การติดตง้ั จานรับสัญญาณดาวเทยี ม ระบบ KU-Band บนดาวเทยี มไทยคม5 1. ตอ้ งร้กู ่อนวา่ ตาแหนง่ ทีเ่ ราจะทาการตดิ ตง้ั จาน อยู่ ณ ตาแหนง่ Latitude (Lat.) และ Longitude (Long.) ทีเ่ ท่าไร เพอื่ จะหาค่ามมุ กวาด (Azimuth: AZ ) และมมุ เงย (Elevation: EL) ในการติดตง้ั จานเพื่อรับ สญั ญาณจากดาวเทยี มไทยคม5 2. เมื่อทราบสามารถหาตาแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาคา่ คา่ มมุ กวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ได้จาก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใสค่ ่า Lat. และ Long. และ เลอื กดาวเทยี ม ไทยคม 5 แลว้ กด Calculate 3. หากไมท่ ราบตาแหนง่ Latitude และ Longitude ของสถานท่ีติดต้ังจาน สามารถใชค้ ่า Latitude และ Longitude ของจังหวดั ทต่ี ิดตง้ั แทน ใน Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและ และ และ เลือก ดาวเทยี มไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะไดค้ า่ มมุ กวาด (AZ ) และมุมเงย (EL) ______________________________________________________________________________ *หมายเหต:ุ ทาการคานวนเพอื่ ทจี่ ะหามมุ Azimuth (มมุ กวาด) และมุม Elevation (มมุ เงย) ไวใ้ ช้ในการ Point จาน สามารถใชส้ ตู รคานวน ดังนี้ สตู รการคานวนหามมุ Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตัง้ จาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ท่ีติดตงั้ จาน) สูตรการคานวนหามมุ Elevation (EL) θ = Latitude ของทีจ่ ะตดิ ตั้งจาน EL = tan-1 Φ = Longitude (ดาวเทยี ม) – Longitude (ท่ีตดิ ตั้งจาน) R = รศั มีโลก (มีค่าเทา่ กบั 6,370 Km.) H = ระยะระหวา่ งดาวเทยี มกบั พื้นโลก (35,680 Km.) ______________________________________________________________________________________ Video Operations and Turnkey Services Department 1
4. สารวจทิศทางมุม(ท่ไี ดจ้ ากการคานวนจากข้อที่ 2 หรอื 3 ท่ีจะหนั หน้าจานไปรบั สญั ญาณจากดาวเทยี ม ไทยคม5 ว่าต้องไม่มีสงิ่ กดี ขวางบดบงั การรบั สญั ญาณ ดงั รปู การตดิ ตงั้ จาน ผดิ วธิ ี การตดิ ตง้ั จาน ถกู วธิ ี 5. เมื่อไดต้ าแหนง่ ติดตั้งจานที่ไม่มสี ิง่ บดบงั แลว้ กเ็ รมิ่ ทาการติดตงั้ เสาโดยตอ้ งตดิ ตั้งให้ทามมุ 90 องศา ทงั้ 4ดา้ น หากไมไ่ ด้ 90 องศา ใหใ้ ชแ้ หวนรองน็อต รองใตแ้ ปน้ เหล็กเพ่อื ปรับองศาของผนังยดึ 6. ติดต้งั จานเขา้ กบั เสาโดยหันหนา้ จานไปทางทิศทางทไี่ ด้ทาการคานวน (คอื มมุ กวาด (AZ ) และมมุ เงย (EL)) ไวใ้ นข้อที่ 2 หรอื 3 ซึ่งการติดตง้ั ในประเทศไทยนน้ั หากรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 เรา สามารถปรับจานรับสัญญาณจากดาวเทยี มให้มี มมุ กวาด (AZ) ประมาณเทา่ กบั 240 องศา และมี มมุ เงย (EL) ประมาณ 60 องศา โดยประมาณใแลว้ ค่อยมาทาการปรับแตง่ ละเอียดอกี ครั้งภายหลงั เพ่อื รบั สญั ญาณไดแ้ รงมากทสี่ ุด *หมายเหต:ุ ตาแหน่งการตดิ ตงั้ จานโดยการใช้สตู รคานวนเป็นตาแหนง่ ทร่ี บั สัญญาณไม่แรงทส่ี ดุ จงึ มคี วาม จาเป็นต้องปรบั แตง่ ละเอยี ดอีกครงั้ เพอื่ ใหไ้ ดร้ ับสัญญาณได้แรงทีส่ ุด โดยหากสามารถรบั สัญญาณได้แรงทีส่ ดุ จะทาใหม้ ี Link Margin สูงสุดและสามารถทนฝนไดเ้ ปน็ ระยะเวลานานกอ่ นทีจ่ ะรบั สัญญาณไมไ่ ดก้ รณีฝนตก หนกั มาก 6. ประกอบตวั LNB เข้ากับแขนจบั LNB และหันหนา้ เขา้ หาจานแล้วบิดขวั้ ใส่สายสญั ญาณของLNB ไป ทที่ ศิ ทางประมาณ 4 -5 นาฬิกา 7. เขา้ หวั F-Type กับสาย RG6 8. ทาการต่อสายสญั ญาณและอปุ กรณ์ต่างๆ เพ่อื เร่มิ การปรบั แตง่ มุมจานใหไ้ ดร้ ับสญั ญาณทด่ี ีสุด ซึง่ จะ อธบิ ายในหวั ข้อ “วิธีการปรบั จานดาวเทียมใหไ้ ดส้ ญั ญาณท่ีแรงทส่ี ุด” (หัวข้อถดั ไป) Video Operations and Turnkey Services Department 2
วธิ กี ารปรับจานดาวเทียมให้ไดส้ ัญญาณที่แรงทสี่ ุด มีการต่ออปุ กรณ์ 2 วิธี 1. การปรับจานดาวเทยี ม โดยเครอื่ ง Receiver เป็นวิธีการต่อเขา้ กบั Receiver ทเ่ี ราจะใช้ทั่วไป โดยเราจะหาคุณภาพสญั ญาณทแี่ รงทส่ี ดุ ได้จาก ตัวเลขบอกเปอร์เซน็ ต์ทสี่ ามารถเรยี กดไู ด้ จากเครื่อง Receiver นน้ั ๆ 2. การปรบั จานดาวเทยี ม โดยใช้เคร่ือง Spectrum Analyzer เปน็ วิธกี ารนาสญั ญาณมาแยกเข้า Receiver ทเ่ี ราใช้รบั และเข้าเคร่อื ง Spectrum Analyzer โดยเรา จะสามารถดสู ัญญาณ L-Band แบบ Real time จากเครือ่ ง Spectrum Analyzer ทาใหส้ ญั ญาณที่ไดม้ คี ุณภาพ สัญญาณสูงที่สุด และงา่ ยตอ่ การปรบั ไมใ่ ห้เกดิ Cross POL จากการปรับหวั Feed และLNB 1. การปรบั จานดาวเทียม โดยเคร่อื ง Receiver (สาหรับ Receiver ของ True Visions) Receiver True Vision แผนผงั การตอ่ อปุ กรณ์เพอ่ื TEST หาคุณภาพ 1. เซตเครอ่ื ง Receiverสใัญหญ้รับาณสญั ญาณจากดาวเทยี มไทยคม5 ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ Frequency : 12.562 GHz. (Transponder ที่ 4H) Symbol Rate: 25.776 Msym/s. FEC : 2/3 Polarization : Horizontal LNB Frequency : 11.300 GHz. (เซตให้มีคา่ Local Freq. ตรงกับคา่ ของ LNB ท่ีเราใชง้ าน อยจู่ รงิ ) Video Operations and Turnkey Services Department 3
2. หาตาแหนง่ ของจานดาวเทยี มไทยคม 5 กรณีทที่ าการตดิ ต้งั จานในประเทศไทย 2.1 ให้ใชเ้ ข็มทิศหาทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ หรอื มมุ ประมาณ 240 องศาจากทางทศิ เหนอื 2.2 ทาการปรับมุมเงยให้ได้ประมาณ 60 องศา(มี Scale บอกทขี่ ้างจาน) เมอ่ื เทียบกบั พ้นื ดนิ 2.3 หันหัว LNB ให้มองเขา้ ไปท่ีหน้าจาน (ใหด้ ูคมู่ อื ตดิ ตง้ั ของจานนนั้ ๆประกอบดว้ ย) การหันหน้าจานไปทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้ Scale องศามุมก้ม-เงย การหมนุ ปลาย Connect LNB ให้ชไี้ ปตาแหนง่ 4 นาฬกิ า Video Operations and Turnkey Services Department 4
เริม่ ทาการส่ายหนา้ จานทั้งซา้ ย-ขวา และ กม้ -เงย ช้าๆ พรอ้ มดูระดับคณุ ภาพสญั ญาณควบคู่ ไปด้วย หาตาแหนง่ ทร่ี ะดบั คณุ ภาพสัญญาณสูงทส่ี ดุ แล้วล็อกนอ๊ ต ซ้าย-ขวา และ กม้ -เงย เพือ่ ไม่ให้จานเคลอ่ื นทไ่ี ด้ แตย่ ังไม่ตอ้ งแนน่ มากนกั ส่ายหน้าจาน ซา้ ย-ขวา ปรับมมุ ก้ม-เงย ระดับสัญญาณได้ 99% คุณภาพสญั ญาณ ได้ 97 % รปู อธบิ าย การส่ายหนา้ จาน พรอ้ ม ระดบั คุณภาพสญั ญาณของเครอ่ื งรบั 3. ปรับจานแบบละเอียด เพอ่ื ใหต้ าแหน่งของจานตรงกับตาแหนง่ ของดาวเทยี มใหม้ ากท่ีสดุ สา่ ยหนา้ จานซ้าย-ขวา ช้าๆ พร้อมสงั เกตุระดบั คุณภาพสญั ญาณ โดยปรบั ใหไ้ ดร้ ะดบั คุณภาพมากทส่ี ุดแลว้ ทาการลอ็ กมุมส่าย (ลอ๊ กขาจับยึดเสา) ใหแ้ น่น ปรับมมุ กวาด ซ้าย-ขวา นอ๊ ตท่ียดึ สาหรบั ปรับมุมกวาด ซ้าย-ขวา รูปอธบิ ายการปรับจาน ซ้าย-ขวา Video Operations and Turnkey Services Department 5
ปรับมมุ ก้มเงยของหนา้ จานชา้ ๆ พร้อมกับการสังเกตรุ ะดบั คณุ ภาพ (Quality) โดยปรบั ให้ ไดร้ ะดบั คุณภาพมากท่ีสุดแล้วทาการล็อกมุมเงยให้แน่น ปรับมมุ ก้ม-เงย นอ๊ ตทีย่ ดึ สาหรบั ปรบั มุมก้ม-เงย รปู อธบิ ายการปรบั จาน กม้ -เงย ผลการปรับตามขนั้ ตอนท่ี 3 ระดบั สัญญาณได้ 99% คณุ ภาพสญั ญาณ ได้ 100% Video Operations and Turnkey Services Department 6
4. ทาการCheck โพลาไรเซซัน่ วา่ เกดิ การ Cross Pol กนั หรอื ไม่ กดเปลย่ี นคา่ Polarization จาก Horizontal เปน็ Vertical เพอื่ ดวู ่ามสี ัญญาณทางฝั่ง Pol Ver เขา้ มารเึ ปลา่ *หมายเหต:ุ การเปล่ียนเป็น Pol Ver จะตอ้ งเข้าไป set คา่ Polarization จาก Horizontal เปน็ Vertical ดูเอกสารแนบ 1 Polarization Horizontal Polarization Vertical ระดับสัญญาณได้ 99% คณุ ภาพสญั ญาณ ได้ 100 % ระดบั สัญญาณได้ 87% คณุ ภาพสัญญาณ ได้ 34% *หมายเหต:ุ Cross Pol คือการทส่ี ัญญาณฝงั่ Pol ตรงข้ามเขา้ มากวน Pol ทเ่ี ราต้องการรับ (เช่น สัญญาณ Pol Ver อาจกวนแบบ Cross Pol ไปยงั Pol. Hor ไดห้ ากมี Transponder ทง้ั สอง Pol. ทีค่ วามถเี่ ดียวกนั ) ซง่ึ มสี าเหตมุ าจากการหมุนหวั LNB ไมเ่ หมาะสม ทาให้ LNB สามารถรบั สญั ญาณจาก Pol ตรงข้ามมา ดว้ ย ในกรณี Transponder 4H ไม่มี Transponder ตรงกนั ขา้ ม แตถ่ า้ ปรับ Feed ไมด่ ี (คอื รบั สญั ญาณ Pol. Hor. ได้ไมแ่ รงทสี่ ุด) จะทาใหม้ ี Link Margin ไมม่ ากและไมส่ ามารถทนฝนไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน ดังนัน้ เม่อื ฝนตกไมห่ นกั มากก็จะรบั สัญญาณไม่ได้ 5. ทาการปรับหมนุ หวั LNB หมุนทลี ะนดิ ไปตามเข็มนาฬกิ า หรอื ทวนเข็มนาฬกิ าจนทาให้คณุ ภาพ สัญญาณของ Pol Ver ลดลงจนมคี า่ เท่ากับ 0 % Video Operations and Turnkey Services Department 7
(เนอื่ งจาก Transponder ท่ี 4H บนดาวเทียมไทยคม5 ในปจั จุบนั มเี พยี งแค่ Pol Hor อยา่ ง เดยี ว เม่ือปรบั ไป Pol Ver ต้องได้คุณภาพสัญญาณต่าสดุ ) โดยหากสัญญาณคุณภาพของ Pol. Ver ยังสูงอยแู่ สดงวา่ ยังปรับ Feed ได้ไมด่ ี โดยจานยงั รบั สัญญาณจาก Pol. Hor มา จึงควรปรับใหค้ ่าคณุ ภาพสญั ญาณของ Pol. Ver ต่าสุด (จากตวั อยา่ งสามารถปรบั จากคา่ 34% เป็น 0% ) ปรบั หมุนหวั LNB ไปตามเขม็ หรือทวนเขม็ นาฬกิ า Polarization Horizontal Polarization Vertical ระดบั สญั ญาณได้ 99% คณุ ภาพสัญญาณ ได้ 100 % ระดับสญั ญาณได้ 77% คณุ ภาพสญั ญาณ ได้ 0 % 6. ปรบั Pol กลับมาที่ Pol Hor. และ ลองทาการ Tune รับช่องรายการทวี ตี ่างๆ ถอื เป็นอนั เสรจ็ ส้นิ กระบวนการ Point จานอยา่ งถูกต้อง ในหัวข้อต่อไปจะเป็นการ Point จาน โดยใช้เครื่อง Spectrum Analyzer จะทาใหเ้ ข้าใจเรอื่ ง Cross Pol มากยิ่งขนึ้ Video Operations and Turnkey Services Department 8
2. การปรบั จานดาวเทยี มโดยใช้ Spectrum Analyzer Receiver True Vision Splitter Spectrum Analyzer แผนผงั การต่ออปุ กรณเ์ พอ่ื TEST หาคณุ ภาพสญั ญาณ โดยใช้ Spectrum Analyzer ในกรณีที่มี Spectrum Analyzer เราสามารถปรับจานโดยดรู ูปสัญญาณแคเรียรข์ องดาวเทยี มไดเ้ ลย ซงึ่ มขี ้นั เหมอื นการปรับกบั เคร่ือง Receiver รบั สัญญาณจากดาวเทียม 1. เซตเครอื่ ง Receiver ให้รับสญั ญาณจากดาวเทยี มไทยคม5 ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ Frequency : 12.562 GHz. (Transponder ท่ี 4) Symbol Rate: 25.776 Msym/s. FEC : 2/3 Polarization : Horizontal LNB Frequency : 11.300 GHz. (เซตใหม้ คี ่า Local Freq. ตรงกบั ค่าของ LNB ทีเ่ ราใชง้ าน อย่จู ริง) 2. ส่ายหนา้ จาน ซา้ ย-ขวา และ ก้ม-เงย พรอ้ มกบั ดู Carrier ของสัญญาณที่ Spectrum analyzer เม่ือเจอ สญั ญาณดาวเทียมแลว้ ใหล้ ็อกจานแบบหลวมๆ ก่อน Video Operations and Turnkey Services Department 9
สา่ ยหนา้ จาน ซ้าย-ขวา ปรบั มุม กม้ -เงย Carrier ของสญั ญาณจากดาวเทยี มไทยคม 5 Pol Hor รปู แสดง การส่ายหนา้ จาน – Carrier Ku band *หมายเหต:ุ - Carrier ของสญั ญาณเส้นสีฟ้า เป็นสัญญาณ Maximum ที่เราไดท้ าการกดปุ่ม Function Track ไวก้ อ่ น เพ่อื ทาใหเ้ รารู้ว่าที่เราลองทาการปรบั จานสญั ญาณทด่ี ีสดุ อยตู่ รงไหน - Carrier ของสัญญาณเส้นสีเหลือง เปน็ สัญญาณท่รี บั อยู่จรงิ ณ ปัจจุบนั เปา้ หมาย : ต้องปรบั จานใหส้ ญั ญาณทร่ี บั ไดใ้ กลเ้ คยี ง หรอื ทับเสน้ สีฟา้ พอดี a. เมอื่ เจอสัญญาณดาวเทียมแล้ว ให้ทาการปรับแบบละเอียด โดยเรม่ิ จากการปรบั จานซา้ ย- ขวา ช้าๆ พรอ้ มกับดู carrier ใหม้ คี า่ carrier/noise (C/N) มากทสี่ ุด (อาจกดปมุ่ Function จากเครอื่ ง Spectrum Analyzer Track คา่ Max และ Min ของสัญญาณกอ่ นหนา้ นเี้ พื่องา่ ย ต่อการเปรียบเทียบกับการปรับจานปจั จบุ นั ) จากนั้นจึงลอ๊ กมุมซ้าย-ขวา ใหแ้ นน่ ปรับมมุ กวาด ซา้ ย-ขวา นอ๊ ตท่ยี ดึ สาหรบั ปรับมุมกวาด ซ้าย-ขวา รูปแสดงการปรบั จานซ้าย-ขวา พร้อม Carrier Video Operations and Turnkey Services Department 10
b. ปรบั มมุ ก้ม-เงย พรอ้ มดูสัญญาณ carrier/noise (C/N) จาก Spectrum Analyzerใหไ้ ด้ คา่ สูงสุด จงึ ทาการล๊อกมมุ กม้ -เงยใหแ้ น่น ปรบั มุม ก้ม-เงย นอ๊ ตท่ยี ึดสาหรับ ปรับมุมก้ม-เงย รปู แสดงการปรับมมุ ก้ม-เงย พรอ้ ม carrier c. ปรับแอลเอ็นบีให้ไดส้ ญั ญาณสงู สุด โดยเร่ิมหมุนช้าๆ ไปทศิ ทางใดทิศทางหน่งึ กอ่ น พรอ้ มดูรปู C/N ที่ Spectrum Analyzer โดยปรับใหแ้ อลเอ็นบอี ยใู่ นตาแหน่งทค่ี ่า C/N สูงสุด ปรับหมุนหวั LNB ไปตามเข็ม หรือทวนเข็มนาฬกิ า รปู แสดงการปรับแอลเอน็ บี พรอ้ มCarrier Video Operations and Turnkey Services Department 11
เมื่อเราทาการปรับตามขอ้ 2 a – c แลว้ เราก็จะไดส้ ัญญาณเส้นสเี หลืองทที่ บั กบั สญั ญาณเสน้ สี ฟ้า หรอื สงู กว่าสญั ญาณเสน้ สีฟา้ ดงั รปู ค่าสญั ญาณท่แี รงท่สี ดุ ของ Horizontal Polarization d. การใช้ Spectrum Analyzer ปรบั จาน จะทาให้การปรบั แอลเอน็ บงี า่ ยข้นึ ซ่ึงสามารถปรบั X-Pol หรอื โพลตรงข้าม ใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ ได้ โดยดูจากรปู Carrier โดยหลังจากปรบั ตาแหน่ง แอลเอน็ บจี นไดร้ ูปสญั ญาณสงู สดุ แล้ว ให้ปรบั Receiver เป็น Vertical Polarization เพ่ือดู สญั ญาณโพลแนวต้ัง ซึ่งจะมรี ปู carrier ท่ตี า่ งจากโพลแนวนอน รปู แสดง carrier pol ver ขณะที่ปรับ pol ไม่ดี Video Operations and Turnkey Services Department 12
e. ทาการหมุนแอลเอน็ บีชา้ ๆ โดยใหร้ ูปสญั ญาณจากโพลแนวนอนมากวนโพลแนวตง้ั ให้ น้อยทีส่ ดุ ผลลพั ท์ทไ่ี ด้ ดังรูป สัญญาณ Vertical Polarization ท่ถี ูกตอ้ ง ของดาวเทยี มไทยคม 5 *หมายเหตุ จะเหน็ ว่าสญั ญาณที่ Transponder ที่ 4 เปน็ ตน้ ไปจะต้องไมม่ ี แต่จากรปู จะเห็น ว่าสญั ญาณเหล่านั้นไมเ่ รยี บเท่าท่คี วรเหมือนจะเป็น Cross Polarization ซึ่งจากการทดลอง ผลลพั ทท์ ่ีไดน้ ้ี คอื ค่าสญั ญาณทเ่ี รยี บท่ีสดุ แลว้ สาเหตทุ ี่สญั ญาณตง้ั แต่ Transponder ที่ 4 ไม่เรยี บเทา่ ที่ควรเกิดมาจากหลาย สาเหตุ ได้แก่ ตวั Splitter, สายนาสัญญาณ หรือ หวั Feed LNB เปน็ ตน้ f. แล้วลอ็ กแอลเอน็ บใี หแ้ น่น ปรับ Receiver เป็น Horizontal Polarization และตรวจดู สัญญาณอกี ครั้ง สญั ญาณ Horizontal Polarization 13 รูปแสดง Carrier ver ท่ีปรับ X-Pol แลว้ Video Operations and Turnkey Services Department
เอกสารแนบ 1 ขั้นตอนการ Set คา่ ต่างๆในอปุ กรณ์ True Vision Receiver 1. กดป่มุ Menu บน Remote เลือกขอ้ [3] ดงั รูป Figure 1. 2. ใส่รหัสผ่าน คอื 2321 ดังรูป Figure 2. Figure 1. Figure 2. Video Operations and Turnkey Services Department 14
3. กดเลือก “การต้ังคา่ LNB” ดงั รูป Figure 3. Figure 3. 4. Set Parameter ตา่ งๆ ใหเ้ หมอื น ดงั รปู Figure 4. Figure 4. Video Operations and Turnkey Services Department 15
5. กดปุ่ม Exit บน Remote 1 ที เพอ่ื มา กดเลอื ก “[2] ปรบั คา่ ดาวเทยี ม” ดังรูป Figure 5. Figure 5. 6. Set คา่ Parameter ตา่ งๆ ดงั รูป Figure 6. Figure 6. 16 *หมายเหตุ หน้านจ้ี ะเปน็ หน้าหลักสาหรับการดูคุณภาพของสญั ญาณ ซึง่ จะข้ึนอยกู่ บั การ Point จาน Video Operations and Turnkey Services Department
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: