Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลโครงการเศรษฐกิจพอเพียงพึ่งพาตนเอง รุ่น2

สรุปผลโครงการเศรษฐกิจพอเพียงพึ่งพาตนเอง รุ่น2

Published by กศน.ตำบล ทัพรั้ง, 2021-12-02 13:47:36

Description: สรุปผลโครงการเศรษฐกิจพอเพียงพึ่งพาตนเอง รุ่น2

Search

Read the Text Version

1

2 ก เอกสารรายงานผลการดำเนินงาน โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พึ่งพาตนเอง จัดทำขึ้นเพื่อรายงายผลการดำเนินงานและความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับบริการมีความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแบบการพึ่งพาตนเอง สามารถ เป็นพื้นฐานในการดำเนินชวี ิตของตนเอง อีกทั้งการจัดทำรายงานฉบับนี้ขึน้ เพื่อใชเ้ ป็นเอกสารหลักฐานใน การประกอบการดำเนินงานด้านการประกอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตลอดจนการนำ ข้อเสนอแนะปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานในอนาคตให้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขนึ้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพระทองคำ กันยายน 2564

3 ข คำนำ ก สารบัญ ข บทท่ี 1 บทนำ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อการเกษตรท่พี ึง่ พาตนเอง หลกั การและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 กล่มุ เป้าหมาย 1 งบประมาณ 2 ระยะเวลา 2 ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 2 บทที่ 2 ข้นั ตอนการดำเนินงาน โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พงึ่ พาตนเอง 3 ขน้ั เตรียมการ 4 ข้ันดำเนนิ งาน 4 ขั้นสรุป บทที่ 3 ขั้นประเมินผลและอภิปรายผล 6 โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการเกษตรทพ่ี ง่ึ พาตนเอง 10 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 10 ปัญหาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก 11 คณะผจู้ ัดทำ 13

4 บทที่ 1 บทนำ โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือการเกษตรทีพ่ ง่ึ พาตนเอง สำนักงาน กศน. มกี ารกำหนดภารกิจ การจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญที่ให้ ความสำคัญ การดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุน การรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบ ไปสู่กลไก บริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเองและการเตรียม ความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มี คุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกัน การเข้าถึง บริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ที่มุ่งเน้นให้คนในชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถสร้างภมู ิคุ้มกันในการใชช้ ีวติ ให้กับตนเองได้ อกี ทง้ั มกี ารบรหิ ารจัดการให้เกิด แหล่งเรียนรู้ในการจัดกจิ กรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในชมุ ชน ใหส้ ามารถยืนหยดั อยู่ได้อย่างม่นั คง และ มกี ารบริหารจดั การความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และย่งั ยืน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพระทองคำ ได้เห็นความสำคญั ของการเรยี นรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้จัดทำโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเกษตรที่พึ่งพาตนเอง เพื่อ ส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปเกิดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงการเกษตรที่พึ่งพาตนเองและ สามารถนำความรทู้ ่ีไดไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันให้เกิดประโยชน์ วัตถปุ ระสงค์ 1.เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง ด้วย หลกั การเกษตรแบบท่พี ง่ึ พาตนเองได้ 2. เพื่อใหผ้ ู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ ไปถา่ ยทอด ให้กบั ครอบครวั ชุมชน และสงั คมได้ โดยอยู่บน พ้ืนฐานความพอเพียงและการพึ่งตนเองได้ เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ : ประชาชนทว่ั ไป ตำบลสระพระ จำนวน 3 คน ตำบลมาบกราด จำนวน 3 คน ตำบลพงั เทียม จำนวน 3 คน ตำบลทพั รงั้ จำนวน 3 คน ตำบลหนองหอย จำนวน 3 คน รวม 15 คน เชิงคุณภาพ : ประชาชนท่วั ไป มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรูปแบบ หลกั การเกษตรแบบท่ีพ่งึ พาตนเองและสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้

5 วงเงนิ งบประมาณทงั้ โครงการ การจดั กิจกรรมครงั้ นี้เบิกจา่ ยจากเงนิ งบประมาณ ปี 2564 แผนงานงบประมาณ : พืน้ ฐานด้านการ พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผูร้ บั บริการการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน กิจกรรม จดั การศึกษานอกระบบ ค่ากิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน 5,000- บาท (หา้ พันบาทถว้ น) ระยะเวลา วันท่ี 15 กนั ยายน 2564 ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ เรื่องการทำเกษตรแบบทพี่ งึ พาตนเอง 2. ผเู้ ข้าร่วมโครงการ มีความรคู้ วามเข้าใจปฏบิ ัติ เรอ่ื งการทำแชมพจู ากสมนุ ไพร

6 บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน ข้ันเตรียมการ 1. ประชมุ วางแผนจัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่ออนุมัตโิ ครงการและประสานงานกับฝ่ายที่ เกย่ี วข้อง ดำเนินการแต่งตงั้ คณะทำงาน การจดั โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือการเกษตรที่พึ่งพาตนเอง ณ หอ้ ง ประชุม กศน.อำเภอพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวดั นครราชสมี า จัดโครงการฯ ในวันที่ 15 กนั ยายน 2564 2. ประสานงานการจัดโครงการฯ ผ้รู บั ผดิ ชอบการโครงการเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือการเกษตรท่ี พึง่ พาตนเอง กศน.ตำบลท่รี บั ผดิ ชอบพ้นื ทตี่ ำบล ทั้ง 5 ตำบลของ กศน.อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา เก่ียวกบั การจัดโครงการฯกับสว่ นต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ดงั นี้ - สถานทีจ่ ดั โครงการฯ บรรยายใหค้ วามรู้ สาธิตและฝกึ ปฎิบัติ - ห้องประชมุ กศน.อำเภอพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวดั นครราชสมี า 3. วธิ กี ารดำเนินการจัดโครงการฯ 3.1 เขียนโครงการ/อนมุ ตั ิ 3.2 ประชุมคณะทำงาน 3.3 ดำเนินการจดั กิจกรรมตามโครงการ 4.4 สรปุ รายงานผล 4. การเตรยี มการประสานงานกอ่ นการจัดโครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การเกษตรที่พงึ่ พา ตนเอง เมื่อไดร้ บั อนมุ ัตโิ ครงการแลว้ คณะผ้รู บั ผิดชอบการจัดโครงการฯ ไดด้ ำเนินการดงั น้ี 4.1 ประชมุ ชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแต่งตง้ั คณะทำงาน 4.2 ประสานงานคณะครู กศน.ตำบลที่รับผิดชอบเพ่ือคัดเลือกกลมุ่ เปา้ หมาย และสถานที่จัด กจิ กรรมของตำบลทร่ี ับผดิ ชอบ 4.3 ลงทะเบียนกลมุ่ เปา้ หมาย 4.4 ทำหนังสอื เชญิ วทิ ยากร พร้อมกำหนดการจัดกจิ กรรม 4.5 จัดเตรยี มแบบฟอร์มสำหรบั ลงทะเบียน บันทึกการเรยี นรู้ 4.6 จัดเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ ทใี่ ชใ้ นการจัดโครงการฯ 4.7 จดั ทำแบบสอบถามผลโครงการฯ

7 ขั้นดำเนินงานระหวา่ งโครงการ 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบยี นนักศกึ ษาเข้าร่วมโครงการ ณ ห้องประชมุ กศน.อำเภอพระทองคำ 09.00 – 09.30 น. พธิ ีเปดิ โดย นางเตอื นใจ ผ่องกศุ ล ผอ.กศน.อำเภอพระทองคำ 09.30 – 10.00 น. วทิ ยากร(นส.ทศั นีย์ สีมาวงษ์)บรรยายเรอ่ื ง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 10.00 – 12.00 น. วิทยากร(นส.ทศั นีย์ สีมาวงษ์)บรรยายเรือ่ ง เกษตรทฤษฏใี หม่ 12.00 – 13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.00 น. วทิ ยากร(นส.ทัศนยี ์ สมี าวงษ์)บรรยายเรอื่ ง เกษตรแบบพงึ่ พาตนเอง 14.00 – 15.00 น. วิทยากร(นส.ทัศนีย์ สีมาวงษ์)บรรยายเร่ือง การปรงุ ดนิ เพื่อการเกษตร 15.00 – 16.00 น. การทำแชมพูจากสมุนไพร(ปฏบิ ัต)ิ 16.00 – 16.30 น. สรปุ ความรูพ้ ร้อมแลกเปล่ียนเรียนรู้ และพธิ ีปดิ ขน้ั สรุปโครงการ 1. รวบรวม วิเคราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามผลการอบรม และจัดทำรายงานผลการจัดโครงการฯ 2. จัดส่งรายงานใหก้ บั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพระทองคำ

8 บทที่ 3 ประเมนิ และอภิปรายผล วเิ คราะห์และประเมนิ ความพึงพอใจ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพระทองคำ ไดป้ ระเมนิ ความ คดิ เห็นตอ่ การจดั โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือการเกษตรท่ีพึ่งพาตนเอง ในวนั ท่ี 15 กนั ยายน 2564 ณ กศน.อำเภอพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวดั นครราชสีมา ผลการสำรวจความพงึ พอใจจากผตู้ อบแบบสำรวจ โครงการจำนวน 15 คน ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลปรากฏดังนี้ การวเิ คราะห์ข้อมลู ประกอบด้วยข้อมูล 2 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสำรวจ ลักษณะแบบสำรวจเปน็ แบบสำรวจรายการ ใช้ วิธกี ารหาคา่ เฉล่ยี แล้วสรุปมาเป็นคา่ ร้อยละ ตอนท่ี 2 แบบสำรวจความพึงพอใจตอ่ การเขา้ ร่วมโครงการเรียนรูห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โดยใชแ้ บบมาตราสว่ นประมาณคา่ มีเกณฑ์การให้ คา่ นำ้ หนกั คะแนน ขอข้อคำถามในแบบสำรวจดังนี้ 5 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ มากท่สี ดุ 4 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ มาก 3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 2 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ น้อย 1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยท่สี ดุ เกณฑ์การแปลความหมายของคา่ คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลย่ี ตงั้ แต่ 4.50 - 5.00 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจ มากทส่ี ดุ คะแนนเฉล่ียต้ังแต่ 3.50 - 4.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก คะแนนเฉล่ียต้งั แต่ 2.50 - 3.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี ตงั้ แต่ 1.50 - 2.49 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจ น้อย คะแนนเฉลี่ยต้ังแต่ 1.00 - 1.49 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ น้อยท่สี ดุ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ

9 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสำรวจเปน็ การวเิ คราะหจ์ ำนวนและค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจ ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสำรวจโดยจำแนกตามเพศ เพศ จำนวน รอ้ ยละ ชาย 3 20.00 หญงิ 12 80.00 รวม 15 100 จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสำรวจเป็นเพศชาย จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.00 เพศหญงิ จำนวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนและค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสำรวจโดยจำแนกตามอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ต่ำกวา่ 15 ปี - - 16 - 39 ปี 8 53.33 40 – 59 ปี 6 40.00 60 ขึน้ ไป 1 6.66 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นใหญ่ มีอายรุ ะหว่าง ระหว่าง 16- 39 ปี จำนวน 8 คน คดิ เป็นรอ้ ย 53.33 ตารางที่ 3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจโดยจำแนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา ระดบั การศึกษา จำนวน ร้อยละ ประถมศึกษา 3 20.00 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 1 6.66 มัธยมศึกษาตอนปลาย 11 73.33 อนปุ ริญญา - - ปรญิ ญาตรี - - สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี - - รวม 15 100.00 จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นใหญม่ ีการศึกษาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 73.33

10 ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสำรวจโดยจำแนกตามอาชพี อาชีพ จำนวน ร้อยละ รับจา้ ง 3 20.00 เกษตรกรรม 8 53.33 คา้ ขาย 1 6.66 อืน่ ๆ 3 20.00 รวม 15 100.00 จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 53.33 โดยสรปุ ผ้ตู อบแบบสำรวจเป็นเพศหญิง จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 เพศหญิง จำนวน 3 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 20.00 ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนใหญ่ มีอายรุ ะหวา่ ง ระหวา่ ง 16 - 39 ปี จำนวน 8 คนคิดเปน็ ร้อย 53.33 ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นใหญม่ ีการศึกษาในระดับม.ปลายจำนวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 73.33 ผูต้ อบแบบสำรวจส่วน ใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 ตารางท่ี 2.1 รอ้ ยละของรายการประเมนิ ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการขน้ั ตอนการให้บรกิ าร ระดับ รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อยท่สี ุด ความพงึ ที่สุด กลาง พอใจ (X) ดา้ นกระบวนการข้นั ตอนการใหบ้ ริการ ช่วงเวลา/ระยะเวลา 663 0 0 4.20 30 24 9 0 0 ความเหมาะสมของการจดั รปู แบบของการจัดโครงการ 12 2 1 0 0 4.73 60 8 3 0 0 ค่าเฉลี่ยโดยรวมคิดเปน็ ร้อยละ 4.66 จากตารางที่ 2.1 ดา้ นกระบวนการขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ ความเหมาะสมของการจดั รปู แบบของการจดั โครงการคดิ เปน็ ร้อยละ 4.20 อยใู่ นระดับ มาก รองลงมาคือชว่ งเวลา/ระยะเวลา คิดเป็นร้อยละ 4.73 อยู่ในระดบั มาก

11 ตารางท่ี 2.2 รอ้ ยละของรายการประเมนิ ความพึงพอใจดา้ นเทคนิคการบรรยายและการปฏิบตั ิ รายการ มาก มาก ปาน ระดบั ทสี่ ุด กลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ ความพึง พอใจ ดา้ นเทคนคิ การบรรยายและการปฏิบัติ ความพร้อมของวิทยากรให้ความรู้ 10 4 1 0 0 4.60 50 16 3 0 0 วทิ ยากรมีเทคนิคในการบรรยาย/การใชส้ ื่อ/ภาษาเขา้ ใจ 10 4 1 0 0 4.60 0 0 ง่ายเหมาะสม 50 16 3 เปิดโอกาสให้ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการซกั ถามหรือมสี ่วนรว่ ม 10 4 1 0 0 4.60 50 16 3 0 0 กิรยิ ามารยาทและการมีมนุษย์สมั พันธ์ทีด่ ี 14 0 1 0 0 4.86 70 0 3 0 0 คา่ เฉล่ยี โดยรวมคดิ เปน็ ร้อยละ 4.66 จากตารางท่ี 2.2 ดา้ นเทคนิคการบรรยายและการปฏบิ ตั ิ กิรยิ ามารยาทและการมมี นษุ ยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.00 อยู่ในระดับ มากท่ีสุด กลุ่มเปา้ หมายทุกคนมีความพึงพอใจความพร้อมของวิทยากรให้ความรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.60 อยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ วิทยากรมเี ทคนคิ ในการบรรยาย/การใช้ส่ือ/ภาษาเข้าใจงา่ ยเหมาะสม คดิ เปน็ ร้อยละ 4.60 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ เปดิ โอกาสให้ผเู้ ข้ารว่ มโครงการซักถามหรอื มสี ่วนร่วม คดิ เป็นร้อยละ 4.60 อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ตารางที่ 2.3 รอ้ ยละของรายการประเมินความพงึ พอใจด้านการนำความรู้ทไ่ี ด้ประยกุ ต์ใช้ รายการ มาก มาก ปาน ระดับ ที่สุด กลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ ความพึง พอใจ ดา้ นการนำความรทู้ ี่ไดป้ ระยุกต์ใช้ ทา่ นไดร้ บั ความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ 11 3 1 00 4.66 00 ใหม่ๆจากโครงการกิจกรรมนี้ 55 12 3 ทา่ นสามารถนำส่งิ ท่ไี ด้รับจากโครงการ/กจิ กรรมนไ้ี ป 11 4 0 00 4.73 00 ใชใ้ นการเรียน/การปฏิบัตงิ าน 55 16 0 ประโยชน์และความร้จู ากการเข้ารว่ มโครงการ 12 2 1 00 4.73 60 8 3 00 ค่าเฉลยี่ โดยรวมคิดเป็นรอ้ ยละ 4.71

12 จากตารางท่ี 2.3 ด้านการนำความรู้ที่ได้ประยุกตใ์ ช้ กลมุ่ เปา้ หมายสามารถนำส่งิ ที่ได้รับจากโครงการ/กจิ กรรมน้ีไปใชใ้ นการเรยี น/การปฏิบัติงานและประโยชน์ และความรูจ้ ากการเข้ารว่ มโครงการคดิ เป็นร้อยละ 4.73 อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ท่านได้รับความรู้ แนวคดิ ทักษะและ ประสบการณ์ใหมๆ่ จากโครงการกจิ กรรมน้ี คดิ เปน็ ร้อยละ 4.66 อย่ใู นระดับ มากทสี่ ุด ตารางที่ 2.4 แสดงความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารโดยภาพรวมทั้ง 3 ด้าน ท่ี รายการ คา่ เฉล่ยี คณุ ภาพ หมายเหตุ 1 ดา้ นกระบวนการขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร 4.66 มากทส่ี ุด 2 ดา้ นเทคนิคการบรรยายและการปฏิบตั ิ 4.66 มากทีส่ ุด 3 ด้านการนำความรู้ทไ่ี ด้ประยุกตใ์ ช้ 4.71 มากที่สุด 4.67 มากทส่ี ุด รวม จากตารางท่ี 2.4 พบวา่ ความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ ารโดยภาพรวมทง้ั 3 ดา้ น มคี า่ เฉลี่ย 4.67 อยใู่ น ระดับมากทส่ี ุด 3.2 วิเคราะห์และการประเมินโครงการ ผลการประเมินการจัดโครงการตามตัวชว้ี ัดความสำเร็จของโครงการสรุปได้ดังนี้ (ตามทร่ี ะบไุ ว้ในแบบเสนอขออนุมัติ โครงการ) 1. สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคข์ องโครงการทุกขอ้  บรรลุ (อธบิ าย) จากการประเมนิ ผลโครงการกล่มุ เปา้ หมายมอี ุดมการณ์รกั ชาติ ศาสนา และ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย  ไม่บรรลุ 2. มีผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ไดแ้ ก่ บุคลากรกศน.อำเภอพระทองคำ และนักศึกษา จำนวน ..15.  บรรลุ คน จากกลมุ่ เป้าหมาย จำนวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 100  ไม่บรรลุ 3. ความคดิ เหน็ และความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ ..4.67.. ได้  บรรลุ คุณภาพในระดับพึงพอใจ มากท่ีสุด  ไม่บรรลุ 4. อืน่ ๆ (ระบ)ุ ................................................................................. (ถ้าม)ี  บรรลุ  ไมบ่ รรลุ สรปุ ผลสำเร็จทง้ั โครงการ  บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

13 ผลการประเมินสรปุ ในภาพรวม 1 จุดเดน่ ของโครงการ / กิจกรรม ในครงั้ นี้ สำหรับกจิ กรรมครั้งน้เี ปน็ กจิ กรรมที่สรา้ งองค์ความรทู้ แี่ ท้จริงสู่การนำไปปฏบิ ัตไิ ดใ้ นบรบิ ทชุมชนของ ประชาชนและสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนไดจ้ รงิ 2 จุดทคี่ วรพฒั นาของโครงการ / กิจกรรม ในคร้งั นี้ …………………ไมม่ …ี ………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3 ข้อเสนอแนะเพอ่ื พัฒนาโครงการ / กิจกรรม ในครงั้ น้ี …………………ไมม่ …ี ……………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา/อุปสรรค - ไม่มี ขอ้ เสนอแนะ - ขอบคณุ ท่ที ำให้รู้การทำสงิ่ ของใช้ที่บา้ น - มีความรู้หลากหลายในการทำน้ำยาสระผมและไดร้ ักความพออยู่พอกิน

14 ภาคผนวก

15 ภาพกจิ กรรมโครงการเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อการเกษตรท่ีพงึ่ พาตนเอง วันท่ี 15 กันยายน 2564 ณ ห้องประชุม กศน.อำเภอพระทองคำ อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา

16 คณะผจู้ ดั ทำ ทปี่ รกึ ษา นางเตือนใจ ผ่องกุศล ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพระทองคำ ฝ่ายสนบั สนนุ ขอ้ มลู นางสาววาศินี ศริ จิ ามร ครูผู้ชว่ ย นางสาวสมุ าลี โฮะ๊ ดี ครูผู้ชว่ ย นางสาวเรณู ภูมจิ ันทกึ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายชาญภัทรชน กานงั พฒั นกุล ครู กศน.ตำบล นายปราโมทย์ ศริ มิ ว่ ง ครู กศน.ตำบล นางอรวรรณ ช่วยโพธิ์กลาง ครู กศน.ตำบล นายวิรวิทย์ ครอบบวั บาน ครู กศน.ตำบล นายวีรยุทธ ชวดรมั ย์ ครู กศน.ตำบล นางสาวเพญ็ นภา เรอื งวงษ์ บรรณารักษ์ ผจู้ ดั ทำ/พมิ พ/์ ออกแบบรปู เลม่ ครอบบัวบาน ครู กศน.ตำบล นายวิรวิทย์