Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐานในการทดลองเคมี

พื้นฐานในการทดลองเคมี

Published by bangon, 2019-03-09 21:37:32

Description: ส่วนควบคุมคุณภาพ
GHP

Search

Read the Text Version

พ้ืนฐานในการทดลองเคมี (Chemistry laboratory basics) การทดลองทางเคมีในห้องปฏิบัติการจะมีต้องมีความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทดลองในการทดลองนั้นๆ เป็นอย่างดีแล้ว ผู้ทดลองเองจะต้องรู้จักเทคนิคการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือและวิธีการใช้เคร่ืองแก้วอย่างถูกวิธี เพ่ือให้ได้ผลการทดลองท่ีถูกต้อง ดังนั้นก่อนท่ีนักศึกษาจะเร่ิมทาการทดลอง จะต้องรู้จักวิธีการใช้อุปกรณ์ เคร่อื งมือพื้นฐานท่มี อี ยูใ่ นห้องปฏิบตั ิการเคมี 1. เครอ่ื งแก้วและอุปกรณพ์ ืน้ ฐาน Test tube Beaker Erlenmeyer flask Funnel Watch glass Cylinder Dropping bottle Dropper Volumetric flask Evaporating dish Crucible Buchner Graduated pipet Transfer pipet Buret Stand Spatula Test tube rack Buret clamp Bunsen Clamp รูปที่ 1 เครอื่ งแก้วและอปุ กรณพ์ ื้นฐานท่ใี ช้ในการทดลอง

2 | ปฏบิ ัติการเคมีสาหรับวศิ วกร เคร่ืองแก้วที่ใช้ในการทดลองจะต้องล้างให้สะอาดและอบให้แห้งก่อนาไปใช้งานเสมอ มิฉะน้ันจะทา ให้ผลการทดลองผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนได้ การทาความสะอาดเครื่องแก้วต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเคร่ืองแก้วที่มีลักษณะเป็นก้านยาวเช่น ขวดวัดปริมาตร ปิเปต บิวเรต ฯลฯ โดยล้างด้วยสบู่ หรือสารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาด ดังน้ันจึงต้องล้างสบู่ สารซักฟอกหรือสารละลายทาความ สะอาดออกให้หมดเพราะหากมีเหลือตกค้างอยู่ อาจไปรบกวนปฏิกิริยาเคมีได้ ต่อจากน้ันก็ล้างด้วยน้าสะอาด และในข้นั สุดทา้ ยตอ้ งลา้ งด้วยน้ากล่ันอีก 1-2 ครั้ง เมื่อกรณีไม่สามารถล้างเครื่องแก้ว ให้สะอาดได้ด้วยสบู่หรือ สารซกั ฟอกก็ต้องนามาล้างด้วยสารละลายทาความสะอาด ซึ่งมหี ลายชนิดดังตอ่ ไปนี้ 1) สารละลายทาความสะอาดไดโครเมต-กรดซัลฟิวริก สารละลายทาความสะอาดชนิดนี้เตรียม ได้จากการละลาย Na2Cr2O72H2O (โซเดียมไดโครเมต) 92 กรัมในน้ากลั่น 458 ลบ.ซม. (อาจใช้โพแทสเซียม ไดโครเมตก็ได้แก่อานาจการละลายน้อยกว่าโซเดียมไดโครเมต) ค่อยๆ เติม H2SO4 เข้มข้น 800 ลบ.ซม. คน ด้วยแท่งแก้วจะเห็นว่ามีความร้อนเกิดข้ึนมากและสารละลายเปล่ียนเป็นสารคร่ึงแข็งคร่ึงเหลวสีแดง เม่ือล้าง เคร่ืองแก้วด้วยสารซักฟอกแล้ว ให้เทสารละลายไดโครเมตน้ีลงไปเล็กน้อย ให้ไหลไปทั่วพ้ืนผิวของเครื่องแก้ว แลว้ ลา้ งดว้ ยน้าและน้ากลน่ั จนแน่ใจวา่ สะอาด 2) สารละลายทาความสะอาดกรดไนตริกเจือจาง (dil HNO3) ใช้ทาความสะอาดฝ้าซึ่งอยู่ด้าน ในฟลาสก์หรอื ขวดหรอื อุปกรณ์ท่ีเป็นเคร่ืองแก้วต่างๆ โดยเทกรดไนตริกอย่างเจือจางลงไป ให้พ้ืนผิวของเคร่ือง แกว้ เหลา่ นัน้ เปียกช่มุ ดว้ ยกรดไนตริกแล้วล้างดว้ ยนา้ และน้ากลั่นหลายๆ ครั้ง 3) สารละลายทาความสะอาดกรดกดั ทอง (aqua regia) กรดกดั ทองเป็นสารละลายผสมระหว่าง กรดเกลือและกรดไนตรกิ เข้มขน้ ในอตั ราส่วน 3:1 โดยปริมาตร ตามลาดับ สารละลายทาความสะอาดชนิดนี้มี อานาจสงู มากแตเ่ ป็นอันตรายเพราะมีอานาจในการกัดกร่อนสูงการนามาใชจ้ งึ ต้องระมัดระวังเป็นพเิ ศษ 4) สารละลายทาความสะอาดโพแทสเซยี มหรอื โซเดยี มไฮดรอกไซด์ในแอลกอฮอล์ สารละลายทา ความสะอาดชนิดน้เี ตรียมได้โดยละลาย NaOH 120 กรัมหรือ KOH 150 กรัมในน้า120 ลบ.ซม. แล้วเติมเอทา นอล 95% เพอ่ื ทาใหม้ ปี ริมาตรเปน็ 1 ลิตร สารละลายทาความสะอาดชนิดน้เี ป็นสารละลายทาความสะอาดที่ดี มากเพราะไมก่ ัดกร่อนเครื่องแก้วและเหมาะสาหรับกาจัดวัตถุทีม่ ลี ักษณะเหมือนถ่าน 5) สารละลายทาความสะอาดไตรโซเดียมฟอสเฟต สารละลายชนิดน้ีเตรียมโดยละลาย Na3PO4 57 กรัมและโซเดียมโอลีเอต 28.5 กรัมในน้า 470 ลบ.ซม. เหมาะสาหรับกาจัดสารพวกคาร์บอน ถ้าให้เคร่ือง แกว้ เปยี กสารละลายน้ีแล้วใชแ้ ปรงถจู ะสะอาดได้งา่ ย ข้อควรระวัง การเตรียมและการถือสารละลายทาความสะอาดต้องทาด้วยความระมัดระวัง อย่าให้ถูก เส้อื ผา้ หรอื ผวิ หนัง เนอ่ื งจากเปน็ สารทสี่ มบตั กิ ัดกรอ่ นและระคายเคือง 1.2 การใชง้ านและการดูแลรกั ษาเครื่องมือพนื้ ฐาน 1.2.1 การใชเ้ ครือ่ งชั่ง (balance) การช่ังเป็นหนึ่งในปฏิบัติการท่ีทาบ่อยคร้ังท่ีสุดอย่างหนึ่งในห้องปฏิบัติการเคมี ปัจจุบันเคร่ืองชั่งแบบ micro balance (d=10-6 g), semi-micro balance (d=10-5 g), analytical Balance

เทคนคิ พ้ืนฐานในการทดลอง | 3 (d=10-4 g) (d คือ readability) จะถูกใช้ในห้องปฏิบัติการมากข้ึน ค่าที่เชื่อได้ของผลการชั่งจะมีความสัมพันธ์ ใกลช้ ิดกับการใช้เครื่องชงั่ ดว้ ยวธิ กี ารท่ถี ูกตอ้ ง การชั่งน้าหนักเป็นสิ่งท่ีจาเป็นและสาคัญมากในการวิเคราะห์ทางเคมีการที่จะเลือกใช้เครื่องชั่งชนิด ใดในการทดลองให้เหมาะสมนั้น ข้ึนอยู่กับว่าการทดลองน้ันต้องการความถูกต้องมากน้อยแค่ไหนปัจจุบันมี เครื่องช่งั หลายชนิด แตล่ ะชนิดก็มีหลายแบบซ่งึ มีความละเอยี ดถกู ตอ้ งท่แี ตกตา่ งกัน ถ้าแบง่ ตามหลักการทางาน แล้วนนั้ อาจแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คอื ก. mechanical balance เป็นเครื่องชนิดหน่ึงท่ีมีราคาถูกและใช้ง่าย แต่มีความไวน้อย เครื่องชั่ง ชนิดน้มี แี ขนขา้ งขวาอยู่ 3 แขนและในแต่ละแขนจะมีขีดบอกน้าหนักไว้เช่น 0-1.0 กรัม 0-10 กรัม 0-100 กรัม และยังมีตุ้มน้าหนักสาหรับเล่ือนไปมาได้อีกด้วย แขนทั้ง 3 นี้ติดกับเข็มช้ีอันเดียวกัน ตัวอย่างเช่น equal-arm balance, triple-beam balance การใช้เครื่องช่ังแบบ triple beam balance น้ีให้วางวัตถุท่ีต้องการชั่งไว้ในจาน แล้วเลื่อนตุ้ม น้าหนกั ที่แขวนอย่บู นคานทั้งสี่ กระทงั่ หน้าปัดแกวง่ จากขดี ศนู ยข์ น้ึ ไปข้างบนและข้างล่างเท่ากันน้าหนักที่แขวน อยู่บนคานท่ี 1 จะเป็นน้าหนักในหน่วย 100 กรัม และ 10 กรัม 1 กรัม 0.1 กรัม บนคานท่ี 2, 3 และ 4 ตามลาดับ เคร่ืองชง่ั แบบนจี้ ะช่งั น้าหนกั ของวัตถผุ ดิ พลาดจากความเปน็ จรงิ ไมเ่ กิน 0.01 กรัม (ดังรปู ที่ 2 ก) ข. electrical balance เป็นเคร่ืองช่ังที่แสดงผลเป็นตัวเลขโดยมีความละเอียด 2 หรือ 4 ตาแหน่ง เครื่องชนดิ นี้จะมีราคาสูงและมีความแม่นยาสูงและง่ายต่อการใช้งานแต่ต้องมีการปฏิบัติทั้งการใช้งานและการ บารงุ รกั ษาทถ่ี ูกต้อง การใช้เครื่องชั่งไม่ว่าจะเป็นแบบใดต้องมีการระวังและรักษาให้ดี เพ่ือป้องกันการชารุดเสียหายของ เคร่ืองชั่งซ่ึงทาให้น้าหนักคลาดเคล่ือนจนไม่สามารถนามาใช้งานได้ดังนั้นทุกคร้ังที่ใช้เคร่ืองชั่งผู้ใช้ควรปฏิบัติ ดงั นี้ 1. เคร่ืองช่ังต้องต้ังอยู่ที่บนที่แน่นหนาม่ันคง อย่าให้มีการสะเทือน ไม่ควรตั้งริมหน้าต่างหรือใกล้ ความร้อน อย่าใหแ้ สงแดดสอ่ งถูกเคร่อื งชงั่ โดยตรงและฐานของเครื่องช่งั ต้องอยู่ในแนวระนาบ 2. ก่อนชั่งตรงปรับเครื่องชั่งสมดุลและขณะชั่งต้องช่ังตรงกึ่งกลางของเครื่องช่ังเสมอ เพื่อไม่ให้การ อ่านน้าหนกั ผดิ พลาด 3. ห้ามวางสารเคมีท่ีจะช่ังบนจานเครื่องชั่งโดยตรงเพราะสารเคมีอาจทาให้จานชารุดเสียหายได้ ต้องใส่บนกระจกนาฬกิ าหรอื ขวดชัง่ สารเสมออย่าใช้กระดาษรองสารเคมีในการชั่งสารเคมีอยา่ งเด็ดขาด 4. การช่ังสารทก่ี ดั โลหะต้องใส่สารในขวดชั่งสารทม่ี ฝี าปิดมดิ ชิด 5. ห้ามนาวตั ถหุ รือสารเคมีท่ยี ังรอ้ นอยูไ่ ปชัง่ วตั ถุที่นามาชั่งต้องมีอุณหภมู เิ ท่ากบั อณุ หภมู ิห้อง 6. ห้ามใชม้ ือหยิบตุ้มน้าหนักหรือวัตถทุ จี่ ะช่ังเพราะนา้ หนกั อาจเปล่ียนแปลงเน่ืองจากเหงื่อท่ีติดอยู่ที่ น้วิ มอื ต้องใช้ปากคีบหยิบหรือใช้กระดาษพับเป็นแผน่ เล็กๆ คาดรอบขวดชง่ั 7. อย่าชัง่ สารทมี่ นี ้าหนักมากกวา่ ความสามารถของเครือ่ งช่ัง 8. ต้องรักษาเครื่องชง่ั ใหส้ ะอาดอยู่เสมอหลังจากใช้ทุกคร้ัง © คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

4 | ปฏบิ ัติการเคมีสาหรับวิศวกร (ก) (ข) รูปที่ 2 (ก) เครื่องช่งั แบบ triple beam (ข) เครื่องชง่ั แบบ electrical balance 1.2.2 การใชต้ ะเกียงบุนเสน ตะเกียงบุนเสนเป็นตะเกียงแก๊สท่ี ใช้ในห้องปฏิบัติการท่ัวไปเมื่อต้องการอุณหภูมิที่สูง พอประมาณ ตะเกียงบุนเสนสามารถปรับปริมาณของ อากาศได้แต่ไม่มีท่ีปรับปริมาณของแก๊สเช้ือเพลิง ตะเกียง บุนเสนมสี ่วนประกอบดังต่อไปนี้ ส่วนประกอบของตะเกียง บุนเสน (รปู ท่ี 3) (ก) (ข) รปู ท่ี 3 (ก) ส่วนประกอบของตะเกียงบนุ เสน และ (ข) เปลวไฟของตะเกียงบุนเสน ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใช้ตะเกียงบนุ เสนมีดงั ต่อไปนี้ 1. สวมปลายสายยางขา้ งหน่งึ กับท่อโลหะที่ย่ืนออกมาจากฐานตะเกียง ส่วนปลายอีกข้างหน่ึงของสาย ยางต่อกับท่อแก๊สเชอ้ื เพลงิ 2. ปดิ ช่องทางเขา้ ของอากาศทฐ่ี านของตะเกยี งใหส้ นิท 3. จุดไม้ขีดไฟหรือท่ีจุดไฟ (lighter) รอไว้ที่หัวตะเกียง แล้วเปิดแก๊สเช้ือเพลิงเข้ามาในตะเกียงจะได้ เปลวไฟใหญส่ ีเหลือง (luminous flame) หลังจากน้นั ค่อยๆ เปิดช่องทางเข้าของอากาศที่ฐานของตะเกียงแล้ว ปรับให้ได้เปลวไฟไม่มีสี (non-luminous flame) ซ่ึงเป็นเปลวไฟที่ให้ความร้อนสูงท่ีสุด ปรับเปลวไฟให้สูง ประมาณ 3-4 นว้ิ โดยหมุนเกลยี วทอ่ ตะเกยี งขน้ึ เพมิ่ ปริมาณอากาศจนกระทง้ั เปลวไฟสีน้าเงินรูปกรวยข้างในสูง ประมาณ 1 นวิ้ สว่ นท่ีรอ้ นทส่ี ุดของเปลวไฟประมาณ 3/4 น้วิ เหนือยอดของเปลวไฟรูปกรวยสีนา้ เงิน

เทคนิคพ้ืนฐานในการทดลอง | 5 4. หลังจากใช้ตะเกียงบุนเสนเสร็จแล้วให้ทาการดับตะเกียงโดยการลดปริมาณของแก๊สท่ีเข้ามาใน ตะเกียงให้น้อยลงและโดยการปรับก๊อกแก๊สจนกระท่ังเปลวไฟที่หัวตะเกียงเลื่อนมาเกิดที่ฐานตะเกียง แล้วทา การปดิ กอ๊ กแกส๊ ทนั ที 1.2.3 เตาเผา (muffle furnace) ประกอบด้วย ห้องเหล็กบุด้วยอิฐทนไฟ และมีประตูปิดเปิดได้ เตาเผานี้สามารถทา ให้เกิดอุณหภูมิสูงถึง 1400 C จะใช้ในการเผาสารตัวอย่างเพื่อกาจัด สารอินทรียใ์ หห้ มดออกไป รูปท่ี 4 เตาเผา 1.2.4 เตาไฟฟ้า (hotplate) จะให้ความร้อนได้ น้อยกว่าตะเกียงก๊าซ แต่สามารถควบคุมความร้อนได้ โดยใช้ กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดความร้อนใช้ต้มสารละลายให้มีอุณหภูถึง 200- 250 C รูปที่ 5 เตาไฟฟ้า 1.2.4 เตาอบ (oven) เป็นเครื่องมือท่ีใช้ไฟฟ้าทา ใหเ้ กิดความร้อน บางชนิดมีพัดลมอยู่ข้างในเพ่ือทาให้อุณหภูมิเท่ากัน ท่ัวบริเวณภายในเตาเผา เตาอบที่ใช้กันส่วนมากสามารถควบคุม อณุ หภมู ิไดป้ ระมาณ 300 C รูปท่ี 6 เตาอบ 1.2.5 เดซเิ คเตอร์ (desiccator) ในการวเิ คราะห์แบบชั่ง น้าหนักของสาร สารทจี่ ะนาเอาไปช่งั ควรเก็บไวใ้ นเดซเิ คเตอร์กอ่ นการชั่ง แต่ ประเด็นที่สาคัญของการใช้เดซิเคเตอร์คือ เพ่ือท่ีทาให้สารแห้งหรือเป็น ภาชนะที่ป้องกันการดูดความช้ืนของสาร สารท่ีใช้ดูดความชื้น (desiccant) จะถูกเก็บไว้ส่วนล่างของเดซิกเคเตอร์ และภาชนะที่ใส่สารท่ีทาให้แห้งวาง ลนแผ่นพอร์ซีเลน หรือแผ่นอะลูมิเนียมที่เจาะเป็นรู ตัวเดซิเคเตอร์ทาด้วย แก้วระหว่างฝาเดซกิ เคเตอร์ทาด้วยกรีส (grease) กันไม่ให้อากาศเข้า รูปที่ 7 เดซเิ คเตอร์ 1.2.7 เครื่องเหวี่ยง (centrifuge) การแยกตะกอนออกจากน้าใสในการวิเคราะห์คุณภาพ แบบเซมิไมโคร ใช้เครื่องเหวี่ยงโดยอาศัยแรงเหว่ียง (centrifugal force) ซึ่งมากกว่าแรงดึงดูดของโลก (force of gravity) หลายเท่าเครื่องเหวี่ยงจะหมุนด้วยความเร็วสูง 2-300 รอบต่อนาที จะทาให้ของแข็งแยกตัวออก จากของเหลวตกอยู่ท่ีก้นหลอดทดลองตะกอนที่มีขนาดอนุภาคเล็กมากเช่นตะกอนชนิดคอลลอยด์ จะ แขวนลอยอยู่ในสารละลายต้องใช้เวลาในการเหว่ียงนานกว่าตะกอนชนิดผลึกน้าใสที่อยู่เหนือตะกอนหลังจาก เขา้ เครอื่ งเหว่ียงแลว้ สามารถแยกออกจากตะกอนไดโ้ ดยการรนิ ออกมา การแยกตะกอนออกจากสารละลายโดย ใช้เครื่องเหว่ียงน้ีใช้แทนการกรองในการวิเคราะห์คุณภาพแบบมาโครหรือใช้หลอดหยดดูดออกก็ได้น้าใสนี้ เรียกวา่ เซนตริฟวิ เกต (centrifugate) ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใช้เครอื่ งเหวยี่ งดังนี้ © คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

6 | ปฏบิ ตั กิ ารเคมีสาหรบั วิศวกร 1. ก่อนทจ่ี ะนาหลอดท่ีมตี ะกอนใส่ลงในเครื่องให้เตรียมหลอดอีกหลอดหนึ่งท่ีมีน้าหนักเท่าๆ กันใส่น้า ลงในหลอดเปล่าจนกระท่งั มีระดบั เทา่ กับหลอดทมี่ ีตะกอน 2. ใส่หลอดทงั้ สองลงในช่องของเคร่อื งเหวย่ี งท่ีอยตู่ รงข้ามกับหลอดละข้าง 3. ของเหลวในหลอดจะต้องต่ากว่าปากหลอดอย่างน้อย 1 ซม. เพราะถ้าของเหลวล้นหลอดจะกัด ปลอกของเคร่ืองเหวี่ยงทาให้เกิดสนิมและอาจทาให้น้าหนักของปลอกต่างกัน (ถ้าน้าหนักสองข้างไม่สมดุลกัน เคร่ืองเหวย่ี งจะมกี ารส่นั สะเทอื นมากและมีเสียงดงั ) 4. ปิดฝาเครื่องเหว่ียง เปิดสวิตซ์ให้เคร่ืองเหวี่ยงหมุนนาน 30-40 วินาที จึงปิดสวิตซ์ทิ้งไว้ 30 วินาที รอให้เครือ่ งเหว่ยี งหยุดนง่ิ จึงเปดิ ฝาไมจ่ าเปน็ ตอ้ งทาให้เคร่ืองเหวี่ยงหยดุ นง่ิ โดยกะทนั หัน 5. ถ้ามีเสยี งดงั เกิดข้ึนและสัน่ สะเทอื นมากผิดปกติหรือมีควนั เกิดข้ึน ใหป้ ิดสวิตซ์ทนั ที รปู ท่ี 8 ลักษณะการใชง้ านเคร่ืองเหวีย่ ง 2. เทคนิคในการทาการทดลอง 2.1 การตกตะกอน การตกตะกอนเกิดข้ึนเมื่อใส่รีเอเจนต์ท่ีทาให้เกิดตะกอน (precipitating reagent) ลงไปใน สารละลาย การหยดลงไปทีละหยดช้าๆ และใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว ตะกอนจะตกออกมาดีขึ้น เมื่อนาสารละลาย ไปอุ่นโดยนาหลอดทดลองท่ีเกิดตะกอนแช่ในน้าร้อน ในการตกตะกอนทุกครั้งต้องทาให้ตะกอนตกอย่าง สมบูรณ์ซึ่งจะทาการทดสอบได้ว่าการตกตะกอนน้ันสมบูรณ์หรือไม่ โดยนาหลอดทดลองที่มีตะกอนเข้าเครื่อง เหว่ียงเม่ือตะกอนนอนก้นและมีน้าใสอยู่ตอนบนให้หยดรีเอเจนต์ที่ใช้ตกตะกอนลงบนน้าใสตอนบนอีก 1-2 หยด ถ้านา้ ใสตอนบนนัน้ ไมข่ ุ่นหรอื ตกตะกอนออกมาอีกก็แสดงวา่ การตกตะกอนนนั้ สมบรู ณ์แล้ว 2.2 การให้ความรอ้ นหรือการตม้ สารละลาย การให้ความร้อนของเหลวใดๆ ผู้ทดลองจะต้องทราบว่าของเหลวนั้นติดไฟง่ายหรือไม่เมื่อ กลายเป็นไอ ดงั น้นั การต้มหรอื การให้ความร้อนแกข่ องเหลวจงึ ควรระวังให้มากและควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1. ปรมิ าตรของของเหลวไม่ควรเกนิ ครึง่ หน่งึ ของหลอดทดลอง 2. ถือหลอดทดลองด้วยที่จับหลอดทดลอง อย่าจับหลอดทดลองด้วยนิ้วมือโดยตรง (ถ้าไม่มีท่ีจับ หลอดทดลองอาจใชก้ ระดาษแผ่นเลก็ ๆ ยาวๆ พนั รอบปากหลอดทดลองหลายๆ รอบ แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้ว ทจ่ี บั กระดาษกไ็ ด้) 3. นาหลอดทดลองไปให้ความร้อนโดยตรงจากเปลวไฟควรใช้เปลวไฟอ่อนๆ และเอียง หลอด ทดลองเล็กน้อยพยายามให้ส่วนท่ีเป็นของเหลวในหลอดทดลองถูกเปลวไฟทีละน้อย พร้อมแกว่งหลอดทดลอง ไปมาเมอ่ื ของเหลวรอ้ นจะระเหยกลายเป็นไอ

เทคนิคพ้นื ฐานในการทดลอง | 7 4. ขณะให้ความรอ้ นหลอดทดลองจะต้องหันปากหลอดทดลองออกจากตัวเราและชี้ไปในทิศทางท่ีไม่ มีผู้อ่ืนหรือสงิ่ ของอย่ใู กล้ๆ ท้งั นเี้ พราะเมอ่ื ของเหลวเดือดอาจจะพุ่งออกมานอกหลอดทดลอง 5. อย่าก้มดูของเหลวในหลอดทดลองขณะกาลังให้ความร้อนเป็นอันขาดเพราะถ้าของเหลวพุ่ง ออกมาอาจเป็นอนั ตรายตอ่ ใบหน้าและนัยนต์ าได้ 6. ขณะให้ความรอ้ นแก่ของเหลวในหลอดทดลองต้องแกว่งหลอดทดลองไปด้วยเพ่ือให้ ของเหลวใน หลอดทดลองเคลือ่ นไหวและได้รับความรอ้ นเทา่ เทียมกนั ทุกสว่ น 7. เมื่อของเหลวอยู่ในบีกเกอร์ ให้นาบีกเกอร์ต้ังบนตะแกงลวด ซึ่งวางอยู่บนสามขาหรือที่ยึดวง แหวนให้ความร้อนโดยใชต้ ะเกยี งแก๊ส รูปท่ี 9 การให้ความร้อนสารละลาย 2.3 การระเหยสารละลาย การระเหยของเหลวหรือสารละลายก็เพื่อทาให้ตัวทาละลายระเหยออกไปในท่ีสุดตัวละลายก็ จะตกผลึก จึงอาจกล่าวได้ว่าการระเหยเป็นการลดปริมาตรของของเหลวให้น้อยลงโดยการไล่สารที่ระเหยได้ งา่ ยกวา่ ออกไปจากสารละลาย เทคนคิ การระเหยของเหลวหรอื สารละลาย มีหลายวธิ ี ดังน้ี 1. เทของเหลวหรือสารละลายลงบนกระจกนาฬิกาแลว้ บางบนปากบีกเกอร์ทีบ่ รรจุน้าอยู่ 2. ตม้ น้าใหเ้ ดือดความรอ้ นจากไอน้าจะถา่ ยเทไปทาใหต้ วั ทาละลายระเหยออกไปจากตัวละลาย รูปท่ี 10 การระเหยสารละลาย อกี วิธีหน่ึงคือใชช้ ามระเหยแทนกระจกนาฬิกาซึ่งมีเทคนิควิธีการเช่นเดียวกันสาหรับชามระเหยท่ีใช้น้ี มีหลายขนาดและทาจากวัสดุแตกต่างกัน ผู้ทดลองจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับปริมาตรของสารละลายด้วย การระเหยของเหลวโดยใช้ชามระเหยนี้นอกจากจะระเหยบนเคร่ืองอังน้าแล้วอาจให้ ความร้อนโดยตรงท่ีชาม ระเหยก็ได้ โดยนาชามระเหยตงั้ บนตะแกรงลวดและใชค้ วามรอ้ นจากตะเกียงบนุ เสน © คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

8 | ปฏบิ ตั ิการเคมีสาหรับวิศวกร 2.4 การรินสารละลายใสออกจากตะกอน หลังจากท่ีนาหลอดทดลองท่ีมีตะกอนเข้าเคร่ืองเหว่ียงแล้วตะกอนจะจับแน่นอยู่ที่ก้นหลอด น้าใสตอนบน (เซนตริฟิวส์เกต) สามารถแยกออกมาได้ โดยเอียงหลอดเป็นมุม 30 องศาแล้วใช้หลอดหยดดูด ออกมา โดยบีบกระเปาะยางไล่อากาศออกแล้วจุ่มลงในสารละลายให้ปลายหลอดต่ากว่าระดับน้าเล็กน้อย ค่อยๆ ผ่อนกระเปาะยางของเหลวจะไหลเข้าไปในหลอดช้าๆ แล้วค่อยๆ ลดปลายหลอดให้ต่าลงตามระดับ ของเหลวจนของเหลวหมด ตอ้ งระวงั อย่าให้ปลายหลอดหยดแตะกับตะกอนเพราะจะทาให้ตะกอนถูกดูดเข้าไป ในหลอดหยดดว้ ย อกี วิธหี นงึ่ อาจจะทาไดโ้ ดยใช้การ รินหรือเทออกมาจากหลอดทดลอง วิธีนี้ สามารถทาได้ดีถ้าตะกอนติดแน่นที่ก้น หลอดดีแล้วค่อยๆ เอียงหลอดและรินเอา เซนตริฟิวส์เกตออกมาช้าๆ อย่าทารุนแรง ให้ตะกอนกระทบกระเทือน ซ่ึงจะทาให้ ตะกอนไหลตามออกมาด้วย รปู ที่ 11 การรินสารละลายและเทสารละลาย 2.5 การกรองสาร 2.5.1 การกรองแบบธรรมดา การกรองแบบอาศัยหลักของแรงตึงผิวของสารละลายโดยใช้กระดาษกรองและกรวย แกว้ ธรรมดา การพับกระดาษกรองที่จะใช้ลงในกรวยแก้วโดยการพับกระดาษกรองลงคร้ังหน่ึงแล้วพับให้เหลือ 1/4 จากน้ันฉีกปลายด้านหน่ึงออกเพื่อให้กระดาษกรองในส่วนชั้นในสุดได้มีโอกาสสัมผัสกับผิวกรวยแก้วมาก ยิง่ ขน้ึ อนั จะทาให้สารละลายไหลผ่านซึมผ่านกระดาษกรองเร็วข้ึน ให้จัดลักษณะการกรองดังรูปที่ 12 แล้วเม่ือ เทสารละลายลงไปหมดแลว้ ใหฉ้ ีดไลต่ ะกอนท่ีตดิ ค้างอยู่ขา้ งภาชนะลงในกรวยแกว้ ใหห้ มด รปู ท่ี 12 แสดงการกรองด้วยแรงโนม้ ถ่วงของโลก

เทคนิคพ้ืนฐานในการทดลอง | 9 การพบั กระดาษกรองมี 2 แบบคือ แบบธรรมดาและแบบมีร่อง (fluted) ดงั รูปที่ 13 (ก) (ข) (ก) รูปที่ 13 (ก) การพับกระดาษกรองแบบกรองช้า และ (ข) การพับกระดาษกรองแบบมรี ่อง (Fluted) 2.5.2 การกรองแบบสุญญากาศ (vacuum filtration) การกรองแบบสญุ ญากาศ อาศัยหลกั ของสุญญากาศในการดึงสารละลายลงมา ซ่ึงเป็น วิธีการกรองที่มีความสะดวก รวดเร็ว หรือบางครั้งเรียกว่าการกรองแบบ suction ส่วนประกอบท่ีสาคัญของ การกรองแบบน้ีมี buchner funnel และ filter pump หรือ aspirator มีลักษณะเป็นท่อ 3 ทาง ลักษณะ การจัดเคร่ืองมือในการกรองแบบสุญญากาศแสดงดังรูปท่ี 13 โดยวางกระดาษกรองลงใน buchner funnel แล้วฉดี นา้ กล่ันให้กระดาษกรองเปียก จากนนั้ นาไปสวมเขา้ กบั vacuum filter flask ท่ีล้างสะอาดแล้วเปิดก๊อก นา้ เพอื่ ให้เกิดสญุ ญากาศค่อยๆ รินสารละลายจากบกี เกอร์เพื่อกรองเอาตะกอนที่ต้องการ รปู ท่ี 14 การกรองแบบสุญญากาศ © คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

10 | ปฏิบัตกิ ารเคมีสาหรับวิศวกร 2.6 เทคนคิ การไทเทรต (titration) การไทเทรตเมอื่ ใช้ปิเปตนาสารละลายมาใสใ่ นขวดรูปชมพ่โู ดยเรยี กสารละลายนี้ว่า ไทแทรนด์ (titrand) ส่วนสารละลายในบิวเรตน้เี รียกวา่ ไทแทรนต์ (titrant) เครอ่ื งแก้วทใี่ ชใ้ นการไทเทรตท่ีสาคัญมี 3 ชิ้น ได้แก่ปิเปต บิวเรตและขวดรูปชมพู่ การไทเทรตโดยมีกระดาษสีขาวรองใต้ flask เพ่ือให้เห็นการเปล่ียนสีได้ ชัดเจน การใชบ้ วิ เรตในการไทเทรตมีข้ันตอนดังนี้ 1. ก่อนนาบิวเรตไปใช้ต้องล้างบิวเรตให้สะอาดด้วยสารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดล้าง ใหส้ ะอาดด้วยนา้ ประปาแล้วลา้ งด้วยน้ากล่นั อีก 2-3 คร้ัง 2. ลา้ งบวิ เรตด้วยไทแทรตป์ รมิ าตรเลก็ น้อย 2-3 คร้ัง โดยปลอ่ ยใหส้ ารละลายนี้ไหลออกทางปลาย 3. กอ่ นทจ่ี ะเทสารละลายลงในบิวเรตตอ้ งปิดบวิ เรตกอ่ นเสมอและควรเทสารละลายลงในบิวเรตโดย ผ่านทางกรวยกรอง ให้มีปริมาตรเหนือขีดศูนย์เล็กน้อย เอากรวยออกแล้วเปิดก๊อกให้สารละลายไหลออกทาง ปลายบวิ เรต เพอื่ ปรบั ให้ปรมิ าตรของสารละลายอยู่ที่ขีดศนู ยพ์ อดี (ท่ีบริเวณปลายบิวเรตจะต้องไม่มีฟองอากาศ เหลอื อยู่ หากมฟี องอากาศจะต้องเปิดก๊อกให้สารละลายไลอ่ ากาศออกไปจนหมด) 4. การจับปลายบิวเรตที่ถูกต้อง (ดังรูปที่ 15) หากใช้บิวเรต เพ่ือการไทเทรตหรือการถ่ายเทสารในบิวเรตลงสู่ภาชนะท่ีรองรับจะต้อง ใหป้ ลายบิวเรตอย่ใู นภาชนะ 5. เมื่อปล่อยสารละลายออกจากบวิ เรตจนสารละลายลดลงถึง ขีดบอกปริมาตรสุดท้ายของบิวเรตนั้นๆ ต้องรีบปิดบิวเรตทันที หาก ปล่อยให้สารละลายเลยขีดบอกปริมาตรสุดทา้ ยลงมาจะไม่ทราบปริมาตร ที่แน่นอน รปู ท่ี 15 การจับปลายบิวเรตที่ถูกต้องขณะไทเทรต รูปที่ 16 แสดงข้ันตอนการไทเทรต

เทคนคิ พืน้ ฐานในการทดลอง | 11 2.7 การใช้ปเิ ปต ปิเปตเป็นอุปกรณ์ในการวัดปริมาตรสาหรับถ่ายเทสารละลายที่มีความแม่นยาสูงปิเปตมีอยู่ หลายชนิดแต่โดยท่ัวไปท่ีมีใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการมีอยู่ 2 แบบคือ volumetric หรือ transfer pipet และ measuring pipet ดังรูปที่ 17 1. transfer pipet ซ่ึงใช้ในการวัดปริมาตรได้เพียงค่าเดียว คือถ้าหาก transfer pipet จุ 25 ลบ.ซม. ก็จะวัดปรมิ าตรของของเหลวได้เฉพาะ 25 ลบ.ซม. เท่านั้น transfer pipet มีหลายขนาดต้ังแต่ 1 ลบ. ซม. ถงึ 100 ลบ.ซม. ถึงแม้ปิเปตชนิดน้ีจะใช้วัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียงความจริงก็ตาม แต่ก็ยังมีข้อผิดพลาด ซงึ่ ขึน้ อย่กู ับขนาดของปิเปต เชน่ - ขนาด 10 ลบ.ซม. มีความผิดพลาด 0.2% - ขนาด 25 ลบ.ซม. มีความผดิ พลาด 0.1% - ขนาด 50 ลบ.ซม. มีความผิดพลาด 0.1% transfer pipet ใชส้ าหรบั ส่งผา่ นของสารละลายที่มปี ริมาตรตามขนาดของปิเปตเม่ือปล่อยสารละลาย ออกจากปิเปต แล้วห้ามเป่าสารละลายท่ีตกค้างอยู่ท่ีปลายของปิเปต แต่ควรแตะปลายปิเปตกับข้างภาชนะ เหนอื ระดบั สารละลายภายในภาชนะนั้นประมาณ 30 วินาที เพ่ือให้สารละลายท่ีอยู่ข้างในปิเปตไหลออกมาอีก ปิเปตชนิดนใี้ ช้ได้งา่ ยและเรว็ กวา่ บวิ เรต 2. measuring pipet หรือ graduated pipet จะมีขีดบอกปริมาตรต่างๆ ไว้ทาให้สามารถ ใช้ได้อย่างกว้างขวางคือสามารถใช้แทน transfer pipet ได้ แต่ใช้วัดปริมาตรได้แน่นอนน้อยกว่า transfer pipet และมคี วามผดิ พลาดมากกวา่ เช่น - ขนาด 10 ลบ.ซม. มีความผิดพลาด 0.3% - ขนาด 30 ลบ.ซม. มคี วามผิดพลาด 0.3% (ก) Transfer pipet (ข) Measuring pipet รปู ท่ี 17 ชนดิ ของปิเปต วธิ กี ารใช้ปเิ ปต 1. กอ่ นใชป้ เิ ปตตอ้ งมกี ารทาความสะอาดโดยดูดน้ากลั่นเข้าไปจนเกือบเต็มแล้วปล่อยให้ไหลออกมา จนหมด สงั เกตดวู า่ ถ้าไม่มีหยดนา้ เกาะติดอยูภ่ ายในแสดงว่าปิเปตสะอาดดแี ลว้ 2. เม่ือจะนาปิเปตที่เปียกไปใช้วัดปริมาตรต้องล้างปิเปตด้วยสารละลายที่จะวัด 2-3 คร้ัง โดยใช้ สารละลายครั้งละเล็กน้อยและให้สารละลายถูกผิวแก้วโดยทั่วถึง แล้วเช็ดปลายปิเปตด้วย กระดาษ tissue ท่สี ะอาด © คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

12 | ปฏิบตั กิ ารเคมีสาหรบั วิศวกร 3. จุ่มปลายปิเปตลงในสารละลายท่ีจะวัดปริมาตร โดยท่ีปลายปิเปตอยู่ต่ากว่าระดับสารละลาย ตลอดเวลา 4. ใชเ้ คร่ืองดูดหรือกระเปาะยางดูดสารละลายเข้าไปในปิเปตอย่างช้าๆ จนกระทั่งสารละลายข้ึนมา อยู่เหนือขีดบอกปริมาตรและใช้นิ้วชี้ปิดปลายปิเปตให้แน่นโดยทันที จับก้านปิเปตด้วย นิ้วหัวแม่มือและนิ้วกลาง (ไม่ควรใช้ปากดูดถ้าสารละลายน้ันเป็นสารที่มีพิษหรือเป็นกรดแก่ ด่าง แก่ ตอ้ งใช้เครอื่ งดูดหรือกระเปาะยางตอ่ ตอนบนของปิเปต) 5. จับปิเปตให้ต้ังตรงแล้วค่อยๆผ่อนนิ้วชี้เพ่ือให้สารละลายที่เกินขีดบอกปริมาตรไหลออกไป จนกระทั่งส่วนเว้าต่าสุดของสารละลายแตะกับขีดบอกปริมาตรพอดี ปิดแน่นด้วยนิ้วชี้และ แตะ ปลายปิเปตกับข้างภาชนะท่ีใส่สารละลาย เพ่ือให้หยดน้าซ่ึงอาจจะติดอยู่ที่ปลายปิเปตหมดไป จับปเิ ปตให้ตรงประมาณ 30 วนิ าทเ่ี พื่อใหส้ ารละลายทีต่ ิดอยขู่ ้างๆ ปิเปตไหลออกหมด 6. ปล่อยสารละลายท่ีอยู่ในปิเปตลงในภาชนะที่เตรียมไว้โดยยกน้ิวช้ีขึ้นให้สารละลายไหลลง ตามปกติตามแรงโน้มถ่วงของโลกจนหมดแล้วแตะปลายปิเปตกับข้างภาชนะเพื่อให้สารละลาย หยดสุดท้ายไหลลงสู่ภาชนะอย่าเป่าหรือทาอ่ืนใดท่ีจะทาให้สารละลายท่ีเหลืออยู่ท่ีปลายปิเปต ไหลออกมา เพราะปริมาตรของสารละลายท่เี หลอื นี้ไม่ใชป้ รมิ าตรของสารละลายทจ่ี ะวดั รูปที่ 18 ขัน้ ตอนการใชป้ เิ ปต

เทคนิคพื้นฐานในการทดลอง | 13 3 การใช้สารเคมี 1. เก็บรักษาสารเคมีไว้ในท่ีปลอดภัย สารเคมีท่ีว่องไวควรจะต้องแยก เก็บจากสารอ่ืน ยิ่งกว่าน้ัน สารเคมีท่รี วมกันแลว้ เป็นอนั ตราย ไมค่ วรเก็บรกั ษาไว้ดว้ ยกัน 2. ทาความสะอาดเคมีที่หก และปฏิกูลที่เกิดจากสารทันที อย่าปล่อยทิ้งให้ของเหลวที่ระเหยติดไฟได้ หรอื ทเ่ี ป็นอันตรายเป้ือนตามเคานเตอร์โต๊ะปฏิบตั ิการ หรอื บรเิ วณที่ทางานอ่นื 3. ต้องแน่ใจว่าปิดฉลากขวดบรรจุสารเคมีได้ถูกต้องและจาแนกประเภท โดยเฉพาะสารที่เป็นอันตราย ควรมคี าเตือนปดิ ไวด้ ้วย 4. ห้ามชิมหรือสดู ดมสารเคมี 5. ควรทราบอุณหภูมิที่สารเคมีระเหยและจุดเดือดของสารเคมี สารเคมีบางประเภทต้องเก็บไว้ท่ี อุณหภูมิต่า 6. สารเคมที ่ไี มม่ ฉี ลากปิด ควรนาไปท้ิงในทป่ี ลอดภัย 3.1 เอกสารข้อมลู ความปลอดภัย เอกสารขอ้ มลู ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย (MSDS : Material Safety Data Sheet) ของสารเคมแี ต่ละชนดิ จะแสดงขอ้ มลู รายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ผลิตภณั ฑ์เคมีและชื่อบริษัท (รวมท้ังชื่อทางการค้าหรือช่อื ท่ัวไป) 2. องคป์ ระกอบ/ข้อมลู เกี่ยวกับสว่ นผสม 3. ลักษณะทเี่ ป็นอนั ตราย 4. วิธีการปฐมพยาบาล 5. วิธีการผจญเพลิง 6. วิธกี ารจัดการอบุ ตั เิ หตุท่สี ารเคมปี ลอ่ ยออกมา 7. การควบคมุ การสมั ผัสสารเคมี 8. คุณสมบัตทิ างกายภาพและทางเคมี 9. ความเสถียรและปฏิกริ ิยาเคมี 10. ข้อมลู พิษวทิ ยา 11. การขนย้ายและการจดั เกบ็ 12. ขอ้ มูลเกี่ยวกับนเิ วศวิทยา 13. วิธีการกาจดั ของเสีย 14. ขอ้ มูลเกย่ี วกับการขนสง่ 15. ขอ้ มลู เกี่ยวกบั กฎเกณฑ์และข้อกาหนด 16. ขอ้ มูลอ่นื ๆ © คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

14 | ปฏิบตั ิการเคมีสาหรบั วิศวกร 3.2 ฉลากปิดขวดสารเคมี ขวดสารเคมีต้องมีฉลากท่ีชัดเจนและติดอย่างถาวร มีเคร่ืองหมายท่ีทุกคนเข้าใจตรงกัน โดยทว่ั ไปฉลากสารเคมีจะระบขุ อ้ มูลตอ่ ไปนี้ 1. ช่อื ทางเคมแี ละชื่อทางการค้า 2. ชื่อ ท่อี ยู่ และเบอร์โทรศัพท์ของผ้จู าหน่าย 3. บริษัทผผู้ ลิต 4. ระดับความบรสิ ทุ ธ์ิ (เกรด) 5. สตู รโมเลกุล สมบัตทิ างกายภาพ เชน่ จดุ เดอื ด สถานะ จุดหลอมเหลว เป็นต้น 6. สญั ลักษณ์แสดงอันตราย 7. ข้อควรระวงั เพื่อความปลอดภัย (คาเตอื นอนั ตราย) 8. ปริมาณสารเคมที ี่บรรจุ (นา้ หนักสทุ ธิ ปรมิ าตรสทุ ธ)ิ 3.3 สัญลักษณแ์ สดงอันตราย สัญลกั ษณแ์ สดงอันตรายของกลมุ่ ประเทศประชาคมยุโรป (EEC) เป็นสัญลกั ษณ์แสดงอันตราย สาหรบั ตดิ บนภาชนะ ตามขอ้ กาหนดของ EEC ท่ี 67/548/EEC โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ภาพในรปู สี่เหลี่ยมจัตุรัส พ้ืนสี ส้ม ภาพสดี า ตารางที่ 1 สัญลกั ษณแ์ สดงอันตรายตามระบบ EEC ประเภทของ สัญลกั ษณ์ ข้อควรระวังในการใช้ อันตราย 1.สารระเบดิ ได้ สารที่อาจเกดิ ปฏิกิริยารุนแรง หรือลุกไหม้อย่างรวดเร็วจนทา ให้เกิดการระเบิด เม่ือได้รับการกระแทก เสียดสี มีความร้อน หรือมีประกายไฟ การใช้สาร ในกลุ่มน้ีควรหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ ก่อใหเ้ กดิ การระเบดิ ดงั กล่าว สารในกลุ่มนี้เช่น แอมโมนียมได โครเมต เบนโซอิลเปอรอ์ อกไซด์และกรดพิครดิ เปน็ ตน้ 2.สารไวไฟสงู มาก สารกลมุ่ นต้ี ดิ ไฟได้ง่ายมาก จาเป็นต้องเก็บห่างจากบริเวณที่มี ความร้อน เปลวไฟ หรือประกายไฟ สารในกลุ่มนี้ ได้แก่ แก๊ส ไวไฟและของเหลวที่มีจุดวาบไฟ ต่ากว่า 0 C และจุดเดือดไม่ เกิน 35 C เช่น แก๊สไฮโดรเจน แก๊สอะเซติลีน ไดเอธิลดีเธอร์ เป็นต้น 3. สารไวไฟ สารกลุ่มนี้ติดไฟได้ จาเป็นต้องเก็บห่างจากบริเวณที่มีความ ร้อนไฟ หรือประกายไฟ สารในกลุ่มน้ี ได้แก่ ของแข็งท่ีติด ไฟได้ สารปฏิกิริยากับน้าแล้วก่อให้ เกิดแก๊สไวไฟ และ ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ากว่า 21 C เช่น ฟอสฟอรัส อลูมิเนียมไฮไดรด์ แคลเซยี มคารไ์ บด์ และเอธานอล เปน็ ต้น

4.สารช่วยให้วัตถุ เทคนคิ พื้นฐานในการทดลอง | 15 ตดิ ไฟ 5. สารเปน็ พษิ มาก / สารกลุ่มนี้อาจทาให้สารไวไฟเกิดการลุกไหม้ และเร่งการลุก สารพษิ ไหม้ ดังนั้นควรเก็บให้ห่างจากสารไวไฟ และสารไวไฟสูงมาก สารในกลุ่มน้ีเช่น โพแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต และโซเดียม 6. สารอันตราย เปอรอ์ อกไซด์ เป็นต้น สารกลุ่มน้ีอาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรง ถึงขั้นเสียชีวิตเมื่อ 7. สารกัมมนั ตรงั สี เขา้ สู่ร่างกาย หรือสะสมในร่างกายแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายใน ระยะยาว การใช้สารกลุ่มน้ีควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรง 8. สารกดั กร่อน สารกลุ่มนี้เช่น โซเดียมไซยาไนต์ แคดเมียมคลอไรด์ และ คารบ์ อนเตตระคลอไรด์ เป็นตน้ 9. สารระคายเคือง สารกลุ่มนี้ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เม่ือเข้าสู่ร่างกาย หรือเป็นสารก่อมะเร็ง การใช้สารกลุ่มนี้ควรหลีกเล่ียงการ 10.สารอนั ตรายต่อ สัมผัสโดยตรง สารกลุ่มนี้เช่น คลอโรฟอร์ม ไพริดีน และโบร สง่ิ แวดล้อม โมอีเธน เปน็ ต้น สารท่ีให้กัมมันตภาพรังสีออกมามากกว่า 0.002 ไมโครคูรี/ กรัม เลี่ยงการเข้าใกล้ และสวมอุปกรณ์ป้องกันเมื่อ จาเป็นตอ้ งใช้ สารกลมุ่ น้ีเช่น ยูเรเนียมออกไซด์ และ ธอเรยี มไนเตรด เป็นตน้ สารท่ีสามารถกัดกร่อนวัตถุ ผิวหนัง หรือเน้ือเยื่อของร่างกาย หลีกเลี่ยงการสมั ผสั หรือสูดดมไอของสารกลุ่มน้ี ตัวอย่างสาร กลุ่มน้ี เช่น กรดซัลฟุริก กรดไนตริค กรดอะซิติก ไฮโดรเจน เปอรอ์ อกไซด์ โซเดยี มไฮดรอกไซด์ เปน็ ต้น สารที่สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ อาการระคายเคืองต่อผิวหนัง ตา หรือ ระบบหายใจ หลกี เลี่ยงการสมั ผสั หรือสดู ดมไอของสารกลุ่มนี้ สารกลุ่มน้ีเช่น โบรโมเบนซีน เบนซิลคลอไรด์ และแอมเมนี ยม เป็นต้น สารกลุ่มนี้สามารถสร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมได้ หลกี เลีย่ งการทงิ้ สารกลุม่ นลี้ งส่ดู ินหรอื แหลง่ นา้ สาธารณะ © คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

16 | ปฏิบตั กิ ารเคมีสาหรับวศิ วกร ฉลากตามมาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Association) ใช้สัญลักษณ์สีและตัวเลข ภายในรูปสี่เหล่ียมข้าวหลามตัด แบ่งเป็นส่ีส่วน มี 4 สี เพ่ือบอกความรุนแรง เกี่ยวกับสขุ ภาพ ความไวไฟ ความไวในปฏกิ ริ ิยาและขอ้ มูลพิเศษรายละเอียดเปน็ ดงั น้ี ระดบั ความเป็นอนั ตราย สุขภาพ 4 รุนแรงมาก : หากรับสัมผัสในเวลาส้ันๆ อาจทาให้ตายหรือบาดเจ็บอย่างรุนแรงถึงแม้ว่าจะได้รับการ รกั ษาทนั ที 3 รุนแรง : หากรับหรือสัมผัสในเวลาส้ันๆถึงปานกลางอาจทาให้บาดเจ็บรุนแรงถึงปานกลาง ถึงแม้ว่าจะ ได้รับการรักษาทนั ที 2 ปานกลาง : หากรับสัมผัสสารที่เข้มข้นหรือเป็นเวลานานอาจทาให้เกิดผลต่อสุขภาพหรือบาดเจ็บ เล็กนอ้ ยถา้ ไม่ไดร้ ับการรกั ษาทันที 1 เลก็ น้อย : การรบั สัมผัสสารอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองหรอื บาดเจ็บเลก็ น้อยหากไม่ได้รับการรักษา 0 นอ้ ยมาก : ไม่เป็นพษิ ความไวไฟ 4 รนุ แรงมาก :ติดไฟงา่ ยมาก จดุ วาบไฟ 3 รุนแรง : ติดไฟได้ ภายใตอ้ ณุ หภูมิ และความดนั ปกติ 2 ปานกลาง : ตดิ ไฟไดถ้ ้าไดร้ บั ความรอ้ นหรือท่อี ุณหภมู ิสงู 1 เล็กน้อย : ติดไฟได้เลก็ น้อยหากไดร้ บั ความรอ้ น 0 นอ้ ยมาก : ไมต่ ดิ ไฟ การเกิดปฏกิ รยิ าเคมี 4 รุนแรงมาก : อาจระเบิดหรอื ทาปฏกิ รยิ าได้งา่ ยทอ่ี ณุ หภมู ิและความดันปกติ 3 รนุ แรง : อาจระเบดิ ได้หากได้รับความรอ้ นสงู และอยู่ในท่ีอับ อาจทาปฏิกรยิ ากับนา้ แลว้ ระเบดิ ได้ 2 ปานกลาง : สารไม่เสถยี รและอาจทาปฏกิ รยิ ารุนแรงหรือเกิดสารท่ีระเบิดไดห้ ากทาปฏกิ รยิ ากบั น้า 1 เล็กน้อย : ปกติเป็นสารท่ีเสถียร แต่ท่ีอุณหภูมิและความดันสูง จะกลายเป็นสารที่ไม่เสถียร ทา ปฏกิ ริยากบั นา้ แลว้ ให้ความรอ้ น 0 น้อยมาก : ไม่ตดิ ไฟ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook