Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวอย่างผลงาน Best Practice

ตัวอย่างผลงาน Best Practice

Published by kukkai27112519, 2020-04-28 00:17:54

Description: BestPractice-sample

Search

Read the Text Version

ตวั อย่างการเขียน วธิ ีหรือแนวทางปฏิบตั งิ านที่เป็นเลิศ (Best Practice) ช่ือผลงานวธิ ีหรอื แนวทางปฏบิ ตั งิ านทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) (เปน็ ชอื่ เร่อื งทร่ี ะบใุ ห้ทราบจดุ มุง่ หมายของวิธหี รือแนวทางปฏิบัตงิ าน ...นวัตกรรม.. ในการ แกป้ ญั หา/พฒั นา) ตัวอยา่ ง “ระบบสบื คน้ ข้อมลู ผ้จู บหลกั สตู รเพอ่ื สนับสนนุ การดาํ เนนิ งานทะเบียนนกั ศกึ ษาของ สถานศึกษาในสังกัดสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั ลาํ พนู ” ชอื่ เจา้ ของผลงาน............................................................................................................................ สงั กัด...........................เบอร์โทร.............................E-mail……………..………………………………………. 1. ความเปน็ มาและความสาํ คัญของวิธหี รอื แนวทางปฏบิ ตั งิ านทเี่ ป็นเลศิ (ระบสุ ภาพปญั หาความตอ้ งการหรือเหตผุ ลความจําเปน็ ของสิง่ ที่จะพฒั นาได้ชดั เจนมีการจัดลําดบั ความสาํ คญั ของปญั หาและมีหลกั ฐานอา้ งอิง เสนอแนวทางแกป้ ัญหาหรอื การพัฒนาโดยใช้ หลกั การในการออกแบบผลงานทส่ี ัมพันธก์ บั ปญั หาหรอื ส่งิ ทจ่ี ะพฒั นาและสอดคล้องกับความ ตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายสถานศกึ ษาและชมุ ชน) การเขียนความเปน็ มาและความสาํ คัญของปญั หา เพื่อเลา่ ให้ผอู้ า่ นทราบถึง ความเปน็ มา ของวิธหี รือแนวทางปฏิบัติงานทีเ่ ปน็ เลิศโดยเขยี นให้ผ้อู ่านมองเหน็ ความจาํ เปน็ และสภาพปัญหา ของการดําเนนิ การวธิ หี รอื แนวทางปฏบิ ัตงิ านท่เี ป็นเลศิ มกั จะเขียนเปน็ ย่อหน้า ๆ ไม่ยืดยาว เกินไป พยายามให้เน้ือความตอ่ เนื่องกัน มกั จะเรมิ่ จากสภาพปัญหา อาจมีแนวทางในการเขียน เปน็ ลาํ ดับขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ขน้ั ปญั หา กลา่ วถึงสภาพปัญหาทพี่ บในการดําเนินงาน/การจดั การเรียนการสอน หรือสภาพการการดาํ เนนิ งาน/การจดั การเรยี นการสอนท่พี งึ ประสงค์ 2. ขั้นวิเคราะห์ปญั หา ระบถุ งึ สภาพปัญหาของการดาํ เนนิ งาน/การจัดการเรยี นการ สอนโดยการวิเคราะห์ปัญหาน้นั ๆ อย่างรอบคอบ เพื่อชใ้ี ห้เหน็ ประเด็นของการดาํ เนนิ การวธิ หี รอื แนวทางปฏบิ ัติงานท่ีเป็นเลิศหากมตี วั เลขประกอบให้นาํ มาระบดุ ว้ ย 3. ขน้ั สรปุ แนวทางทจ่ี ะแกป้ ัญหาหรือพัฒนา ระบวุ ธิ กี ารหรือนวัตกรรมที่นาํ มาแกไ้ ข ปญั หาหรือพฒั นาคณุ ภาพการดําเนินงาน/การจัดการเรียนการสอน

ตัวอยา่ ง ความเปน็ มาและความสําคญั การจดั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กศน. ทผ่ี ่านมา มกี ารพฒั นาหลกั สูตรมาเป็นลําดบั เรม่ิ ตั้งแต่ หลกั สูตรการศกึ ษาผ้ใู หญแ่ บบเบด็ เสรจ็ ระดับ 3 ระดบั 4 ระดบั 5หลกั สตู รการศกึ ษานอก โรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ พุทธศักราช 2530 หลกั สูตรการศกึ ษานอกโรงเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศักราช 2530 หลกั สูตรการศึกษานอกโรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา พทุ ธศักราช 2531 หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการ จดั การศึกษานอกโรงเรยี น หลกั สูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 หลกั สตู รการศึกษา นอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 รวมท้ัง หลักสตู รการศกึ ษานอก โรงเรียนระดบั ประกาศนยี บตั ร(กศน.ปวช) พุทธศกั ราช 2539 หลกั สูตรการศกึ ษานอกโรงเรียน ระดับประกาศนียบัตร(กศน.ปวช) ปรับปรุงพทุ ธศกั ราช 2546 และหลกั สูตรการศกึ ษานอก โรงเรยี นระดับประกาศนียบัตร(กศน.ปวช) พทุ ธศกั ราช 2556 ซง่ึ การดาํ เนนิ งานในการจัด การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของ กศน. ตามหลักสตู รดังกล่าว พบว่า การจัดเก็บขอ้ มูลผจู้ บหลักสตู รทีใ่ ช้ อยใู่ นแบบเดมิ มกี ารจัดเกบ็ เปน็ เอกสารไม่เปน็ ระบบ ไมช่ ดั เจน ทําใหเ้ มื่อตอ้ งการสืบขอ้ มลู ตอ้ งใช้ เวลามาก และหาไมเ่ จอ เพราะการทาํ งานในปัจจุบันมกี ารลดข้ันตอนของการทํางาน การสบื คน้ ขอ้ มลู ผู้จบหลกั สูตรจากเอกสารท่ีไม่เปน็ ระบบ ทาํ ใหท้ าํ งานไดช้ ้า ดงั น้นั จากการทม่ี ีข้อมลู อยู่ แลว้ แตไ่ ม่สามารถนาํ มาใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว จงึ ทาํ ให้เกิดการปรับปรงุ ระบบขอ้ มลู ทใ่ี ช้อยู่ให้ สอดคลอ้ งกับการทํางานในปจั จุบนั และเพิ่มประสิทธิภาพของการทํางานใหร้ วดเรว็ ในสว่ นของการ สบื คน้ ข้อมลู ผ้จู บหลกั สูตร การพัฒนาและจัดทําระบบสบื ค้นขอ้ มูลผ้จู บหลกั สูตร เป็นการนาํ เทคโนโลยมี าพัฒนาใน การจดั ทําระบบสบื คน้ ขอ้ มลู ผู้จบหลกั สูตรให้อยู่ในรูปแบบการแสดงผลในการค้นหาขอ้ มลู ท่ี รวดเรว็ ส่งผลใหเ้ ปน็ การเพิม่ ประสิทธภิ าพในการคน้ หาผ้จู บหลักสตู รทตี่ อ้ งการ และเป็นการ สง่ เสริมสนับสนนุ การดาํ เนินงานทะเบียนนักศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดสํานักงาน กศน.จงั หวัด ลาํ พูน

2. วตั ถุประสงคห์ รือจุดมุง่ หมาย/เปา้ หมายของการดําเนินงาน (การกําหนดวตั ถุประสงค์หรอื จดุ มงุ่ หมายของการการดาํ เนินงาน เป็นข้นั ตอนที่สาํ คญั อีกขั้นตอน หนึ่งของการดาํ เนนิ งาน เพ่ือเปน็ แนวทางให้ผ้ดู าํ เนินงานสามารถบอกรายละเอียดไดว้ ่า จะตอ้ งทาํ อะไรบา้ ง การกาํ หนดวตั ถุประสงค์ ควรกําหนดเป็นขอ้ ๆ ตอ้ งเป็นส่งิ ทปี่ ฏิบตั ิจริง วดั ได้ประเมิน ได้ สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการของสถานศกึ ษาและชมุ ชนและส่งผลในภาพ กว้าง) ตวั อยา่ ง ชอ่ื ผลงาน : ระบบสบื คน้ ขอ้ มูลผ้จู บหลักสูตรเพื่อสนับสนนุ การดําเนนิ งานทะเบียน นักศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสงั กัดสาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดลําพูน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมผจู้ บหลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานใหค้ รบถว้ น ถกู ต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ 2. เพื่อใหส้ ถานศกึ ษาสามารถสืบคน้ ไดอ้ ย่างสะดวกรวดเรว็ ทนั ความตอ้ งการ เป้าหมาย (ตอ้ งเขียนให้ชดั เจนเพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ผลงานหรอื ผลลัพธท์ ร่ี ะบุคุณภาพ หรือปริมาณงานที่ คาดวา่ จะทาํ ใหบ้ ังเกิดข้ึนในระยะเวลาที่กําหนดไว้ ซึ่งการกาํ หนดผลงานอาจกําหนด เป็น ร้อยละ หรอื จาํ นวนหน่วยที่แสดงปรมิ าณหรอื คณุ ภาพตา่ งๆ ใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค)์ ตวั อยา่ ง เชงิ ปริมาณ ลดเวลาในการสบื คน้ ข้อมูลไดม้ ากกว่า 10 เทา่ เชิงคณุ ภาพ ข้อมลู ผู้จบหลกั สูตรถกู จัดเก็บเขา้ ระบบอยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถว้ น

3. กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดําเนินการ วธิ ีการและนวตั กรรมท่เี ปน็ Best Practice (การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม: ออกแบบผลงาน/นวตั กรรมสอดคล้องกับจดุ ประสงค์และ เปา้ หมายโดยมแี นวคิดสําคัญรองรับอย่างสมเหตสุ มผลสามารถอา้ งองิ ไดน้ ํามาเปน็ พนื้ ฐานในการ ออกแบบกจิ กรรมได้และทกุ กิจกรรมมคี วามเชื่อมโยงสอดคลอ้ งกนั การดําเนินงานตามกิจกรรม: ดาํ เนินการตามกจิ กรรมท่อี อกแบบไวท้ ุกขนั้ ตอนและมีการปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ ง ประสทิ ธิภาพของการดาํ เนินงาน : มกี ิจกรรมการปฏบิ ัติปรากฏชัดเจนเปน็ ลาํ ดับขั้นตอนสามารถ นาํ ไปปฏิบตั ไิ ดจ้ ริงมีวิธีการหรอื องคค์ วามรูใ้ หม่ที่ส่งผลต่อเป้าหมายและการพฒั นาอยา่ งมคี ุณภาพ การใชท้ รัพยากร: ประยกุ ตใ์ ช้ทรพั ยากรที่มอี ยู่อย่างเหมาะสมค้มุ ค่าสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาหรอื หนว่ ยงาน) ใชว้ ิธี (System Appoach) ประกอบดว้ ย Input Process Output Feedback และทกุ ขั้นตอนจะควบคุม โดยวงจรคุณภาพ PDCA Input : ส่งิ ต่าง ๆ ทจี่ ําเป็นต้องใช้ในกระบวนการหรอื โครงการต่าง ๆ เชน่ ครู ผเู้ รียน Process :การนาํ เอาส่งิ ทีป่ อ้ นเข้าไปมาจดั กระทํา เพื่อใหเ้ กดิ ผลบรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ี่ต้องการ เช่น การ สอนของครู การใหผ้ เู้ รยี นทาํ กจิ กรรม เปน็ ต้น Output :ผลทไ่ี ด้จากการกระทาํ ในขน้ั ทส่ี อง ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน ผลงานของผเู้ รยี น เปน็ ตน้ การวเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis) เป็นวธิ กี ารนําเอาผลทไ่ี ด้ (Feed Back) จากผลผลิตหรอื การประเมนิ ผล (Evaluation) มาพจิ ารณา ปรบั ปรุงระบบใหม้ ีประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ ฉะนน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ วธิ รี ะบบเปน็ ขบวนการตอ่ เนื่อง แลฎะมีลักษณะ เชน่ เดียวกับวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์

ตวั อย่าง กระบวนการ/ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การ Flow แผนภูมิ ของระบบ วธิ ีการและนวตั กรรมทเี่ ป็น Best Practice วางแผนงานและเตรียมการ การจดั ทาํ ระบบฐานขอ้ มลู การทดสอบระบบ การจดั ทาํ ค่มู ือการใช้ระบบ การประชมุ ชแี้ จงการใชร้ ะบบ การเผยแพรร่ ะบบ การประเมินผลและปรบั ปรงุ ระบบ

ใหอ้ ธบิ ายกระบวนการ/ขนั้ ตอนการดาํ เนินการวธิ กี ารและนวตั กรรมทเ่ี ปน็ Best Practice ตัวอยา่ ง เชน่ 1. วางแผนงานและเตรยี มการ ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปญั หาและความต้องการ กําหนดปญั หาและหาแนวทางแกไ้ ข ปัญหาประชุม ปรึกษา หารือ ดําเนินการศกึ ษารูปแบบ และแนวทางการจดั การข้อมลู จากเอกสาร หนงั สือ และเว็บไซต์ เพื่อหาแนวทางการจัดทาํ ระบบสืบค้นขอ้ มูลผูจ้ บหลกั สูตร หลงั จากนน้ั เตรยี มการวางรปู แบบและแนวทางการดาํ เนินการ พรอ้ มกบั เตรยี มองคค์ วามรูเ้ พอ่ื ถ่ายทอดให้ คณะทาํ งาน ได้แก่ความรู้เกีย่ วกบั ระบบฐานข้อมลู ความร้เู กย่ี วกับระบบสารสนเทศ รวมท้งั การ จดั ซือ้ ลิขสทิ ธ์โิ ปรแกรม PHPMaker สําหรบั ใช้ในการสร้างฐานขอ้ มลู 4. ผลการดาํ เนนิ การ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ (ผลทีเ่ กิดตามวตั ถุประสงค์ : ผลการปฏิบตั ิตามกจิ กรรมที่ออกแบบ ครอบคลุมและเปน็ ไปตาม วัตถปุ ระสงค์ทุกวัตถุประสงค์ โดยมีหลกั ฐานหรอื ข้อมูลประกอบ ผลสัมฤทธข์ิ องงาน : แกป้ ัญหาและพัฒนาผ้เู รยี นหรือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาได้ตรงตาม วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายอยา่ งครบถ้วน โดยมีขอ้ มูลทกุ ส่วนแสดงให้เห็นการเปล่ียนแปลงในทาง ที่ดขี นึ้ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั : กระบวนการพฒั นาผลงาน/นวตั กรรมกอ่ ใหเ้ กดิ ประสบการณ์การเรยี นรู้รว่ มกัน ทั้งสถานศึกษา/หน่วยงาน) ตัวอย่าง ผลทีเ่ กิดตามวตั ถปุ ระสงค์ : ระบบฐานขอ้ มลู ผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมี ความครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทนั สมัย และเชอื่ มโยงอยา่ งเปน็ ระบบต้ังแตร่ ะดบั กศน.ตาํ บล กศน. อําเภอ และสํานักงาน กศน.จงั หวดั ผู้ปฏิบตั ิงานมีความพงึ พอใจในการใชง้ านระบบฐานขอ้ มลู ผจู้ บ หลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พบว่า ผูป้ ฏบิ ตั งิ านมีความพึงพอใจระบบฐานข้อมูลผูจ้ บหลักสูตร การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามลาํ ดับดงั น้ี 1) ระบบสามารถช่วยอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานไดด้ ีขนึ้ 2) ระบบสามารถตอบสนองความตอ้ งการของผู้ใช้งานไดด้ ี 3) ระบบสามารถชว่ ยลดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ร็วขึ้นได้ 4) ระบบมีการจดั หมวดหมขู่ องรายการใช้งานไดอ้ ยา่ งชดั เจน 5) ระบบมเี มนกู ารใชง้ านง่าย ไม่ซับซ้อน 6) ระบบมคี วามสะดวกในการติดตอ่ ขอรับบรกิ าร 7) ขอ้ มลู ในระบบมคี วามเปน็ ปจั จุบนั 8) การเข้าถึงระบบงานทําได้ง่ายรวดเรว็

ผลสัมฤทธิข์ องงาน : จากการวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ยี วกับประสทิ ธิภาพการใชง้ านระบบ ฐานข้อมูลผูจ้ บหลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พบวา่ ผู้ปฏบิ ตั ิงานมคี วามคิดเห็นดา้ นประสทิ ธภิ าพ ในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้จบหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ตามลําดบั ดังนี้ 1) ระบบมขี น้ั ตอนการทํางานเปน็ ลําดับเข้าใจงา่ ย 2) ระบบมกี ารแสดงผลข้อมูลท่รี วดเรว็ 3) ระบบมีการแสดงขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งเหมาะสมครบถ้วน 4) ระบบมกี ารตรวจสอบสถานะผใู้ ชง้ าน 5) ระบบมีการเกบ็ รักษาข้อมลู อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย 6) ระบบมกี ารป้องกันข้อมูลเสยี หาย ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ : การใช้งานระบบฐานข้อมูลผ้จู บหลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน จะ เปน็ ระบบทีช่ ่วยในการบรหิ ารจดั การงานทะเบียนนักศกึ ษา ซ่ึงจาํ เป็นตอ้ งเป็นระบบทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพในการใช้งาน ไมม่ คี วามซบั ซอ้ นมาก บคุ ลากรในสถานศึกษา และสํานกั งาน กศน. จงั หวดั ลาํ พนู จึงเกดิ ความรสู้ กึ พงึ พอใจใน ประสทิ ธิการใชง้ านท่สี ะดวก รวดเรว็ ประหยดั คุ้มค่า และรอบคอบรดั กุม สามารถตรวจสอบได้ สะดวก รวดเรว็ ทนั ตอ่ ความตอ้ งการ 5. ปจั จัยความสําเร็จ (สิง่ ที่ชว่ ยให้งานประสบความสําเรจ็ ปัจจัยความสาํ เรจ็ ทีน่ ําเสนอสอดคลอ้ งกับระบบและ/หรอื วิธีการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นผลมาจากการมสี ่วนรว่ มของผ้เู กีย่ วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั ิงานโดยมกี ารพฒั นา ผลงานอย่างต่อเนอ่ื งและย่ังยืน) ตวั อยา่ ง ปัจจัยความสําเรจ็ 1. ผู้บรหิ ารให้ความสาํ คญั และสนับสนนุ การพฒั นาระบบงาน 2. การมสี ่วนร่วมของบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม 4. ความพร้อมของอปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ผปู้ ฏบิ ัติงานมีความพรอ้ มและความต้งั ใจทน่ี ําประสบการณก์ ารทํางานมาพฒั นา ปรับปรุงระบบการทาํ งานอย่างต่อเนื่อง 6. ผู้เชยี่ วชาญใหค้ วามชว่ ยเหลือชแ้ี นะ

6. บทเรยี นท่ไี ดร้ บั (การระบขุ ้อมูลที่ไดร้ บั จาการผลติ และการนาํ ผลงานไปใช้ ข้อสรุปทเี่ ป็นหลักการสอดคล้องกับ ผลงานทน่ี ําเสนอมกี ารแสดงขอ้ สงั เกต/ขอ้ เสนอแนะและขอ้ ควรระวังในการนาํ ผลงานไป ประยกุ ตใ์ ช้รวมทงั้ แนวทางการพัฒนาเพม่ิ เตมิ ใหป้ ระสบความสาํ เรจ็ มากยิ่งขนึ้ )    ตัวอยา่ ง บทเรยี นทไ่ี ด้รบั 1. การดาํ เนนิ การตามแนวทางการพฒั นาระบบฐานข้อมลู ผจู้ บหลกั สตู รการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน ทําให้เกิดการเปล่ยี นแปลงข้ึนในสถานศกึ ษา/หนว่ ยงาน โดยบุคลากรมกี ารปรบั เปลย่ี นมา ให้ความสาํ คญั กบั การนําเทคโนโลยีมาใช้ในพฒั นางานเพมิ่ มากขึ้น 2. การปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ ระบบมีแนวปฏบิ ัติที่ชัดเจน มกี ารสนับสนุน ส่งผลใหง้ านบรรลุผล สาํ เร็จตามเปา้ หมาย ๓. การพัฒนางานรว่ มกนั ความจรงิ จงั ในการปฏิบัตงิ าน การทํางานเปน็ ทมี การมสี ว่ น รับผิดชอบรว่ มกนั ในการปฏบิ ตั งิ าน ความรว่ มมอื รว่ มใจ การเอาใจใส่ เสียสละ การอทุ ิศตนของ บุคลากร ส่งผลใหง้ านประสบผลสําเร็จไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพ 4. เมื่อความสําเร็จสูเ่ ป้าหมายความภาคภูมใิ จก็คือการทไ่ี ด้ทําหนา้ ที่ที่รบั ผิดชอบอย่าง สมบูรณส์ ามารถพฒั นางานไดต้ ามเปา้ หมายและการนาํ องคก์ รสกู่ ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง กวา้ งขวางเปน็ ท่ยี อมรบั ของบุคลากรในหน่วยงาน สถานศึกษาในสงั กดั และหน่วยงานภายนอก 7. การเผยแพร่ (มีรอ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพรม่ ีการนําไปใช้ ผลงานไดร้ บั การยอมรับ) ตวั อยา่ ง การเผยแพร่ 1. เผยแพร่ผลงานผ่านเว็บไซต์สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลําพูน http://lpn.nfe.go.th/lpn/ 2. เผยแพร่ผลงานใหก้ บั กศน.อาํ เภอ นาํ ไปใช้ ไดร้ บั การยอมรับ การศกึ ษาดขู องคณะบุคลากรจากสํานกั งาน กศน.จังหวัดอา่ งทอง นครสวรรค์ กาํ แพงเพชร แมฮ่ อ่ งสอน สโุ ขทัย แพร่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook