จดั ทาํ โดย นักเรยี นชัน้ ม.6/6 น.ส.ณัชชา เดชสกุลธร เลขท่ี 15 น.ส.ไรวินท ธรรมสุวรรณ เลขที่ 22
ป ร ะ วั ติ พระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซิส บี.แซร์ เปนชาว อเมริกา บุตรของนายโรเบิรต์ และนางมาร์ธา ฟนเล่ย์ เนวิน (Robert and Martha Finley Nevin) เกิดทางตอน ใต้ของเมืองเซาท์เบทเลเฮม รัฐเพนซิลวาเนีย เมือวันที ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๒๘ การศึ ก ษาแ ละ ประ สบก า รณ์ ก าร ทํา งา น จบการศึกษาจากวิทยาลัยวิลเลียมส์ (Williams College) ในป พ.ศ. ๒๔๕๒ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด7. (LL.B. ย่อมาจาก Bachelor of Laws) ในป พ.ศ. ๒๔๕๕ปริญญา ดุษฎีบัณฑิตทางกฎหมาย ในป พ.ศ. ๒๔๖๑ เปนผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาลัยวิลเลียมส์ (Williams College) ในป พ.ศ. ๒๔๕๗ – ๒๔๖๐ เปนอธิการบดีมหาวิทยาลัย Princeton ในป พ.ศ. ๒๔๕๖ – ๒๔๖๔ เปนอาจารย์วิชาการปกครอง ในป พ.ศ. ๒๔๖๒ – ๒๔๖๖เปนผู้ช่วยศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ในวิชา กฎหมาย
ก า ร เ ข้ า ม า เ มื อ ง ไ ท ย Dr. Francis Bowes Sayre ในสมัยรัชกาลที ๕ ประเทศสยามมีความสัมพันธ์อันดีกับมหาวิทยาลัย ฮาร์เวิร์ด ซึงเปนมหาวิทยาลัยทีมีชือเสียงในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสมัย นัน พระองค์ได้ว่าจ้างมิสเตอร์ เจนส์ ไอ. เวสสเตนการด์ ศาสตราจารย์ที มหาวิทยาลัยแห่งนีมาเปนทีปรึกษาด้านกฎหมาย เพราะถูกรุกลําดินแดนและ เอาเปรียบหลายๆ อย่างจากประเทศอังกฤษ ประเทศฝรังเศส รวมถึงชาติ อืนๆ ในขณะที ดร. ฟรานซิส บี. แซร์ กําลังทําการสอนอยู่ทีมหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด คณบดีก็ได้เรียกท่านเข้าไปพู ดคุยและถามว่า “จะไปทํางานทีตะวันออก ไกลในตําแหน่งทีปรึกษาการต่างประเทศของพระเจ้าแผ่นดินสยามบ้างไหม” แน่นอนว่าแม้ตอนนันจะมีอาจารย์จากมหาวิทยาลัย ฮาร์เวิร์ดหลายคนเคยไป เปนทีปรึกษา แต่ในขณะนันนอกจากตัวท่านเองแล้วก็ยังมีบุตรอีก ๓ คน ที ต้องดูแลอีก แต่เมือได้พู ดคุยกับเหล่ามิชชันนารีถึงสภาพชีวิตความเปนอยู่ ในกรุงเทพฯ ท่านจึงตัดสินใจไป แต่กําหนดระยะเวลาทีจะอยู่ประเทศสยาม เอาไว้เพียง ๑ ปเท่านัน ในป พ.ศ. ๒๔๖๖ ปลายรัชกาลที ๖ ดร. ฟรานซิส บี. แซร์ ก็ได้เข้ามารับราชการในเมืองไทย เปนทีปรึกษาการต่างประเทศ ขณะ นันเมืองไทยกําลังมุ่งทีจะขอแก้ไขสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที ประเทศไทยเคยทําไว้กับนานาประเทศ โดยเฉพาะทีเกียวกับอํานาจศาล และ การภาษีอากร ซึงประเทศไทยเปนฝายเสียเปรียบอยู่จนสามารถดาํ เนินการ แก้ไขสนธิสัญญาสาํ เร็จ
ผลงาน ในรชั สมยั ของรชั กาลที ๗ พระองค์ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหม้ กี ารรา่ ง รฐั ธรรมนญู ขนึ มาใชใ้ นประเทศตามแบบของประเทศศิวไิ ลซท์ ีใชก้ ัน ซงึ พระยา กัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ ก็มสี ว่ นชว่ ยในการรา่ งรฐั ธรรมนญู ดว้ ย โดย รฐั ธรรมนญู ทีรา่ งนนั มเี พยี ง ๑๒ มาตรา เรยี กวา่ เปน “Outline of Preliminary Draft” เมอื ป พ.ศ. ๒๔๖๗ ก่อนหนา้ ทีจะมกี ารรา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั นนี นั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่ หวั ไดม้ ี พระราชหตั ถเลขาในหวั ขอ้ “Problem of Siam” ทรงถามความถึงพระยา กัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ ๙ ขอ้ โดยทรงบนั ทึกเปนภาษาอังกฤษ คําถาม ๔ ขอ้ วา่ ดว้ ยการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอยูห่ ลายขอ้ โดยเฉพาะในขอ้ ๓ ทรงตัง คําถามวา่ “สกั วนั หนงึ ประเทศนจี ะต้องมรี ะบบการปกครองในระบบรฐั สภาหรอื ไม่ และ ระบอบการปกครองในระบบรฐั สภาแบบแองโกล - แซก็ สนั นนั เหมาะสมกับชาวตะวนั ออกหรอื ” คําถามขอ้ ๔ มวี า่ “ประเทศนพี รอ้ มหรอื ยงั ทีจะมกี ารปกครองระบบผแู้ ทน ราษฎรในรปู ใดรปู หนงึ ?” คําถามขอ้ ๖ มวี า่ “เราควรมนี ายกรฐั มนตรหี รอื ไม่ ? ควรเรมิ ใชร้ ะบบนใี นตอนนเี ลยหรอื ไม่ ?” คําถามขอ้ ๗ มวี า่ “เราควรมสี ภานติ ิบญั ญตั ิหรอื ไม่ ? องค์ประกอบสภาเชน่ นคี วรจะเปนเชน่ ใด” พระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ ก็ไดท้ ลู เกล้าทลู กระหมอ่ มตอบกลับมาในหวั ขอ้ “Sayrt’s Memorandum’” ตอบเปน ภาษาอังกฤษโดยแยกกล่มุ การตอบเปน ๓ กล่มุ โดยการตอบกล่มุ ที ๒ เปนเรอื งการ ปกครอง โดยพระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ เรมิ อารมั ภบทแสดงความไม่ เหน็ ดว้ ยกับการมสี ภาผแู้ ทนราษฎรวา่
ผ ล ง า น ( ต่ อ ) “ขา้ พระพุทธเจา้ ไมเ่ หน็ ดว้ ยวา่ ควรจะพจิ ารณาจดั ตังสภาผแู้ ทนราษฎรในสยามใน ขณะนี การจะมรี ฐั สภาทีใชง้ านไดจ้ ะต้องอาศัยประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลือกตังทีเขา้ ใจระบอบ การปกครองแบบนดี ี หากไมม่ ปี ระชาชนทีมสี ติปญญามากํากับควบคมุ รฐั สภามแี ต่จะ เสอื มถอยไปเปนองค์การทีเลวรา้ ยและเผดจ็ การ ตราบใดทีปวงประชาชาวสยามทัง หลายยงั ไมไ่ ดร้ บั การศึกษาสงู กวา่ ทีเปนอยูใ่ นปจจุบนั การพยายามตังองค์กรเชงิ รฐั สภาทีประชาชนเลือกตังมามแี ต่จะนาํ อันตรายใหญห่ ลวงมาให้ ดงั นนั จงึ ดไู มม่ ที าง เลือกนอกจากการคงไวซ้ งึ ระบอบการปกครองทีอํานาจเดด็ ขาดยงั คงอยูก่ ับพระมหา กษัตรยิ ์ อยา่ งนอ้ ยทีสดุ ในชว่ งปจจุบนั น”ี ความเหน็ ดงั กล่าว ยงั ไดร้ บั การยนื ยนั เมอื พระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ เขยี นบทความลงในหนงั สอื “Atlantic Monthly” หลังจากทีถวายความเหน็ โดยวจิ ารณค์ วามตังพระทัยของพระมหากษัตรยิ ส์ ยาม ใหเ้ ปนระบบรฐั สภาวา่ “รฐั สภา ใดทีไมถ่ กู ควบคมุ โดยมวลผมู้ สี ทิ ธเิ ลือกตังทีมสี ติปญญาและความใสใ่ จ อาจเปนกลไก ของการกดขที ีเปนอันตรายและมคี วามฉ้อฉลเสยี ยงิ กวา่ กษัตรยิ ผ์ ทู้ รงสมบูรณาญา สทิ ธ”ิ ซงึ พระองค์ก็ทรงเอาจดหมายตอบดงั กล่าวใหส้ มเดจ็ กรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพดู และท่านก็ไมเ่ หน็ ดว้ ยในหลายประเดน็ โดยเฉพาะเรอื งการมนี ายกรฐั มนตรี แต่ อยา่ งไรก็ดี รา่ งรฐั ธรรมนญู ทัง ๑๒ มาตรา ทีท่านไดร้ า่ งขนึ ก็หาไดใ้ ชจ้ รงิ ๆในสยามแต่ อยา่ งใด เปนเพยี งแต่รา่ งทีรกู้ ันเพยี งไมก่ ีคนเท่านนั นอกจากนพี ระยากัลยาณไมตรี ดร. ฟรานซสิ บ.ี แซร์ ยงั ไดไ้ ปเจรจาในการขอแก้ไข สญั ญาทีไมเ่ ท่าเทียมกัน ระหวา่ งประเทศสยามกับประเทศต่างๆ ซงึ จะเหน็ ไดว้ า่ เปนการ เดนิ ทางทีหนกั หนาสาหสั มากในขณะนนั ในระหวา่ งป พ.ศ. ๒๔๖๗ – ๒๔๖๘ โดยเดนิ ทางไปยงั ประเทศเหล่านนั เพอื เจรจาโดยตรง ฟนฝาอุปสรรถมากมายจนไดข้ อ้ สรปุ กับ ๑๑ ประเทศ เปนการยกเลิกสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต (ก็คือ ผถู้ ือสญั ชาติและคนใน บงั คับของประเทศเหล่านนั ไมต่ ้องขนึ ศาลไทย แต่ขนึ ศาลกงสลุ แทน ทําใหเ้ ราขาด อํานาจอธปิ ไตยทางศาล) รวมทังยกเลิกขอ้ กําหนดซงึ จาํ กัดอัตราภาษีสนิ ค้าขาเขา้ ซงึ ไดท้ ําใหป้ ระเทศสยามมอี ํานาจอธปิ ไตยทางเศรษฐกิจทีไมส่ มบูรณใ์ นบรรดา ๑๑ ประเทศนนั ๖ ประเทศ ดาํ เนนิ การแล้วเสรจ็ ในสมยั รชั กาลที ๖ และอีก ๕ ประเทศ ใน สมยั รชั กาลที ๗
แหล่ งอ้ างอิ ง http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=(Dr._Francis_Bowes_Sayre) https://images.app.goo.gl/AyVd3Uykfud5n46P7 https://images.app.goo.gl/Wu4i4aadWvCFgcvi9
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: