ไมทราบขนาดการใชท่ี เหมาะสมวา จะใชป รมิ าณเทาใดดี ขอแนะนาํ คอื เริ่มใชแ ตนอยกอ นแลวคอ ยปรับปริมาณเพิม่ ขนึ้ ตามความ เหมาะสมทีหลัง (มีศัพทแ บบพน้ื บานวา ตามกําลงั ) ไมควรรับประทานยาตามคนอน่ื เพราะอาจทําใหรับยา มากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาที่ซื้อจากรานควรอานฉลาก วธิ กี ารใชอยางละเอยี ดและใหเขาใจกอนใชทกุ คร้งั การหมดอายขุ องยาจากสมนุ ไพรเชนเดียวกันกับยาแผนปจจุบัน โดยทั่วไปสมุนไพรเมื่อเก็บ ไวน านๆ ยอมมกี ารผุพัง เกดิ ความชื้น เช้อื รา หรอื มีแมลงวันมากัดกิน ทําใหอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมท่ี จะนําไปใช และมกี ารเส่ือมสภาพลงแตก ารจะกําหนดอายุทแี่ นน อนน้นั ทาํ ไดยาก จึงควรนับตั้งแตวันผลิต ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไมควรใชเม่ือมีอายุเกิน 2 ป ยกเวนมีการผลิตหรือเก็บบรรจุที่ดี และถา พบวา มเี ชื้อรา มกี ลนิ่ หรอื สีเปลยี่ นไปจากเดมิ ก็ไมควรใช ขอ สงั เกตในการเลือกซือ้ สมนุ ไพร และยาแผนโบราณ ดงั นัน้ ยาแตล ะชนดิ ทางกฎหมายมขี อ กําหนดท่แี ตกตางกนั ในการเลือกซอ้ื หรอื เลอื กใชจงึ ตอ ง รคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมายเสียกอ น จงึ จะรวู า ยาชนดิ ใด จะมคี ุณสมบัติอยางไร มีวิธีการใน การสงั เกตอยางไร เพื่อที่จะไดบอกไดวายานั้น ควรที่จะใชหรือนาที่จะมีความปลอดภัยตอการใช ส่ิงท่ี นา จะรหู รอื ทําความเขา ใจ คอื ความหมายของยาชนดิ ตาง ๆ ดังน้ี ยาสมนุ ไพร คือ ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธาตุ ซึ่งมไิ ดผสมปรงุ หรอื แปรสภาพ
96 ยาแผนโบราณ คอื ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณ ซ่ึงอยูในตาํ รา แผนโบราณท่รี ัฐมนตรปี ระกาศ หรือยาทไ่ี ดรับอนุญาตข้ึนทะเบียนเปน ยาแผนโบราณ หรอื ใหเ ขา ใจงายๆ คือ ยาท่ีไดจ ากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามทร่ี ะบุไวใ นตาํ รายาหรือ ท่ีกําหนดใหเ ปนยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณนั้นกําหนดวา ใหใชวิธีท่ีสืบทอด กนั มาแตโบราณโดยไมใ ชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตมรับประทาน หรือทํา เปนผงละลายนาํ้ รับประทาน แตใ นปจ จุบันมขี อกําหนดเพม่ิ เตมิ ใหยาแผนโบราณมีการพัฒนารูปแบบให สะดวกและทันสมยั ขึ้นเชน เดยี วกับยาแผนปจจบุ นั เชน ทําเปนเม็ด เม็ดเคลือบน้ําตาลหรือแคปซูล โดยมี ขอ สังเกตวาที่แคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ เรอื่ งท่ี 3 ความเช่อื เก่ยี วกับการใชยา ปจ จบุ นั แมวา ความกา วหนา ทางแพทยส มยั ใหมร วมท้ังวิถีชีวติ ท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก จะทํา ใหคนทั่วไปเม่อื เจ็บปว ยหนั ไปพึง่ การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทยซ ึง่ มงุ เนนการใชย าแผนปจจุบันใน การรกั ษาอาการเจบ็ ปว ยเปนหลกั โดยใหค วามสาํ คญั ความเชื่อถอื ในยาพน้ื บา น ยาแผนโบราณลดนอยลง ทําใหภมู ิปญญาพ้ืนบา นรวมถึงตาํ หรับยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยงั ขาดความ ตอ เนอ่ื งในการถายทอดองคความรูใ นการดูแลรกั ษาตนเองเบือ้ งตนดวยวธิ ีการและพชื ผัก สมนุ ไพร ท่ีหา ไดงายในทอ งถิ่น โดยองคความรูท่ีถา ยทอดจากรนุ สูรนุ นน้ั ไดผา นการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผลและไมเ กดิ อันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ตามยังคงมีความเชื่อบางประการเกี่ยวกับการใชยาเพ่ือเสริมสุขภาพ และ สมรรถภาพเฉพาะดาน ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการแพทย วามี สรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอาง หรือบอกตอ ๆ กัน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายหรือผลขางเคียงหากใช
97 จํานวนมากและตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลือด ยาชงสมุนไพร ยาที่ทําจากอวัยวะ ซากพืชซากสัตว เปน ตน รวมถึงยาชดุ ตาง ๆ ท่มี กั มกี ารโฆษณาชวนเชื่ออวดอาง สรรพคุณเกินจริง ทําให คนบางกลุมหลงเช่ือ ซอื้ หามารบั ประทาน ยาบางชนิดมีราคาแพงเกนิ ปกตโิ ดยอางวาทาํ จากผลิตภัณฑท่ี หายาก สรรพคุณครอบจกั รวาล สามารถรกั ษาไดส ารพดั โรค ซ่งึ สรรพคุณท่ีมกั กลาวอา งเกนิ จรงิ อาทิเชน - กินแลวจะเจริญอาหาร ทําใหรับประทานอาหารไดมากข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพร บางชนดิ - กนิ แลวจะทาํ ใหมกี าํ ลงั สามารถทาํ งานไดทนนาน - กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพิ่มขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตีนหมี ดงี ูเหา ฯลฯ - กินแลวจะทําใหเ ลือดลมไหลเวยี นดี นอนหลบั สบาย ผิวพรรณผอ งใส เชน ยาฟอกเลือด ยาสตรี ยาขับระดู ฯลฯ - กินแลวทําใหเ ปนหนมุ เปนสาว อวยั วะบางสวนใหญข้ึน เชน เขากวาง และกวาวเครือแดง เสริม ความหนมุ กวาวเครอื ขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน - กินแลวจะชวยชะลอความแกหรือความเสื่อมของอวัยวะ เชน รังนกซึ่งทําจากนํ้าลายของ นกนางแอน หูฉลามหรือครีบของฉลาม หรอื โสม ซึง่ สว นใหญม รี าคาแพงไมคุมคากับประโยชนท รี่ า งกาย ไดรบั จริง ๆ - กนิ แลวรกั ษาอาการปวดเม่ือย ไขขอ อกั เสบเรอ้ื รงั เชน ยาชุดตาง ๆ ยาแกกระษัยไตพิการ ซึ่งมัก ผสมสารหนู ที่เปนอันตรายตอรางกายมาก เพราะผูใชอาจมักติดยาตองรับประทานเพิ่มขึ้นจึงเกิดการ สะสมพษิ เมือ่ เกดิ อนั ตรายมกั มีอาการรุนแรงยากแกการรักษา ทง้ั น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกิดจากความเชื่อผิด ๆ หรือเชื่อในคําโฆษณาเกินจริง ที่แฝงมา ดว ยภยั เงยี บที่กอใหเกดิ อนั ตรายตอ รา งกายหากใชอยางตอ เนื่องและใชในจาํ นวนมาก นอกจากน้ียังทําให เสียคา ใชจา ยคอนขางสงู แตไมเกดิ ประโยชนตอ รางกายไมมีผลในการรกั ษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ี กลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือหายาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพมาใช ควรศึกษาสรรพคุณ สวนประกอบ แหลงผลิต วันหมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิตโดยพิจารณาจากมีเลขทะเบียนถูกตองหรือไม มตี รา อย. หรือมีใบอนุญาตการผลติ ใบประกอบโรคศลิ ปะแพทยแ ผนโบราณ เปนตน ความเชื่อและขอ ควรระวังในการใชย าชดุ ยาดองเหลา และยาชงสมนุ ไพร 1. ยาชุด ยาชดุ หมายถงึ ยาท่ผี ูข ายจดั รวมไวใหก ับผซู อ้ื สําหรับใหกนิ ครง้ั ละ 1 ชุด รวมกันหมด โดยไม แยกวา เปนยาชนดิ ใด ควรจะกนิ เวลาไหน โดยทัว่ ไปมกั จะมียา ต้งั แต 3 – 5 เมด็ หรืออาจมากกวาและอาจ จดั รวมไวในซองพลาสตกิ เล็กๆ พิมพฉ ลากบงบอกสรรพคุณไวเ สร็จ
98 สรรพคุณท่พี มิ พไวบนซองยาชดุ มกั โออ วดเกนิ ความจรงิ เพ่ือใหขายไดมาก ช่ือท่ีตั้งไวจะเปน ชื่อท่ีดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชุดแก ไขมาลาเรยี เปน ตน เนอื่ งจากผจู ดั ยาชุดไมม ีความรเู ร่อื งยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเปนสําคัญ ดังนั้น ผใู ชย าชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อันตรายจากยาสงู มาก อนั ตรายจากการใชยาชดุ 1. ไดรับตัวยาซํ้าซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุดแกปวดเมื่อย ในยาชุดหน่ึงๆ อาจมยี าแกปวด 2-3 เม็ด ก็ได ซึ่งยาแกป วดน้จี ะอยใู นรปู แบบตางกัน อาจเปนยาคนละสีหรือขนาดเม็ดยา ไมเ ทากัน แตมีตัวยาแกป วดเหมอื นกัน การทไี่ ดรับยาเกินขนาดทําใหผ ูใ ชยาไดร บั พิษจากยาเพิ่มข้นึ 2. ไดร ับยาเกนิ ความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชีวนะยาลดน้ํามูก ยาทําใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดในอาการหวัดที่เกิดจากเช้ือไวรัส และอาการหวัดของแตละคนไมเ หมอื นกัน ถาไมปวดหัวเปน ไข ยาแกป วด ลดไขไ มจําเปน ไมมีอาการไอ ไมควรใชยาแกไอ การรกั ษาหวดั ควรใชบ รรเทาเฉพาะอาการท่ีเกิดขึ้นเทาน้ันไมจําเปนตองกินยาทุกชนิดที่ อยใู นยาชุด 3. ในยาชุดมักมียาเส่ือมคุณภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเก็บรักษายาชุดที่อยูในซองพลาสติก จะไมสามารถกันความชื้น ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดที่บริษัทเดิมผลิตมา ทําใหยาเส่ือม คุณภาพเรว็ นอกจากนนั้ ผูจ ัดยาบางชดุ บางรายตองการกาํ ไรมากจึงเอายาปลอมมาขายดว ย ซึง่ เปนอนั ตรายมาก 4. ในยาชุดมักใสย าอนั ตรายมากๆ ลงไปดว ย เพ่อื ใหอาการของโรคบรรเทาลงอยา งรวดเร็ว เปน ท่พี อใจของผูซ้ือทงั้ ผขู ายโดยทย่ี าจะไปบรรเทาอาการแตไมไดแกสาเหตุของโรคอยางแทจริง อาจทําให โรคเปน มากขนึ้ ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุกชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายา ครอบจกั รวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธ์ิบรรเทาอาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรค ทเุ ลาลงเรว็ แตจ ะไมรักษาโรคใหห าย ยาสเตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทาํ ใหเกดิ อนั ตราย ตอผูใชสูงมากทําใหเกิดอาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทํางานหนัก หนาบวม กลมเหมือน พระจันทร ทาํ ใหก ระดูกพรุน เปราะหกั งา ย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําให เกิดความผิดปกตดิ า นประสาทจิตใจ 5. ผทู ใ่ี ชยาชดุ จะไดยาไมค รบขนาดรกั ษาทพ่ี บบอ ยคอื การไดร ับยาปฏชิ วี นะเพราะการใชย า ปฏชิ วี นะตองกนิ อยางนอย 3-5 วนั วนั ละ 2-4 ครัง้ แลว แตชนดิ ของยา แตผซู อ้ื ยาชุดจะกนิ ยาเพียง 3-4 ชุด โดยอาจกนิ หมดในหนงึ่ วนั หรือกนิ วันละชดุ ซ่งึ ทําใหไ ดร บั ยาไมครบขนาด โรคไมห ายและกลับดอ้ื ยา อกี ดวย
99 การใชย าชุดจึงทําใหเ สียคณุ ภาพ การใชย าไมถกู โรค ทําใหโ รคไมหายเปน มากขน้ึ ผปู วยเสี่ยง อันตรายจากการใชยาโดยไมจ ําเปนสิน้ เปลืองเงนิ ทองในการรกั ษา 2. ยาดองเหลา และยาเลือด หลายคนอาจเคยเหน็ และเคยรับประทานยาชนดิ นี้มาบางแลว แตเดิมยากลมุ นจี้ ะใชใ นกลุมสตรี เพ่อื บํารงุ เลอื ด ระดูไมป กติ และใชในกลุมสตรีหลังการคลอดบุตร เพ่ือใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบ ของตวั ยาจะมีสมนุ ไพรทีม่ รี สเผ็ดรอ นหลายชนดิ เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว เปลือกอบเชยเทศ ขิง และสวนผสมอ่ืนๆ แลวแตชนิดของตํารับ มีขายทั้งที่เปนช้ินสวนสมุนไพรและท่ี ผลิตสําเรจ็ รูปเปนยาผงและยาน้าํ ขาย สวนใหญย าในกลมุ น้ียากท่จี ะระบถุ งึ สรรพคณุ ท่แี ทจรงิ เน่ืองจากยัง ขาดขอมูล ผลของการทดลองทางคลินิกเทาท่ีทราบมีเพียงสวนประกอบของตัวยาซึ่งสวนใหญเปนสาร น้ํามันหอมระเหยและสารเผ็ดรอนหลายชนิด เม่ือรับประทานเขาสูรางกายจะรูสึกรอน กระตุนการ ไหลเวียนโลหิต สมุนไพรหลายชนิดในตํารับ เชน เจตมูลเพลิงแดง และกระเทียม มีรายงานวาสามารถ กระตุนการบบี ตวั ของกลา มเน้ือมดลูก และมีรายงานการทดลองในหนูเพศเมยี เมื่อไดรับยาจะทาํ ใหล ดการ ตงั้ ครรภได จงึ เปน ขอทคี่ วรระวังในผูท่ตี ้ังครรภไ มควรรับประทานยากลุมน้ีอาจทําใหแทงได และหลาย ตํารับจะมีการดองเหลาดวย เม่ือรับประทานทําใหเจริญอาหารและอวนข้ึน การอวนมักเกิดจาก แอลกอฮอล (เหลา ) ทไ่ี ปลดการสรางพลังงานท่ีเกิดจากกรดไขมัน (Fatty acid) จึงมีการสะสมของไขมัน ในรา งกาย และอาจเกิดตบั แขง็ ไดถ ารบั ประทานในปรมิ าณมาก ๆ และติดตอ กนั ทุกวัน นอกจากนี้การดื่ม เหลาอาจทําใหเด็กทารกท่อี ยูในครรภเ กิดการพกิ ารได ในเร่อื งยาเลือดนอี้ าจมีความเชื่อและใชกันผิดๆ คือ การนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปนยาทําแทง ซึ่งเปนส่ิงท่ีไมควรอยางยิ่งโดยเฉพาะเมื่อการตั้งครรภเกิน 1 เดอื น เน่ืองจากไมค อยไดผล และผลจากการกระตุน การบีบตัวและระคายเคืองตอผนังมดลูกที่เกิดจาก การใหย าอาจทาํ ใหเกิดการทาํ ลายของเยื่อบุผนังมดลูกบางสว นเปนเหตุใหทารกเกิดมาพิการได 3. ยาชงสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรเปนทีน่ ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและเอเชียในประเทศ ไทยปจจุบันพบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปนยาชงมากข้ึน เชน ยาชงดอกคําฝอย หญาหนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน ขอ ดขี องยาชงคอื มักจะใชส มนุ ไพรเดี่ยวๆ เพยี งชนดิ เดยี ว เม่ือใชก นิ แลวเกดิ อาการอันไม พึงประสงคอยางไรกต็ ามสามารถรูวาเกิดจากสมนุ ไพรชนิดใดตางกับตํารายาผสมท่เี ราไมส ามารถรูไดเลย ในตางประเทศมรี ายงานเรอื่ งความเปน พิษทีเ่ กดิ จากยาชงสมุนไพรท่ีมขี ายในทอ งตลาดกนั มาก และเกดิ ได หลายอาการ สําหรับประเทศไทย รายงานดา นนยี้ ังไมพ บมากนกั เนือ่ งจากสวนใหญมีการเลือกใชสมุนไพร ท่ีคอนขา งปลอดภัย แตท คี่ วรระวังมีชาสมนุ ไพรทีม่ สี วนผสมของใบหรอื ฝกมะขามแขก ใชประโยชนเ ปน ยาระบายทอง บางยห่ี อระบเุ ปนยาลดความอวนหรอื รบั ประทานแลว จะทาํ ใหห นุ เพรียวข้ึน อาการที่เกดิ คือ สาเหตจุ ากมะขามแขกซงึ่ เปน สารกลุมแอนทราควิโนน (Antharquinone) จะไปกระตนุ การบีบตวั ของ
100 ลําไสใ หญ ทาํ ใหเ กดิ การขบั ถาย การรับประทานบอยๆ จะทําใหรางกายไดรับการกระตุนจนเคยชิน เม่ือ หยดุ รับประทานรางกายจึงไมส ามารถขับถา ยไดเ องตามปกติ มีอาการทองผูกตองกลับมาใชยาระบายอีก เรื่อย ๆ จงึ ไมค วรใชยาชนิดน้ีติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพ่ิมปริมาณกากและชวย หลอ ล่นื อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสูรางกาย เชน สารสกัดจากหัวบุกจะปลอดภัยกวา แตการรับประทาน ตดิ ตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหร างกายไดร บั ไขมันนอ ยกวา ความตองการก็ได เพราะรา งกายเราตองการไขมัน ตอการดํารงชีพดวย สารกลมุ แอนทราควิโนน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108