ผู้จัดทำ นางสาว จุฑามาศ สุทธิศิริ ชั้น ปวส 1/3 เลขที่ 17 รหัสนักศึกษา 64321120341
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารละลาย (Solution)
จุดประสงคการเรียนรู เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของสารละลาย การละลาย ของสารในตัวทำละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติมวลและพลังงานของสารเมื่อสาร เกิดการละลายได้ เพื่อให้มีทักษะในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย
ความหมายของสารละลาย เนื้อหา องค์ประกอบของสารละลาย พลังงานกับการละลายของสาร ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย
ความหมายของสารละลาย สารละลาย (solution) สารละลาย (Solution) หมายถึง สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ ซึ่งเกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป รวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งสามารถจำแนกแบ่งออกได้เป็น 3 สถานะ คือ สารละลายของแข็ง สารละลายของเหลว และสารละลายแก๊ส
องค์ประกอบของสารละลาย สารละลาย (solution) ตัวท ําละลาย(Solvent) ตัวถูกละลาย(Solute)
ตัวทำละลาย(Solvent) ตัวถูกละลาย(Solute) ตัวทำละลาย คือ สารที่ให้อนุภาค ตัวถูกละลาย เป็นได้ทั้งของแข็ง ของสารอื่นสามารถแทรกกระจาย ของเหลว และก๊าซ ตัวอยู่ได้ และเป็นสารที่มีปริมาตร มากกว่าตัวถูกทำลาย ซึ่งเป็นได้ทั้ง ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
ตารางตัวอย่างสารละลาย องค์ประกอบ สารละลาย ตัวละลาย ตัวทำละลาย น้ำส้มสายชู กรดแอซิติก น้ำ (ของเหลว) น้ำ (ของเหลว) (ของเหลว) น้ำ (ของเหลว) น้ำเชื่อม น้ำตาล (ของแข็ง) น้ำโซดา คาร์บอนไดออกไซด์ (แก๊ส)
การละลายของสารในตัวทำละลาย การเตรียมสารละลาย การนำตัวทำละลายและตัวละลายมาผสมกัน อาจทำให้เกิดสารละลายประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ 1. สารละลายเข้มข้น (Concentrated Solution) เป็นสารละลายที่มีปริมาณของตัวละลายอยู่มากใน สารละลาย 2. สารละลายเจือจาง (Dilute Solution) เป็นสารละลายที่มีปริมาณของตัวละลายอยู่น้อยในสารละลาย 3. สารละลายอิ่มตัว (Saturated Solution) เป็นสารละลายที่มีปริมาณตัวละลายมากที่สุดที่จะสามารถละลายได้ ในตัวทำละลาย และไม่สามารถละลายได้อีก ณ อุณหภูมิขณะนั้น
สารละลายกรด - เบส สารละลายกรด (Acid Solution) การแบ่งประเภทของสารละลายกรด 2. แบ่งตามแหล่งกำเนิด 2.2 กรดอนินทรีย์(Inorganic Acid) เป็นกรดที่ได้ 2.1 กรดอินทรีย์ (Organic Acid) เป็นกรดที่ได้จาก จากแร่ธาตุ มีความสามารถในการกัดกร่อนสูง ถ้าถูก ธรรมชาติหรือจากสิ่งมีชีวิต มีธาตุคาร์บอน (C) ผิวหนัง ไฮโดรเจน (H) หรือเนื้อเยื่อของร่างกายจะทำให้ไหม้แสบ หรือมีผื่นคัน ออกซิเจน (O) หรือหมู่คาร์บอกซิล (COOH) เป็นองค์ เช่น ประกอบ เช่น ➤ กรดไฮโดรคลอริก (Hydrochloric Acid) หรือ ➤ กรดแอซีติก (Acetic Acid) หรือกรดน้ำส้ม ➤ กรดซิตริก (Citric Acid) หรือกรดมะนาว กรดเกลือ ➤ กรดแอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) หรือวิตามิน ➤ กรดไนตริก (Nitric Acid) หรือกรดดินประสิว ➤ กรดคาร์บอนิก (Carbonic Acid) หรือกรดหินปูน
พลังงานกับการละลายของสาร
ความเข้มข้นของสารละลาย 1.1 ร้อยละโดยมวลต่อมวล (%W/W) หรือเรียกย่อๆ ว่า ร้อยละโดยมวล (% by W) เป็นหน่วยความเข้มข้นที่ใช้ “บอกมวลของตัวถูกละลายในสารละลาย 100 หน่วย มวลเดียวกัน” ตัวอย่าง NaCl เข้มข้น 10% โดยมวลในสารละลาย 100 กรัม คือ ในสารละลาย100 กรัม มีNaClละลาย10 กรัม หรือ NaClจำนวน 10 กรัม ละลายในน้ำ 90 กรัม
1.2 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร (%V/V) หรือเรียกย่อๆ ว่า ร้อยละโดย ปริมาตร (% by V) เป็นหน่วยที่ใช้บอก “ปริมาตรของตัวถูกละลายใน สารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน” ตัวอย่าง สารละลายเอทานอลเข้มข้น 25% โดยปริมาตร คือ ในสารละลาย100 ลบ.ซม. มีเอทานอลละลาย25ลบ.ซม. หรือ เอทานอลจำนวน 25ลบ.ซม. ละลายในน ้า 75 ลบ.ซม.
1.3 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร(% W/V) เป็นหน่วยที่ใช้บอก “มวลของตัวถูกละลายใน สารละลาย 100 หน่วยปริมาตร” หน่วยของมวลและปริมาตรจะต้องสอดคล้องกัน คือ ถ้า มวลเป็นกรัม ปริมาตรจะเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) หรือถ้ามวลเป็นกิโลกรัม ปริมาตรจะเป็นลิตร ตัวอย่าง สารละลายน้ำเชื่อมเข้มข้น 15 % โดยมวลต่อปริมาตร คือ น้ำตาล จำนวน 15กรัม ละลายในน้ำ 85 ลบ.ซม.
สูตรหาความเข้มข้นของสารละลาย 1.1 ร้อยละโดยน้ำหนัก (weight/weight) % (w/w) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็นกรัม x 100% น้ำหนักสารละลายเป็นกรัม 1.2 ร้อยละปริมาตรต่อปริมาตร (volume/volume) % (v/v) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็น cm 3 x 100% น้ำหนักสารละลายเป็น cm 3 1.3 ร้อยละมวลต่อปริมาตร (weight/volume) % (w/v) = น้ำหนักของตัวถูกละลายเป็นกรัม x 100% ปริมาตรสารละลายเป็ น cm 3
อ้างอิง http://www.sysp.ac.th/files/20140001_18072512125 446.pdf https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/11241- 2019-12-19-07-24-03
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: