16 หนว่ ยที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมลู หนว่ ยที่ รปู แบบของฐานขอ้ มลูZZZ สาระการเรยี นรู้ 1. ศพั ทพ์ ้นื ฐานของฐานขอ้ มลู 2. เค้าร่างของฐานขอ้ มลู 3. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทิต้ี 4. ระดับของขอ้ มลู 5. รปู แบบของฐานข้อมลูZZZ จดุ ประสงค์การเรียนรู้จุดประสงคท์ ว่ั ไป 1. เพ่ือให้นักศึกษาไดร้ แู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั ศพั ท์พ้นื ฐานของฐานข้อมลู ไดถ้ กู ต้อง 2. เพ่ือให้นกั ศึกษาไดร้ ูแ้ ละเข้าใจเกยี่ วกับเคา้ รา่ งของฐานข้อมลู ได้ถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รแู้ ละเข้าใจเก่ียวกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี้ได้ถูกตอ้ ง 4. เพื่อใหน้ กั ศึกษาได้รู้และเข้าใจเก่ียวกับระดับของขอ้ มูลไดถ้ กู ตอ้ ง 5. เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาไดร้ แู้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกับรปู แบบของฐานข้อมลู ได้ถูกตอ้ งจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. นักศึกษาสามารถบอกความหมายศพั ทพ์ ืน้ ฐานของฐานข้อมูลได้ 2. นักศึกษาสามารถจําแนกเค้ารา่ งของฐานขอ้ มลู ได้ 3. นักศึกษาสามารถบอกความสมั พันธ์ระหวา่ งเอนทิต้ีได้ 4. นักศกึ ษาสามารถบอกระดบั ของข้อมลู ได้ 5. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายรูปแบบของฐานข้อมูลได้ 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
17 หน่วยท่ี 2 รปู แบบของฐานข้อมูล ZZZ กิจกรรมการเรยี นการสอน. 1. ครูใหน้ กั ศึกษาทําแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครอู ธิบายความหมายศพั ทพ์ น้ื ฐานของฐานขอ้ มลู 3. ครูอธบิ ายเค้าร่างของฐานขอ้ มลู 4. ครูอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี้ 5. ครอู ธิบายระดับของขอ้ มลู 6. ครูอธิบายรปู แบบของฐานขอ้ มูล 7. ครูให้นักศึกษาสอบถามและครตู อบขอ้ ซักถาม 8. ครใู หน้ กั ศกึ ษาทําแบบฝึกหัดทา้ ยหน่วยและแบบทดสอบหลงั เรียน 9. ครใู หน้ ักศกึ ษารว่ มกนั ตรวจแบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ยและแบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรียน 10. ครเู ปรยี บเทียบคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นเพอ่ื ใช้เปน็ ข้อมูลในการ ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนในคร้ังตอ่ ไป ZZZ สื่อการเรียนการสอน 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ 2. ส่อื Power Point 3. แหลง่ อนิ เทอร์เนต็ สําหรับศกึ ษาเพ่มิ เติม http://www.payom.bctsakon.com ZZZ การประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากแบบทดสอบหลงั เรยี น 2. ประเมนิ ผลจากความตัง้ ใจ และความสนใจในการเรียน 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
18 หน่วยท่ี 2 รูปแบบของฐานขอ้ มูล รูปแบบของฐานข้อมลู ฐานข้อมูลโดยทั่วไปจะถูกสร้างให้มีโครงสร้างท่ีง่ายต่อความเข้าใจและการใช้งานของผู้ใช้โดยท่ัวไปแล้วฐานข้อมูลท่ีมีใช้อยู่ในปัจจุบันจะมีโครงสร้าง 3 แบบด้วยกัน คือ ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ แบบลําดับขั้น และแบบเครือข่าย ระบบฐานข้อมูลจะมีการเรียกใช้ข้อมูลโดยผู้ใช้หลายกลุ่มข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้มีการแบ่งระดับของข้อมูลออกเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้การใช้ข้อมูลของผู้ใช้เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยมีระบบจัดการฐานข้อมูล ทําหน้าที่เชื่อมข้อมูลระหว่างข้อมูลในระดับต่างๆ เพ่ือให้การเรยี กใช้ข้อมูลมีประสทิ ธิภาพ ในหน่วยท่ี 2 นี้จะกล่าวถึงคําศัพท์พ้ืนฐานที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลของเอนทิตี้ ระดับของข้อมูล และรูปแบบของฐานข้อมูล ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี1. ศัพทพ์ ืน้ ฐานของฐานข้อมูล เอนทิต้ี (Entity) หรือ ตาราง (Table) หรือ รีเลชั่น (Relation) คือ การรวบรวมข้อมูลจัดเก็บในรปู ของตาราง 2 มติ ิ แอททริบิวต์ (Attribute) คือ รายละเอียดของข้อมูลในเอนทิตี้ เป็นช่ือเขตข้อมูล หรือฟิลด์(Field) ความสัมพันธ์ (Relationship) คอื ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ้ี (Entity) ทเู พิล (Tuple) คือ คา่ ของขอ้ มลู ในแต่ละแถว (Row) หรอื ท่เี รยี กวา่ เรคอรด์ (Record) คาร์ดินาลิตี้ (Cardinality) คือ จํานวนแถวของข้อมูลในแต่ละรีเลช่ัน หรือจํานวนเรคอร์ดในฐานขอ้ มูลนั่นเอง คีย์หลัก (Primary Key) หรือ ค่าเอกลักษณ์ (Unique Identifier) คือ แอททริบิวต์ท่ีมีค่าของข้อมลู ไม่ซาํ้ กันในแต่ละทเู พิล โดเมน (Domain) คือ ขอบเขตของคา่ ของข้อมลู ท่คี วรจะเป็นในแตล่ ะแอททริบวิ ต์2. เค้ารา่ งของฐานข้อมลู (Database Schema) ในการออกแบบฐานขอ้ มูล ตอ้ งระบุช่อื ของเอนทิตี้ และรายละเอียดของแต่ละเอนทิต้ีประกอบด้วยแอททริบิวต์อะไรบ้าง มีลักษณะความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิต้ีอย่างไร ซึ่งรายละเอียดของโครงสร้างของฐานข้อมูลนี้ เรียกว่า เค้าร่างของฐานข้อมูล (Database Schema) ส่วนข้อมูลที่ถูกบนั ทกึ ลงในฐานข้อมูล เรยี กว่า อนิ สแตนซ์ (Instance หรือ Occurrence) แสดงดงั ตารางที่ 2.1 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
19 หน่วยที่ 2 รูปแบบของฐานขอ้ มูลSchema หมายถึง โครงสรา้ งขอ้ มูลหรอื นิยามขอ้ มลูInstance หมายถงึ เนือ้ ข้อมลู ที่เกบ็ อย่ใู นโครงสร้างข้อมูลตารางที่ 2.1 แสดงโครงสร้างของขอ้ มลู พนักงานบริษทั แหง่ หนงึ่รหัสพนักงาน ชือ่ พนักงาน ตาํ แหน่ง แผนก วุฒิการศกึ ษา การตลาด ปรญิ ญาตรี55001 นางสาวสุดสวย รกั งาน ผจู้ ดั การท่วั ไปจากตัวอย่างตารางท่ี 2.1 สามารถอธบิ ายโครงสร้างของข้อมูล ได้ดังน้ีเคา้ ร่างของฐานข้อมลู (Database Schema) คอื รหสั พนักงาน, ช่ือพนักงาน, ตําแหนง่ , แผนก, วฒุ ิการศึกษาเน้ือข้อมลู (Instance) คอื 55001, นางสาวสดุ สวย รักงาน, ผู้จดั การท่วั ไป, การตลาด, ปริญญาตรี เม่ือมีการเรียกใช้หรือแก้ไขข้อมูล จะทําให้ค่าของข้อมูล (Instance) มีการเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา ส่วนเค้าร่างที่ได้จากการออกแบบฐานข้อมูล (Database Schema) ไม่ควรมีการเปลีย่ นแปลง ถ้ามกี ารเปลีย่ นแปลงกไ็ ม่ควรให้เกดิ ขน้ึ บ่อยคร้งั3. ความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทติ ้ี การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์กระทําได้ โดยการกําหนดให้เอนทิต้ีท่ีมีความสัมพันธ์กันมีแอททริบิวต์ท่ีเหมือนกัน และใช้ค่าของแอททริบิวต์ท่ีเหมือนกันเป็นตัวระบุข้อมลู ในเอนทติ ี้ทม่ี ีความสมั พันธ์กนั ความสัมพันธร์ ะหว่างเอนทิต้ี แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ 3.1 ความสมั พนั ธแ์ บบหน่งึ ต่อหน่งึ (One-to-one Relationship) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลของอีกเอนทติ ี้หนง่ึ ในลักษณะที่เป็นหนง่ึ ต่อหนึง่ เชน่ ความสัมพันธ์ของประชาชนกับหมายเลขรหัสประจําตัวประชาชน ซ่ึงประชาชน 1 คนจะต้องมหี มายเลขรหัสประจาํ ตวั ประชาชน 1 หมายเลข ซงึ่ ไมช่ าํ้ กนั นักศึกษากับรหัสประจําตัวนักศึกษา นักศึกษาแต่ละคนก็จะมีรหัสประจําตัวนักศึกษาไม่ซํ้ากนั รถยนต์กับทะเบียนรถยนต์ก็เช่นกัน รถยนต์แต่ละคันก็จะมีหมายเลขทะเบียนไม่ช้ํากัน จึงมีความสมั พันธ์แบบหนงึ่ ต่อหน่งึ แสดงดงั รูปที่ 2.1 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
20 หนว่ ยท่ี 2 รปู แบบของฐานขอ้ มลูประชาชน 1 1 หมายเลขรหสั ประจาํ ตัวประชาชนนกั ศึกษา รถยนต์ 11 รหัสประจาํ ตวั นกั ศึกษา 11 ทะเบยี นรถยนต์ รปู ที่ 2.1 แสดงตวั อยา่ งความสัมพนั ธ์แบบหนงึ่ ตอ่ หน่งึ 3.2 ความสมั พันธแ์ บบหนง่ึ ตอ่ กลุม่ (One-to-many Relationship) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลของเอนทิต้ีหน่ึง ว่ามีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายขอ้ มลู กบั อกี เอนทติ ี้หน่ึง เช่น ความสัมพันธ์ของ แผนกกับพนักงาน ซึ่งแผนกแต่ละแผนกจะประกอบไปด้วยพนักงานทส่ี ังกดั อยใู่ นแผนกหลายคน ความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับนักเรียน โรงเรียน 1 โรงเรียน มีนักเรียนหลายคนเรียนอยู่ในโรงเรยี น จึงมีความสัมพันธ์แบบหน่งึ ตอ่ กลมุ่ แสดงดงั รูปท่ี 2.2แผนก 1 N พนกั งานโรงเรียน 1 N นักเรียน รูปที่ 2.2 แสดงตวั อยา่ งความสมั พันธแ์ บบหน่ึงตอ่ กลุ่ม 3.3 ความสัมพันธ์แบบกล่มุ ต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationship) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลของ 2 เอนทิตี้ ในลักษณะแบบกลุ่มต่อกลุ่มเช่น ความสัมพันธ์ของนักศึกษากับรายวิชา นักศึกษาหลายคน อาจลงทะเบียนเรียนได้หลายรายวิชาในการลงทะเบียนเรียนแต่ละภาคเรียน และอาจมีลงทะเบียนเรียนหลายครั้ง จึงมีความสมั พนั ธ์แบบกลมุ่ ตอ่ กลุ่ม ความสัมพันธ์ของลูกค้า/การส่ังซื้อกับสินค้า ลูกค้าหลายคน อาจซ้ือสินค้าได้หลายชนิดในการซื้อแต่ละคร้ังและอาจมีการสั่งซื้อหลายครั้ง จึงมีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม แสดงดังรูปที่ 2.3 นักศึกษา M N รายวชิ า ลูกคา้ M N สนิ ค้า รูปท่ี 2.3 แสดงตัวอย่างความสมั พันธแ์ บบกลุม่ ตอ่ กลุม่ 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
21 หนว่ ยท่ี 2 รูปแบบของฐานข้อมูล4. ระดับของข้อมลู ระบบฐานข้อมูลเป็นการนําข้อมูลที่เก่ียวข้องกันมารวมกันไว้ในระบบเดียวกัน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลเดียวกัน ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลในแง่มุม หรือวิว(View) ท่ีต่างกัน ผู้ใช้บางคนอาจต้องเรียกใช้ข้อมูลทั้งแฟ้มข้อมูล บางคนอาจต้องการเรียกใช้ข้อมูลเพียงบางสว่ นของแฟม้ ข้อมูล โดยผู้ใช้ไม่จําเป็นต้องสนใจว่าการจัดเก็บข้อมูลที่แท้จริงจะเป็นอย่างไร ดังน้ันการเลือกใช้วิธีจดั เก็บขอ้ มลู ท่ีเหมาะสม จงึ เปน็ สว่ นทท่ี าํ ให้การเรียกใช้ข้อมูลเกดิ ประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูลมกี ารเรียกใช้โดยผู้ใช้หลายกลุ่ม ข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้มีการแบ่งระดับของข้อมูลออกเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้การใช้ข้อมูลของผู้ใช้เป็นไปอย่างเหมาะสม แบ่งเป็น 3 ระดับดังน้ี 4.1 ระดบั ภายนอกหรือวิว (External Level หรือ View) เป็นระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบไปด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนมองข้อมูล (View)เค้าร่างของข้อมลู ระดบั นี้เกดิ จากความตอ้ งการขอ้ มลู ของผใู้ ช้ 4.2 ระดับแนวคดิ (Conceptual Level) เป็นระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดลงมา อธิบายถึงฐานข้อมูลว่าประกอบด้วยเอนทิตี้โครงสร้างของข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล กฎเกณฑ์และข้อจํากัดต่างๆ อย่างไร ข้อมูลในระดับนี้เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และออกแบบโดยผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) หรือนักวิเคราะห์ และออกแบบฐานข้อมูล เป็นระดับของข้อมูลที่ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลในระดับภายนอกสามารถเรียกใชข้ อ้ มลู ได้ 4.3 ระดบั ภายใน (Internal level หรือ Physical Level) เปน็ ระดับของขอ้ มูลที่อยูล่ ่างสดุ ซึง่ ขอ้ มลู จะถูกเก็บอยจู่ ริงในสือ่ บันทึกขอ้ มูลมีโครงสรา้ งการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ในฐานข้อมูล เพื่อดึงข้อมูลที่ต้องการ แสดงดังรูปที่ 2.4ระดับภายนอก ววิ ของผใู้ ช้ 1 ววิ ของผ้ใู ช้ 2 ววิ ของผูใ้ ช้ nระดับแนวคิด เค้ารา่ งแนวคดิระดบั ภายใน เค้ารา่ งภายในรปู ท่ี 2.4 แสดงความสัมพนั ธข์ องเคา้ ร่างความสมั พนั ธ์ 3 ระดบั 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
22 หน่วยที่ 2 รูปแบบของฐานขอ้ มลู จากรูปที่ 2.4 แสดงให้เห็นว่าฐานข้อมูลจะประกอบด้วยเค้าร่างภายใน 1 ตัว เค้าร่างแนวคิด1 ตวั และเคา้ รา่ งภายนอกได้หลายๆ ตวั5. รูปแบบของฐานข้อมลู ข้อมูลในฐานข้อมูลโดยทั่วไปจะถูกสร้างให้มีโครงสร้างที่ง่ายต่อความเข้าใจและการใช้งานของผู้ใช้ โดยท่ัวไปแลว้ ฐานข้อมลู ทม่ี ีใช้อยใู่ นปัจจบุ ันมี 3 รปู แบบด้วยกัน ดังน้ี 5.1 ฐานขอ้ มลู แบบเชิงสมั พนั ธ์ (Relational Database) ฐานข้อมูลแบบเชงิ สัมพันธ์ ประกอบด้วยกลุ่มของเอนทิต้ีท่ีมีความสัมพันธ์กัน โดยข้อมูลของแต่ละเอนทิตี้จะถูกจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตาราง 2 มิติ ในแนวแถว (Row) และแนวคอลัมน์(Column) โดยบรรทัดแรกของตารางคือ ชื่อแอททรบิ วิ ต์ แสดงดงั รูปท่ี 2.5 Columns = Field (Attribute)Row=Record ชอ่ื สกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศพั ท์ (Tuple) นางสาวสวย ใจบญุ อ.เมอื ง จ.สกลนคร 085-0028857 นางเดือน ไทสกล อ.พงั โคน จ.สกลนคร 085-0039999 นายชาติ คนไทย อ.เมอื ง จ.สกลนคร 081-9999999 แตล่ ะ Column จะถอื วา่ เปน็ 1 Field (Attribute) แต่ละ Row จะถอื ว่าเป็น 1 Record (Tuple) บรรทัดแรกต้องเปน็ ช่อื Field เสมอ ทั้งหมด คอื 1 Table/ รเี ลช่นั รปู ท่ี 2.5 แสดงตัวอยา่ งขอ้ มูลในรปู แบบฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ ในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ท่ีมีอยู่ในท้ังสองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงข้อมูลกัน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นรูปแบบที่ง่าย และนิยมใช้ในปัจจุบัน ตัวอย่างรูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ของพนักงานบริษัทแห่งหน่ึง ประกอบด้วย 3 ตาราง แสดงดังตารางที่ 2.2 ตารางท่ี 2.3 และตารางที่ 2.4 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
23 หน่วยท่ี 2 รูปแบบของฐานขอ้ มลูตารางที่ 2.2 แสดงตัวอย่างตารางข้อมลู พนกั งานพนักงาน ชื่อพนกั งาน รหัสตําแหนง่ รหัสแผนก รหัสพนักงาน นางสาวพร ประเสรฐิ 104 404 55001 นายหวัง แข็งแรง 102 402 55002 นายอุดม รักดี 101 401 55003 นางหมาย รกั สวย 104 403 55004ตารางที่ 2.3 แสดงตัวอยา่ งตารางขอ้ มูลตําแหนง่ตําแหนง่ ช่อื ตําแหนง่ รหสั ตาํ แหนง่ พนักงาน 101 หวั หน้าแผนก 102 ผู้จัดการ 103 ผชู้ ว่ ยผู้จดั การ 104ตารางท่ี 2.4 แสดงตวั อยา่ งตารางข้อมลู แผนกแผนก ชอ่ื แผนก รหสั แผนก แผนกธุรการ 401 แผนกการเงิน 402 แผนกบัญชี 403 แผนกการตลาด 404 5.2 ฐานขอ้ มูลแบบลําดับขั้น (Hierarchical Database) เป็นฐานข้อมูลที่นําเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) เป็นโครงสร้างลักษณะคล้ายต้นไม้เป็นลําดับข้ัน ซ่ึงแตกออกเป็นกิ่งก้านสาขา ผู้ที่คิดค้นฐานข้อมูลแบบนี้ คือ North American Rockwell โดยใช้แนวความคิดของโปรแกรม Generalized Update Access Method (GUAM) โครงสร้างของฐานข้อมูลแบบลําดับข้ันจะมีโครงสร้างของข้อมูลเป็นลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อลูก คือ พ่อ (Parent) 1 คนมีลูก (Child) ได้หลายคน แต่ลูกมีพ่อได้คนเดียว(ความสัมพนั ธแ์ บบ 1 ต่อ n) หรือแบบพ่อคนเดียวมลี กู 1 คน (ความสัมพนั ธแ์ บบ 1 ตอ่ 1) ซ่งึ จัดแยกออกเป็นลําดับขั้น โดยระดับข้ันท่ี 1 จะมีเพียงแฟ้มข้อมูลเดียว คือ พ่อ ในระดับขั้นท่ี 2 และระดับข้ัน 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
24 หน่วยที่ 2 รปู แบบของฐานข้อมลูท่ี 3 จะมีกี่แฟ้มข้อมูลก็ได้ โดยในโครงสร้างข้อมูลแบบลําดับขั้นแต่ละกรอบจะมีตัวช้ี (Pointers) หรือหวั ลูกศรวงิ่ เขา้ หาได้ไม่เกนิ 1 หวั กฎควบคุมความถกู ต้อง คอื เรคอรด์ พอ่ สามารถมเี รคอร์ดลกู ไดห้ ลายเรคอร์ดแต่เรคอร์ดลูกแตล่ ะเรคอรด์ จะมีเรคอร์ดพอ่ ไดเ้ พียงเรคอร์ดเดียวเทา่ นัน้ ตัวอยา่ ง รา้ นขายเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ในการขายสนิ ค้า พนักงานขายสามารถขายสินค้าให้แก่ลูกค้าได้หลายคน แต่ลูกค้าแต่ละคนต้องซ้ือสินค้ากับพนักงาน 1 คน แต่ก็สามารถซ้ือสินค้าได้มากกวา่ 1 อย่างขนึ้ ไป แสดงดงั รปู ท่ี 2.6 และรูปที่ 2.7พนักงานขาย รหสั พนักงานขาย ช่ือพนกั งานขายลูกค้า รหัสลกู ค้า ชอ่ื ลกู ค้าสนิ คา้ รหสั สนิ ค้า ปรมิ าณสินค้า รูปท่ี 2.6 แสดงโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลาํ ดับข้ันพนักงานขาย 551001 เจรญิ สมหวังลกู ค้า 55001 รา้ นคา้ ขายดี 55002 ร้านสมบัติ 55003 รา้ นไฟฟ้าสนิ ค้า 101 10 103 3 105 8 109 4 119 15 รูปท่ี 2.7 แสดงตัวอย่างรปู แบบฐานข้อมลู แบบลําดับข้ันลักษณะเดน่ ของรูปแบบฐานข้อมูลแบบลาํ ดบั ขนั้- เป็นฐานขอ้ มลู ทมี่ ีระบบโครงสรา้ งซับซ้อนนอ้ ยท่ีสดุ- มีคา่ ใช้จา่ ยในการจดั สร้างฐานขอ้ มลู นอ้ ย- ลักษณะโครงสร้างเขา้ ใจงา่ ย 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
25 หน่วยที่ 2 รูปแบบของฐานขอ้ มลู - เหมาะสําหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเง่ือนไขเป็นระดับและออกรายงานแบบ เรยี งลําดับตอ่ เนอื่ ง - ปอ้ งกันระบบความลับของขอ้ มูลไดด้ ี เน่อื งจากต้องอา่ นแฟ้มข้อมูลทเี่ ปน็ ต้นกาํ เนดิ ก่อน ข้อจํากัดของรปู แบบฐานข้อมลู แบบลาํ ดบั ข้นั - มโี อกาสเกิดความซา้ํ ซอ้ นมากทสี่ ุดเมอื่ เทียบกบั ฐานขอ้ มูลแบบโครงสรา้ งอ่ืน - ขาดความสัมพันธ์ระหวา่ งแฟ้มข้อมลู ในรูปเครือขา่ ย - มีความคล่องตัวน้อยกว่าโครงสร้างแบบอื่นๆ เพราะการเรียกใช้ข้อมูลต้องผ่านทางต้น กําเนิด (root) เสมอ ถ้าต้องการค้นหาขอ้ มูลซ่งึ ปรากฏในระดบั ลา่ งๆ แลว้ จะต้องค้นหา ทั้งแฟม้ 5.3 ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่าย (Network Database) โครงสร้างของข้อมูลแต่ละแฟ้มข้อมูลมีความสัมพันธ์คล้ายร่างแห โดยมีลักษณะโครงสร้างคล้ายกับโครงสร้างแบบลําดับข้ัน แตกต่างกันตรงท่ีโครงสร้างแบบเครือข่ายสามารถมีต้นกําเนิดของข้อมูลได้มากกว่า 1 เรคอร์ด การออกแบบลักษณะของฐานข้อมูลแบบเครือข่ายทําให้สะดวกในการค้นหามากกว่าลักษณะฐานข้อมูลแบบลําดับข้ัน เพราะไม่ต้องไปเร่ิมค้นหาต้ังแต่ข้อมูลต้นกาํ เนิดโดยทางเดียว ขอ้ มลู แตล่ ะกลมุ่ จะเชือ่ มโยงกนั โดยตวั ช้ี ข้อมูลภายในฐานข้อมูลแบบนี้สามารถมีความสัมพันธ์กันแบบใดก็ได้ อาจเป็นหน่ึงต่อหน่ึง หนึ่งตอ่ กลุ่ม หรือกล่มุ ต่อกลมุ่ กฎการควบคุมของฐานข้อมูลแบบเครือข่าย โครงสร้างแบบเครือข่ายสามารถยินยอมให้ระดับขั้นท่ีอยู่เหนือกว่ามีหลายแฟ้มข้อมูลแม้ว่าระดับขั้นถัดลงมาจะมีเพียงแฟ้มข้อมูลเดียว โดยเรคอร์ดท่ีอยู่เหนือกว่ามีความสัมพันธ์กับเรคอร์ดท่ีอยู่ระดับล่างได้มากกว่า 1 เรคอร์ด โดยแต่ละเรคอร์ดสัมพันธ์กันด้วยการลิงค์ (Links)ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะทําให้สะดวกในการค้นหามากกว่าฐานข้อมูลแบบลําดับข้ัน เพราะไม่ต้องไปเร่ิมค้นหาตงั้ แตข่ อ้ มูลต้นกาํ เนดิ โดยทางเดยี ว ข้อมูลแตล่ ะกลมุ่ จะเชอื่ มโยงกันโดยตวั ชี้ ตัวอย่างของโครงสร้างข้อมูลแบบเครือข่าย เช่น ร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แห่งหน่ึงส่ังสินค้าหลายชนิดจากผู้ผลิตสินค้าหลายๆ บริษัท แล้วนําสินค้าไปเก็บไว้ในคลังสินค้า ซ่ึงแสดงความสัมพันธ์ของผู้ผลิตสินค้าและคลังสินค้า โดยการใช้ลูกศรเชื่อมโยง แสดงดังรูปท่ี 2.8 และรปู ที่ 2.9 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
26 หนว่ ยที่ 2 รปู แบบของฐานข้อมลูผ้ผู ลติ สนิ คา้ รหสั ผู้ผลิตสินคา้ ชือ่ รา้ นคา้ ผ้ผู ลติ สินค้าสนิ คา้ รหสั สนิ คา้ ชื่อสนิ คา้ ราคาตอ่ หน่วย ปริมาณที่มีอยู่คลังสนิ ค้า รหัสคลังสินค้า ขนาดบรรจุสินคา้ รูปที่ 2.8 แสดงโครงสรา้ งฐานข้อมลู แบบเครือขา่ ยผผู้ ลิตสนิ คา้ 5581 บริษทั คอมดี 5533 บริษทั รํ่ารวย 5599 บริษัทไอทีสินคา้ 1001 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 1009 จอภาพ 1099 เคร่อื งพิมพ์คลงั สนิ ค้า A10 1500 B20 2000 รปู ท่ี 2.9 แสดงตัวอย่างรปู แบบฐานขอ้ มูลแบบเครอื ขา่ ย จากรูป 2.9 พบวา่ ผูผ้ ลติ สนิ คา้ กับสินค้า มคี วามสัมพนั ธแ์ บบกลุ่มต่อกลุ่ม กล่าวคือ ผู้ผลิตสินค้าแต่ละบริษัทสามารถขายส่งสินค้าได้มากกว่า 1 ชนิด และสินค้าแต่ละชนิดก็สามารถสั่งได้จากผู้ผลิตสินค้ามากกว่า 1 บริษัท ส่วนสินค้ากับคลังสินค้า มีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหน่ึง กล่าวคือ ที่เก็บสนิ คา้ ในคลงั สนิ ค้าแตล่ ะแห่งจะใชเ้ กบ็ สินคา้ แต่ละชนดิ เทา่ น้นั ZZZ สรุป ระบบฐานข้อมลู มีการเรียกใชโ้ ดยผู้ใช้หลายกลุ่ม ข้อมูลท่ีผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้มีการแบ่งระดับของข้อมูลออกเป็นระดับต่างๆ เพ่ือให้การใช้ข้อมูลของผู้ใช้เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยข้อมูลในฐานข้อมูลจะถูกสร้างให้มีโครงสร้างที่ง่ายต่อความเข้าใจและการใช้งานของผู้ใช้ ซ่ึงฐานข้อมูลมีโครงสร้างของฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบลําดบั ขนั้ และฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ซ่ึงโครงสร้างของฐานข้อมูลแต่ละประเภทจะมีลักษณะการจัดระดับของขอ้ มูลแตกต่างกัน 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
27 หนว่ ยที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมลู แบบฝกึ หัดทา้ ยหนว่ ยที่ 2คําส่ัง ให้นักศึกษาตอบคาํ ถามต่อไปนี้ (ใหเ้ ขยี นคําตอบลงในสมดุ )ตารางขอ้ มลู หนังสอื ในรา้ นหนังสอืรหัสหนงั สอื ชอื่ หนงั สอื ชอื่ ผูแ้ ตง่ สาํ นักพิมพ์ 550011 ระบบฐานข้อมลู นักเขยี น อ่านดี ดอกหญา้ 550012 ระบบปฏิบตั ิการ สมฤดี ดจี รงิ ชีเอ็ดบุ๊ค 550013 หลักการเขียนโปรแกรม สมบตั ิ คนอดุ ร นายอินทร์จากตารางข้อมลู หนังสอื ใหน้ ักศึกษาใชต้ อบคําถามข้อท่ี 1-51. เอนทติ ี้ หมายถึง และคอื ส่วนใดของตารางขอ้ มลู หนังสอื .........................................................................................................................................................2. แอททรบิ ิวต์ หมายถงึ และคอื ส่วนใดของตารางข้อมูลหนงั สือ .........................................................................................................................................................3. Schema หมายถึง และคอื สว่ นใดของตารางขอ้ มลู หนังสือ .........................................................................................................................................................4. Instance หมายถึง และคอื สว่ นใดของตารางข้อมูลหนังสอื .........................................................................................................................................................5. จงบอกความสัมพันธข์ องตารางข้อมูลหนังสอื 5.1 ความสัมพนั ธ์ของ รหัสหนงั สอื กบั ชือ่ หนังสือ เปน็ ความสมั พันธแ์ บบใด .............................................................................................................................................. 5.2 ความสัมพันธ์ของ รหัสหนงั สอื กบั ช่อื ผแู้ ตง่ เปน็ ความสัมพนั ธ์แบบใด .............................................................................................................................................. 5.3 ความสมั พันธ์ของ รหสั หนังสอื กับ สาํ นักพมิ พ์ เปน็ ความสมั พนั ธ์แบบใด ..............................................................................................................................................6. จงยกตัวอย่างความสมั พนั ธ์ในแบบต่างๆ ทเี่ กิดขนึ้ ระหวา่ ง 2 เอนทิต้ี 6.1 หนง่ึ -ต่อ-หน่งึ ............................................................................................................................ 6.2 หน่งึ -ตอ่ -กล่มุ ............................................................................................................................ 6.3 กลมุ่ -ตอ่ -กลุ่ม............................................................................................................................7. ระดบั ของข้อมูลแบ่งไดเ้ ปน็ ก่รี ะดับ (พรอ้ มอธบิ าย) .........................................................................................................................................................8. รูปแบบของฐานขอ้ มูลทมี่ ใี ช้อยู่ในปจั จุบันจะมกี รี่ ปู แบบ (พร้อมอธบิ าย) ......................................................................................................................................................... 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
28 หน่วยที่ 2 รูปแบบของฐานขอ้ มลู แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 2คาํ ส่งั จงทาํ เครื่องหมายกากบาท (¯) ลงหนา้ ขอ้ ทีถ่ ูกทส่ี ดุ1. รเี ลชัน (Relation) หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ความสมั พันธ์ระหวา่ งเอนทติ ี้ ข. รายละเอยี ดของข้อมูลในเอนทิต้ี ค. ของขอ้ มูลในรปู แบบตาราง 2 มิติ ง. ค่าของขอ้ มลู ในแตล่ ะระเบยี นขอ้ มูลความสมั พันธ์ จากตารางต่อไปน้ี ใช้ตอบคําถามข้อ 2รหสั สมาชกิ ช่ือสมาชกิ ยอดขาย55099 นายชยั สภุ าพ 2199955691 นางสาวพลอย สดุ สวย 3590055692 นางดวงใจ มบี ญุ 183002. เค้ารา่ งของฐานข้อมลู คอื ข้อใดก. รหสั สมาชิก, ชอ่ื สมาชกิ , ยอดขายข. 55099, นายชัย สภุ าพ, 21999ค. 55099, 55691, 55692ง. รหสั สมาชิก 55099, ช่อื สมาชิก นายชยั สุภาพ, ยอดขาย 219993. นักศึกษากบั การเปน็ สมาชิกห้องสมดุ มีความสมั พันธ์แบบใดก. ความสมั พนั ธ์แบบเดีย่ วข. ความสัมพนั ธแ์ บบหนง่ึ ตอ่ กลุ่มค. ความสัมพันธ์แบบกล่มุ ตอ่ กลมุ่ง. ความสัมพันธแ์ บบหนง่ึ ตอ่ หนึ่ง4. นกั ศึกษากบั การใช้เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการมีความสมั พนั ธ์แบบใดก. ความสมั พันธแ์ บบเดย่ี วข. ความสมั พนั ธแ์ บบหนึง่ ตอ่ กลุ่มค. ความสมั พนั ธ์แบบกลุม่ ต่อกลมุ่ง. ความสัมพันธแ์ บบหนึง่ ตอ่ หน่ึง5. การออกแบบฐานขอ้ มลู โดยนกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมูลเป็นระดบั ของขอ้ มลู ระดับใดก. ระดับตรรกะข. ระดับแนวคิดค. ระดับภายในง. ระดบั ภายนอกหรอื ววิ 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
29 หน่วยท่ี 2 รปู แบบของฐานข้อมลู6. ระดับของข้อมูลระดับภายใน มลี ักษณะการเรียกใช้ขอ้ มลู อยา่ งไร ก. เปน็ ภาพของผู้ใช้แตล่ ะคนมองข้อมลู ข. เปน็ ขอ้ มูลที่ถูกจดั เก็บไวใ้ นสอื่ ข้อมลู ค. เปน็ ข้อมูลทผี่ ใู้ ช้สามารถปรับปรงุ แก้ไขได้ ง. เป็นขอ้ มลู ท่ผี ใู้ ช้ขอ้ มูลในระดบั ภายนอกสามารถเรยี กใช้ขอ้ มูลได้7. โครงสร้างของขอ้ มลู ทม่ี ลี กั ษณะความสมั พนั ธ์แบบพอ่ ลกู เป็นฐานข้อมูลแบบใด ก. ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ ข. ฐานขอ้ มลู ความสัมพันธ์ ค. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ง. ฐานข้อมลู แบบลาํ ดบั ขั้น8. โครงสร้างของฐานขอ้ มูลในรปู แบบของตาราง 2 มติ ใิ นแนวแถวและคอลมั น์ โดยบรรทดั แรกของ ตารางคอื ชื่อแอททรบิ ิวตเ์ ป็นฐานขอ้ มูลแบบใด ก. ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ ข. ฐานขอ้ มลู ความสัมพันธ์ ค. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ง. ฐานขอ้ มูลแบบลําดับขน้ั9. โครงสร้างของข้อมลู ทแ่ี ฟ้มขอ้ มูลมีความสมั พันธ์แบบรา่ งแห สามารถมคี วามสมั พันธ์กนั แบบใด ก็ไดเ้ ป็นฐานขอ้ มูลแบบใด ก. ฐานข้อมลู เชิงสมั พันธ์ ข. ฐานข้อมูลความสัมพันธ์ ค. ฐานข้อมลู แบบเครอื ขา่ ย ง. ฐานข้อมลู แบบลําดับขั้น10. ขอ้ ใดเปน็ ฐานข้อมูลแบบลําดับขั้น ก. แฟม้ ประวัตขิ องนักศกึ ษาประกอบด้วยตารางข้อมูลนกั ศกึ ษาตารางแผนกวชิ า และตาราง รายวิชา ข. รา้ นค้าแหง่ หน่งึ พนักงานขายแตล่ ะคนมีลกู ค้ามากกว่า 1 คน ลกู คา้ แตล่ ะคนซื้อสนิ ค้า มากกวา่ 1 อย่าง ค. บริษัทแหง่ หนง่ึ มผี ู้จัดการ 1 คน ผจู้ ดั การแต่ละคนดแู ลแผนกมากกวา่ 1 แผนก แต่ละแผนก มีพนกั งานมากกว่า 1 คน ง. วิทยาลัยแห่งหน่ึง ครทู ีป่ รกึ ษาแต่ละคนดูแลนักศึกษามากกว่า 1 คน นักศกึ ษาแตล่ ะคน ลงทะเบียนเรยี นรายวิชามากกวา่ 1 วิชา 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: