Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปผลกลุ่มสนใจปี 64

รายงานสรุปผลกลุ่มสนใจปี 64

Published by kukkai27112519, 2021-06-03 07:45:53

Description: รายงานสรุปผลกลุ่มสนใจปี 64
นางสาวขนิษฐา ศรีลูกหว้า
กศน.ตำบลบ้านโพธิ์
อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

รายงานสรปุ ผล การจดั กจิ กรรมโครงการ ศนู ยฝ์ ึ กอาชพี ชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ ไมเ่ กนิ 30 ชวั่ โมง) โดย นางสาวขนษิ ฐา ศรีลกู หวา้ ครู กศน.ตาํ บลบา้ นโพธิ์ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเสนา สาํ นกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

คาํ นํา กศน.ตําบลบา นโพธ์ิ ไดร ว มกับคณะกรรมการ กศน.ตําบลบานโพธิ์ และเครือขายจัดทําแผนปฏิบัติการตามความ ตองการของประชานตําบลบานโพธ์ิ ประจําปงบประมาณ 2564 ฉบับนี้ขั้น ซ่ึงถือเปนแผนปฎิบัติการของ กศน.ตําบล บานโพธ์ิ เพ่ือใชเปนกรอบการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหบรรลุผลตามนโยบายและ เปาหมายท่ีกําหนดไวในปงบประมาณ 2564 น้ี กระทรวงศึกษาธิการกําหนดนโยบายและจุดเนนใหคนไทยไดรับ การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน เพื่อใหเกิดสังคมแหง การเรียนรู และการมีอาชีพอยางย่ังยนื เพือ่ สง เสรมิ ใหก ลมุ เปาหมายมคี ณุ ภาพมีงานทํา พัฒนาสมรรถนะของประชาชนและชุมชนใหสามารถสรางสรรค และแขงขันดานอาชีพไดอยางย่ังยืน มีสวนรวมของภาคีเครือขายท้ังในและตางประเทศในการดําเนินการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาเพื่อการมีงานทํา พัฒนาและสงเสริมการ นําวิทยาศาสตร เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชใหเกิดประโยชน เกิด ประสิทธิภาพตอการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําพัฒนาบุคลากรและระบบการบริหาร จัดการใหส ามารถดาํ เนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของประชาชนไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ กศน.ตําบลบานโพธิ์ ซึ่งเปนหนวยปฏิบัติการตามนโยบาย จึงไดจัดทําโครงการสอดแทรกในการจัดกิจกรรมทุก กิจกรรม รวมทั้งดาํ เนนิ การตามนโยบายอื่น ๆ เพ่ือใหประชาชนไดรับการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตอยางตอเน่ืองและ ตรงความตองการของชุมชน โดยยึดหลักปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และในการน้ีไดจัดโครงการศูนยฝกอาชีพ ชุมชน (กลุมสนใจไมเกิน 30 ช่ัวโมง) ข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความตองการของประชาชนตําบลบานโพธิ์ โดยไดจัดกลุม สนใจดว ยกัน 3 เรอ่ื ง คือ 1. กลมุ น้ําดื่มสมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ 2. กลุมหมี่กรอบโบราณ 3. กลุมวุนแฟนซี และเพ่ือเปน การเสริมสรา งรายไดใ หกับประชาชน นางสาวขนษิ ฐา ศรีลูกหวา ครู กศน.ตาํ บลบานโพธิ์

วิเคราะหสภาพปญ หาในชุมชน กศน.ตําบลบานโพธิ์ ๑. ขาดทุนการศึกษา ๒. เยาวชนขาดจติ สาํ นกึ รกั ในศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวนั สาํ คัญตา ง ๆ ๓. ขาดการมีสวนรว มในการทาํ กิจกรรมในหมบู าน ๔. เยาวชนวยั เรยี น เรียนไมจบการศึกษาภาคบังคับ ๕. สถานศกึ ษาในพนื้ ทมี่ ีไมเพยี งพอ ตองไปศกึ ษาในพืน้ ท่ใี กลเคียง ๖. ประชาชนสวนใหญย ังขาดความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ ๗. วฒั นธรรมการแตง กายไมส ภุ าพของวัยรนุ ๘. การมเี พศสัมพนั ธกอ นวยั อนั ควร ๙. ประชาชนขาดความรูและทักษะในการประกอบอาชีพเสรมิ ๑๐.เยาวชนขาดคณุ ธรรมจริยธรรม ๑๑.ประชาชนไมใหความสาํ คัญทางการศึกษาและศาสนาเทาท่ีควร ๑๒.ประชาชนไมสงเสรมิ อนรุ กั ษ และดํารงไวซ ง่ึ ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ๑๓.ประชาชนขาดความรูและทักษะดานเทคโนโลยี ๑๔.ประชาชนขาดจิตสํานกึ ดานสิ่งแวดลอ ม ๑๕.ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ ในการจัดทาํ บัญชี รายรับ – รายจาย ครวั เรือน การคิดเปน กําไร – ขาดทนุ ๑๖.ประชาชนขาดทักษะชวี ติ ในการออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สุขภาพ ๑๗.ประชาชนมคี วามตองการอยากใหสงเสริมอาชพี ในชมุ ชน ขอมูลจากผูเขารวมวิเคราะหสภาพปญหาและความตองการของชมุ ชน นายสุชาติ การลึกสม นายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบลบานโพธิ์ ประธานกรรมการ กศน.ตาํ บล นายพิสิฐฎ สมัยมาก นางบุญธรรม คลายวง กาํ นนั ตําบลบานโพธ์ิ ประธานกรรมการ ศส.ปชต.บานโพธ์ิ นายกฤษ เทพชยตุ มิ ันถ นายฉลอง สขุ พรอม สมาชกิ อบต. อาสาสมคั ร กศน. นางศศิวิล เกดิ ทรัพย นางสาวขนิษฐา ศรลี ูกหวา นักศึกษา ประธานองคกร นศ. กศน.ตําบลบานโพธ์ิ นางบุญรอด แสงสวา ง ประชาชน ผใู หญบ าน ประชาชน ประธานบทบาทสตรหี มู ๗ ครู กศน.ตาํ บล ผอ. กศน.อําเภอเสนา

บทที่ 2 ยทุ ธศาสตรแ ละจุดเนน การดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปงบประมาณ 2564

บทที่ 3 พนั ธกิจและเปา หมายของ กศน ตาํ บลบา นโพธิ์ ------------------------------------------------------ กศน.ตาํ บลบานโพธิ์ เปนหนว ยงานในสังกดั กศน. อาํ เภอเสนา มีฐานะเปนหนว ยจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือสง เสริมการเรียนรตู ลอดชวี ิตของประชาชนและสรางสังคมแหง การเรียนรูในชมุ ชน กศน. ตําบลบา นโพธิ์ มภี ารกจิ ที่สาํ คญั ดังนี้ ๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ๑) สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตั้งแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โดยดาเนนิ การ ใหผูเ รยี นไดรับการสนับสนนุ คาจดั ซ้อื หนงั สอื เรยี น คา จัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียน และคา จัดการเรียน การสอนอยา งทว่ั ถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิม่ โอกาสในการเขา ถึงบริการทางการศกึ ษาที่มคี ุณภาพโดยไมเสียคา ใชจาย ๒) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานใหกบั กลุมเปา หมายผูดอย พลาด และขาดโอกาส ทางการศกึ ษา ทง้ั ระบบการใหบ รกิ าร ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมนิ ผลการเรียน ผานการเรยี น แบบเรียนรดู ว ยตนเอง การพบกลุม การเรยี นแบบชั้นเรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล ๓) จดั ใหม กี ารประเมินเพอ่ื เทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรแู ละประสบการณ ทีม่ คี วามโปรง ใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามทก่ี าํ หนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของกลุมเปา หมายไดอยา งมีประสิทธิภาพ ๔) จัดใหมกี ิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นทีม่ คี ุณภาพทีผ่ เู รียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่อื เปนสวนหนงึ่ ของการจบหลกั สูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สรา งความสามัคคี กิจกรรมเกยี่ วกับ การปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ การบาเพญ็ สาธารณประโยชนอ ยางตอเนื่อง การสงเสรมิ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนมุ พรอ มท้ังเปดโอกาสใหผ ูเรยี นนากจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชนอืน่ ๆ นอกหลักสูตร มาใชเ พ่ิม ช่ัวโมงกิจกรรมใหผ เู รียนจบตามหลักสูตรได ๑.๒ การสง เสริมการรหู นงั สือ ๑) พัฒนาระบบฐานขอมลู ผูไมรหู นังสือ ใหมีความครบถวน ถกู ตอง ทันสมัยและเปนระบบเดยี วกนั ทงั้ สวนกลางและสว นภมู ิภาค ๒) พฒั นาหลกั สูตร ส่ือ แบบเรยี น เครื่องมือวดั ผลและเคร่ืองมอื การดาเนนิ งานการสง เสริม การรูหนังสือที่สอดคลองกับสภาพแตละกลมุ เปา หมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคเี ครอื ขายที่รวมจดั การศกึ ษา ใหม คี วามรู ความสามารถ และทักษะ การจดั กระบวนการเรยี นรูใหกบั ผูไมร ูหนงั สืออยางมีประสิทธภิ าพ และอาจจัดใหมีอาสาสมคั รสง เสรมิ การรู หนงั สอื ในพืน้ ทีท่ ่ีมีความตองการจาเปน เปน พิเศษ ๔) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหสถานศึกษาจดั กิจกรรมสงเสรมิ การรหู นังสอื การคงสภาพการรูหนงั สือ การพัฒนาทกั ษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพือ่ เปนเครอื่ งมอื ในการศึกษาและเรียนรูอยา งตอเนื่องตลอดชวี ติ ของ ประชาชน

๑.๓ การศึกษาตอเนอื่ ง ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพือ่ การมีงานทาอยา งยัง่ ยืน โดยใหค วามสําคญั กบั การจัดการศึกษาอาชีพ เพอ่ื การมีงานทาในกลมุ อาชพี เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทาง หรอื การบริการ รวมถงึ การเนนอาชีพชางพืน้ ฐาน ทส่ี อดคลองกบั ศกั ยภาพของผเู รยี น ความตอ งการและ ภารกิจตอเน่ืองศักยภาพของแตล ะพื้นท่ี ตลอดจนสรา งความเขมแข็งใหกบั ศูนยฝกอาชีพชมุ ชน โดยจดั ใหมหี นง่ึ อาชีพเดน ตอหน่ึงศนู ยฝกอาชีพ รวมทง้ั ใหมกี ารกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทาอยา งเปน ระบบและตอเน่ือง ๒) จดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู งู อายุ ที่สอดคลองกับความตองการจาเปนของแตล ะบุคคล และมุงเนนใหทุกกลมุ เปา หมายมที ักษะการดารงชวี ติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพาตนเองได มคี วามรูความสามารถในการบริหารจัดการชวี ิตของตนเอง ใหอยูในสังคมไดอยา งมคี วามสขุ สามารถเผชิญสถานการณตา ง ๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในชวี ติ ประจาวนั ไดอยา งมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสาหรบั การปรับตัวใหท นั ตอการเปลยี่ นแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยี สมยั ใหมในอนาคต โดยจดั กิจกรรมทีม่ เี นื้อหาสาํ คัญตา งๆ เชน สขุ ภาพกายและจติ การปองกนั ภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและคานิยมทพ่ี ึงประสงค ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยสนิ ผานการศึกษารูปแบบ ตา ง ๆ อาทิ คา ยพัฒนาทักษะชวี ิต การจดั ตั้งชมรม/ชมุ นุม การสงเสริมความสามารถพิเศษตา ง ๆ ๓) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยใชหลักสตู รและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบบูรณาการในรปู แบบของการฝกอบรม การประชมุ สัมมนา การจดั เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรู การจดั กิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอนื่ ๆ ทเี่ หมาะสมกับกลุมเปา หมาย และบริบทของชมุ ชน แตล ะพน้ื ที่ เคารพความคดิ ของผูอน่ื ยอมรับความแตกตา งและหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ รวมทงั้ สังคมพหวุ ฒั นธรรม โดยจัดกระบวนการใหบ ุคคลรวมกลมุ เพือ่ แลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกัน สรา งกระบวนการจติ สาธารณะ การสรางจิตสานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสทิ ธิ และรบั ผดิ ชอบตอ หนา ท่ีความเปน พลเมืองดี การสงเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชนในชุมชน การบรหิ ารจดั การนา การรับมือกับสาธารณภัย การอนรุ ักษพลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ชวยเหลือซง่ึ กนั และกนั ในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยางยงั่ ยืน ๔) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ในรูปแบบตา งๆ ใหกับประชาชน เพอื่ เสรมิ สรางภมู คิ ุมกัน สามารถยนื หยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการบริหาร จัดการความเสยี่ งอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูความสมดุลและย่ังยนื ๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศัย ๑) สงเสริมใหม ีการพฒั นาแหลงการเรียนรใู นระดับตาํ บล เพื่อการถา ยทอดองคความรู และจัดกิจกรรมเพื่อ เผยแพรอ งคความรูในชุมชนไดอยางทวั่ ถึง ๒) จดั กิจกรรมสง เสรมิ การเรียนรูเ พอ่ื ปลูกฝง นิสัยรกั การอาน และพัฒนาความสามารถในการอา น และศักยภาพการเรียนรูของประชาชนทกุ กลุมเปา หมาย ๓) สงเสรมิ ใหมกี ารสรา งบรรยากาศ และสิง่ แวดลอมทเ่ี อื้อตอการอา นใหเ กดิ ข้ึนในสงั คมไทย โดยสนับสนุนการพฒั นาแหลงการเรยี นรใู หเกดิ ข้นึ อยางกวางขวางและทั่วถงึ เชน พฒั นาหอ งสมุดประชาชน ทุกแหงใหเ ปนแหลงเรียนรตู ลอดชวี ิตของชุมชน สงเสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมัครสง เสรมิ การอาน การสรางเครอื ขาย สง เสริมการอาน จัดหนว ยบริการเคล่ือนทพี่ รอมอุปกรณเพ่ือจดั กจิ กรรมสงเสริมการอา นและการเรียนรูท่ีหลากหลาย

ใหบ ริการกบั ประชาชนในพ้ืนที่ตางๆ อยางทั่วถึง สมาเสมอ รวมทงั้ เสริมสรา งความพรอ มในดา นสือ่ อปุ กรณเพื่อสนับสนุน การอาน และการจดั กจิ กรรมเพอื่ สง เสริมการอานอยางหลากหลาย ๔) จดั สรา งและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเ พื่อการศึกษา ใหเ ปนแหลง เรยี นรูวทิ ยาศาสตรต ลอดชวี ิต ของประชาชน และเปน แหลง ทองเที่ยวประจาทองถนิ่ โดยจัดทาและพัฒนานทิ รรศการ สื่อและกจิ กรรม การศึกษาท่ีเนน การเสริมสรางความรูและสรา งแรงบนั ดาลใจ สอดแทรกวธิ กี ารคิดและปลูกฝง เจตคติ ทางวทิ ยาศาสตร ผานการฝกทกั ษะกระบวนการที่บูรณาการความรดู า นวทิ ยาศาสตร ควบคูก ับเทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร และคณติ ศาสตร รวมทัง้ สอดคลองกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บรบิ ทของของชุมชนและ ประเทศ รวมท้ังการเปลย่ี นแปลงระดบั ภมู ิภาคและระดบั โลก เพ่อื ใหป ระชาชนมีความรูแ ละความสามารถในการคดิ เชงิ วเิ คราะห มีทักษะทจ่ี าเปน ในโลกศตวรรษที่ ๒๑ มีความสามารถในการปรบั ตวั รองรบั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงใน อนาคตไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และสามารถนาความรแู ละทักษะไปประยกุ ตใชในการดําเนนิ ชวี ิต การพัฒนาอาชีพ การ รกั ษาสิ่งแวดลอ ม การบรรเทาและปองกันภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ ๑.๕ พฒั นา กศน. ตําบล สู “กศน.ตําบล 5 ดี พรีเมยี่ ม” ๑) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรทีเ่ กีย่ วของกบั การจดั กิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู : Good Teacher ใหเปนตวั กลางในการเชอ่ื มโยงความรูกบั ผรู ับบริการ มีความเปน “ครูมอื อาชีพ” มีจิตบริการ มคี วาม รอบรูและทันตอ การเปล่ียนแปลงของสังคม เปนผูจัดกจิ กรรมการเรียนรแู ละบริหารจดั การความรูท่ีดี รวมท้ัง เปนผูปฏบิ ัตงิ านอยา งมีความสุข ๒) พัฒนา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเออื้ ตอการเรยี นรอู ยา งตอเน่ือง : Good Place Best Check-In มีความพรอมในการใหบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู เปนแหลงขอมูลสาธารณะที่งาย ตอ การเขา ถงึ และสะดวกตอ การเรียนรตู ลอดชีวิตอยางสรางสรรค มีสิ่งอานวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจและมีความ ปลอดภยั สาหรบั ผรู ับบรกิ าร ๓) สง เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูภายใน กศน.ตําบล : Good Activities ใหมคี วามหลากหลาย นาสนใจ ตอบสนองความตอ งการของชุมชน เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพการเรียนรขู องประชาชน รวมทง้ั เปด โอกาส ใหชมุ ชนเขา มาจดั กจิ กรรมเพ่อื เชื่อมโยงความสมั พนั ธของคนในชุมชน ๔) เสรมิ สรางความรวมมือกบั ภาคีเครอื ขาย : Good Partnership ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน และ องคก รปกครองสว นทองถิน่ รวมท้ังสง เสริมและสนบั สนนุ การมีสว นรวมของชุมชน เพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกิดความ รวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 5) การพัฒนานวัตกรรมท่ีเปนประโยชนแ ละสามารถนําไปใชไ ดจรงิ (Good innovation) ๑.๖ ประสานความรว มมือหนวยงาน องคกร หรอื ภาคสวนตางๆ ทม่ี ีแหลง เรียนรูอ ่ืนๆ เชน พิพธิ ภัณฑศ ูนยเ รยี นรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เพื่อสงเสรมิ การจดั การศึกษาตามอัธยาศัยใหมรี ูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน ๒. ดา นหลกั สูตร สอ่ื รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมนิ ผล งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา ๒.๑ สงเสรมิ การพัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรูและกิจกรรมเพ่ือสง เสรมิ

การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่หลากหลาย ทนั สมยั รวมทงั้ หลกั สูตรทองถน่ิ ทส่ี อดคลองกบั สภาพบรบิ ทของพืน้ ท่ี และความตอ งการของกลมุ เปา หมายและชุมชน ๒.๒ สงเสรมิ การพัฒนาสื่อแบบเรียน สอ่ื อิเล็กทรอนิกสและสอื่ อื่นๆ ทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรูของผูเรยี น กลุมเปา หมายทั่วไปและกลุมเปาหมายพเิ ศษ ๒.๓ พฒั นารปู แบบการจดั การศกึ ษาทางไกลใหมคี วามทันสมัยดวยระบบหอ งเรียนและการควบคมุ การสอบออนไลน ๒.๔ พฒั นาระบบการประเมินเพ่ือเทยี บระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรูแ ละประสบการณ ใหมคี ณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปา หมายไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สูตร ในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานใหไดม าตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส (e-Exam) มาใชอ ยางมีประสทิ ธิภาพ ๒.๖ สง เสรมิ และสนบั สนุนการศกึ ษาวจิ ัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวัด และประเมินผล และเผยแพรร ูปแบบการจดั สง เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เพื่อใหมีการนาไปสกู ารปฏิบตั อิ ยา งกวา งขวางและมีการพฒั นาใหเ หมาะสมกับบริบทอยางตอเนือ่ ง ๒.๗ พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาใหไ ดม าตรฐาน เพื่อพรอมรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนกั ถึงความสาํ คัญของระบบการประกัน คณุ ภาพ และสามารถดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอ ยางตอเน่ืองโดยใชการประเมนิ ภายในดว ยตนเอง และจัดใหมรี ะบบสถานศกึ ษาพ่ีเลี้ยงเขา ไปสนบั สนนุ อยา งใกลช ดิ สาหรับสถานศกึ ษาทยี่ ังไมไดเ ขารับ การประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหไดคณุ ภาพตามมาตรฐานที่กําหนด ๓. ดา นเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ๓.๑ ผลติ และพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพ่อื การศกึ ษาใหเชื่อมโยงและตอบสนองตอ การจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาส ทางการศกึ ษาสาหรบั กลุมเปาหมายตา งๆ ใหมที างเลือกในการเรยี นรทู ี่หลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพฒั นา ตนเองใหรูเทาทันสือ่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การส่ือสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพอ่ื การมงี านทา รายการติวเขมเติมเตม็ ความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทศั นเพอื่ การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเน็ต ๓.๒ พฒั นาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผานระบบ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล และชอ งทางออนไลนต างๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อนื่ ๆ เพื่อสงเสริม ใหครู กศน. นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใ นการสรางกระบวนการเรียนรดู ว ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พฒั นาสถานวี ทิ ยศุ กึ ษาและสถานีโทรทศั นเพ่อื การศึกษา เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศใหก ลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรทู ม่ี ีคณุ ภาพไดอยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยายเครือขายการรับฟง ใหสามารถรับฟงไดทุกท่ี ทกุ เวลา ครอบคลมุ พ้ืนที่ทวั่ ประเทศ และเพิม่ ชองทาง ใหส ามารถรบั ชมรายการโทรทศั นไ ดท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอรเ น็ต พรอมทีจ่ ะรองรบั การพฒั นาเปนสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนเพ่ือการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาใหไ ดหลายชองทางทง้ั ทางอินเทอรเน็ต และรปู แบบอ่ืน ๆ เชน Application บนโทรศัพทเคลื่อนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน ตน

เพอ่ื ใหกลมุ เปา หมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไดต ามความตองการ ๓.๕ สารวจ วจิ ัย ติดตามประเมินผลดานการใชส่ือเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาอยางตอเน่ือง และนาผล มาใชใ นการพฒั นางานใหมคี วามถกู ตอง ทันสมัยและสามารถสง เสรมิ การศึกษาและการเรียนรตู ลอดชีวิต ของประชาชนไดอยางแทจ ริง ๔. ดา นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอนั เก่ยี วเนื่องจากราชวงศ ๔.๑ สงเสรมิ และสนบั สนนุ ๒. ดานหลกั สตู ร สอื่ รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล งานบริการทาง วิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา ๒.๑ สงเสรมิ การพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรูและกจิ กรรมเพ่ือสง เสริม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีหลากหลาย ทนั สมัย รวมทั้งหลกั สตู รทองถ่ินท่สี อดคลองกับ สภาพบรบิ ทของพื้นที่ และความตอ งการของกลุม เปา หมายและชมุ ชน ๒.๒ สง เสริมการพัฒนาส่อื แบบเรียน สอื่ อเิ ล็กทรอนิกสและสือ่ อ่ืนๆ ทเี่ อ้ือตอ การเรยี นรขู องผูเรยี น กลมุ เปา หมายท่ัวไปและกลุม เปาหมายพิเศษ ๒.๓ พัฒนารปู แบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัยดวยระบบหอ งเรยี นและการควบคุม การสอบออนไลน ๒.๔ พฒั นาระบบการประเมินเพื่อเทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรแู ละประสบการณ ใหม ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุม เปา หมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ๒.๕ พฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานใหไ ดม าตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอ ยางมีประสทิ ธิภาพ ๒.๖ สงเสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษาวจิ ยั พัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวัด และประเมนิ ผล และเผยแพรร ูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย เพ่ือใหม ีการนาไปสูการปฏิบตั อิ ยางกวา งขวางและมกี ารพฒั นาใหเ หมาะสมกับบริบทอยางตอเน่อื ง ๒.๗ พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ ดมาตรฐาน เพ่อื พรอมรับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาํ คัญของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดาเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอยา งตอ เนื่องโดยใชก ารประเมนิ ภายในดวยตนเอง และจัดใหมรี ะบบสถานศึกษาพีเ่ ลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลช ดิ สาหรับสถานศึกษาทีย่ ังไมได

1 จัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก ับประชาชนกลุมเปา หมาย ในชมุ ชน อยางนอยปล ะ 560 คน โดยจาํ แนกเปน รายกจิ กรรม ดงั น้ี 1.1 การศึกษานอกระบบ 260 คน ประกอบดว ย 1.1.1 การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน จํานวน 60 คน 1.1.2 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จํานวน 20 คน 1.1.3 การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต จาํ นวน 20 คน 1.4.4 การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน จาํ นวน 60 คน 1.1.5 การจดั กระบวนการเรียนรตู ามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาํ นวน 100 คน 1.2 การศึกษาตามอธั ยาศยั จํานวน 300 คน 2 สราง และขยายภาคีเครือขา ย เพ่ือการมีสว นรวมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน ชุมชน 3. สงเสรมิ และสนับสนุน การจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ในชุมชนของภาคเี ครือขา ย ทงั้ ในแงข องความเขมแข็งและความตอ เนื่องในการมีสว นรว ม และศักยภาพในการจดั กจิ กรรม 4. จัดทาํ ระบบขอมูล สถติ ิ และสารสนเทศ เก่ยี วกับประชากรกลมุ เปา หมายและผลการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพ่อื ใชใ นการวางแผนพัฒนาและแผนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ทง้ั ในระดับชุมชนหรือระดบั จลุ ภาค ระดบั อาํ เภอ ระดบั จังหวัด และภาพรวมระดบั ประเทศของสํานกั งาน กศน. 5. จดั ทําแผนงานโครงการ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาํ ปง บประมาณ เพ่ือจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหกับประชาชนกลมุ เปาหมาย และชมุ ชน และพัฒนาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามกรอบจุดเนน การดาํ เนินงานของ สํานักงาน กศน. สํานกั งาน กศน. จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา และ กศน. อําเภอเสนา เพ่ือการสนับสนุนงบประมาณ จาก กศน. อําเภอเสนา โดยในกรณีของการ จัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ใหยึดคา ใชจายรายหัวตามท่ี มตคิ ณะรฐั มนตรีกําหนด คูณดว ยจาํ นวนนักศกึ ษา 60 คน สาํ หรบั กจิ กรรมอ่นื ๆ น้นั จัดทําแผนงานโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ ใหด ําเนนิ การตามทไี่ ดร ับมอบหมายจาก กศน. อําเภอเสนา 6. ประสานและเช่ือมโยงการดําเนนิ งาน การจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตําบล และภาคีเครอื ขา ยในตาํ บลบา นโพธิ์ โดยมกี ารประสานแผนการดําเนนิ งานภายในตําบลบา นโพธ์แิ ละกับ กศน. อําเภอเสนา ตามกรอบจดุ เนนการดําเนินงาน บนพนื้ ฐานของความเปน เอกภาพดา นนโยบายและความหลากหลายในการ ปฏบิ ตั ิ

7. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในความรับผิดชอบ ตามระบบการ ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เพอ่ื รับรองการประกันคณุ ภาพภายนอกของ กศน. อําเภอเสนา 8. รายงานผลการดาํ เนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตอ กศน.อาํ เภอเสนา ตามแผนหรือ ขอ ตกลงทกี่ ําหนดไว 9. ปฏบิ ัตภิ ารกิจอื่นๆ ท่ไี ดรบั มอบหมาย จาก กศน. อําเภอเสนา สํานักงาน กศน. จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา หรือ สํานกั งาน กศน. และตามท่ีกฎหมาย กาํ หนด

บทท่ี 4 แผนงานและโครงการ แผนการเรียนรู และหลกั สูตร การศึกษาตอเน่ือง (ทักษะอาชพี ) กลมุ สนใจ ไมเกิน 30 ช่วั โมง 1. กลมุ นํา้ ดม่ื สมุนไพรเพ่ือสุขภาพ วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ 2564 ณ ศนู ยฝก อาชพี ชมุ ชนตาํ บล บานโพธิ์ หมู 1 ต.บา นโพธิ์ อ.เสนา จ. อยธุ ยา 2. กลมุ หมี่กรอบโบราณ วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ 2564 ณ ศนู ยฝก อาชพี ชุมชนตําบลบา นโพธ์ิ หมู 1 ต.บานโพธิ์ อ.เสนา จ. อยุธยา 3. กลุมหมี่กรอบโบราณ วันท่ี 27 กุมภาพนั ธ 2564 ณ ศูนยฝกอาชพี หมู 3 ต.บานโพธ์ิ อ.เสนา จ. อยธุ ยา 4. กลุม วุนแฟนซี วนั ท่ี 12 มนี าคม 2564 ณ ศนู ยถายทอดเทคโนโลยที างการเกษตรตาํ บลบานโพธิ์ หมู 12 ต.บานโพธ์ิ อ.เสนา จ. อยธุ ยา 5. กลุมวนุ แฟนซี วนั ท่ี 13 มีนาคม 2564 ณ ศนู ยฝกอาชพี ชุมชนตาํ บลบานโพธ์ิ หมู 1 ต.บา น โพธ์ิ อ.เสนา จ. อยธุ ยา

แบบ กศ.ตน.15 ชอ่ื หลักสูตร การทําน้ําดื่มสมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ จํานวน 5 ชั่วโมง กลมุ อาชพี อตุ สาหกรรมหรือหัตถกรรม ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเสนา ความเปน มา ตามยุทธศาสตรชาติพ.ศ.2561-2580 ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ประเด็นท่ี 2 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต มุงเนนการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในชวงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะแรงงานสอดคลองกับความตองการของตลาด และสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการ ขับเคลื่อนงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล ขอที่ 9 สงเสริมการมีสวนรวมกับทุก ภาคีเครือขายและภาคเอกชนในการฝกอาชีพและสงเสริมการตลาด เพ่ือยกระดับผลิตภัณฑและสินคา กศน. และขยาย ชอ งทางการจาํ หนาย ปจจบุ ันนํ้าด่มื สมุนไพรเพื่อสุขภาพเปนท่ีนิยมของประชาชนที่รักสุขภาพ เนื่องจากในปจจุบันประชาชนหันมาใส ใจรักสุขภาพกันเพิ่มมากขึ้น น้ําด่ืมสมุนไพรเพ่ือสุขภาพจึงไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เพราะน้ําดื่มสมุนไพรเพ่ือ สุขภาพสามารถทําไดงายในครัวเรือนไมมีข้ันตอนยุงยาก และยังสามารถทําเปนเคร่ืองด่ืมเพื่อเปนทานคูกับอาหารวาง ระหวา งวันและเพ่ือดับกระหาย การทําน้ําด่ืมสมุนไพรเพ่ือสุขภาพสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง เน่ืองจากวัตถุดิบท่ีนํามาใช ในการทาํ เครื่องดืม่ เพ่อื สุขภาพสามารถหาไดง าย ในทองถิน่ และมีตนทนุ ในการผลิตนอย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา ไดตระหนักถึงความสําคัญ ของการ ดําเนินงานตามนโยบายดานการจัดการศึกษาตอเน่ืองของสํานักงาน กศน.จึงไดจัดทําหลักสูตรการทํานํ้าดื่มสมุนไพรเพื่อ สุขภาพ เพื่อเพิ่มศกั ยภาพของกลมุ เปาหมายใหมีความรู ทักษะ และมคี วามพรอมในการประกอบอาชพี หลักการของหลักสูตร 1. เปนหลักสตู รทเ่ี นนการจดั การศกึ ษาที่บูรณาการเน้ือหาสาระควบคูไปกับการฝกปฏิบัติจริงผูเรียนสามารถหา ความรแู ละทกั ษะไปใชในชีวิตประจาํ วนั 2. เปนหลกั สตู รทเ่ี ปน การดําเนนิ งานรว มกบั ภาคีเครือขา ย และภมู ปิ ญญาทองถ่นิ จดุ มงุ หมาย 1. เพ่ือใหผเู รียนมคี วามรูความเขาใจ การทํานํ้าดื่มสมนุ ไพรเพื่อสุขภาพ 2. เพ่อื ใหผเู รียนสามารถนําความรูไ ปปรับใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ได เปา หมาย ประชาชนทั่วไปอําเภอเสนา ระยะเวลา จาํ นวน 5 ช่ัวโมง ทฤษฎี จํานวน 1 ช่วั โมง ปฏบิ ตั ิ จํานวน 4 ช่ัวโมง

โครงสรางหลกั สตู ร ที่ เร่อื ง จุดประสงคก าร เนื้อหาวชิ า การจดั จํานวนชัว่ โมง เรียนรู กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรียนรู 1 ความรเู บือ้ งตนใน 1. เพ่ือใหประชาชน - คุณคาและประโยชนของน้ํา 1. วิ ท ย า ก ร ใ ห 20 - การทาํ นํ้าด่ืม รูจักวสั ดทุ ี่มใี น ด่ืมสมนุ ไพรเพื่อสุขภาพ ความรูเร่ืองการทํา นาที ทองถน่ิ และนํามาใช นํ้าด่ืมสมุนไพรเพื่อ สมุนไพรเพ่ือ ประโยชนได สขุ ภาพ สขุ ภาพ 2. เพ่ือใหผูเรยี น 1. ผูเ รยี นและ สามารถบอก วทิ ยากรรว ม ประโยชนของวสั ดุ สนทนาแลกเปลี่ยน ในทองถิน่ ทีน่ าํ มา ขอมูลความคดิ เหน็ ทาํ น้ําดืม่ สมนุ ไพร เพอื่ สุขภาพ 2 1.วัสดอุ ปุ กรณ 1.เพอ่ื ใหผ เู รียน 1. วัสดุอุปกรณท่ีใชในการทํา 1. วิทยากรอธิบาย 20 ในการทําน้ําดื่ม สามารถเลอื กวัสดุ น้ําดม่ื สมุนไพรเพ่อื สุขภาพ และสาธิตเกี่ยวกับ นาที ส มุ น ไ พ ร เ พ่ื อ อปุ กรณในการทาํ 1.1 วสั ดุอปุ กรณทใ่ี ชใ นการ วัสดุอุปกรณท่ีใช สุขภาพ นํ้าดมื่ สมุนไพรเพ่อื ทํานา้ํ ด่ืมสมุนไพรเพ่ือสขุ ภาพ ก า ร ทํ า น้ํ า ดื่ ม 2. การเตรียมวัสดุ สุขภาพ 1.2 งบประมาณในการจัดซื้อ ส มุ น ไ พ ร เ พ่ื อ อุปกรณในการทํา 2. เพื่อใหผูเรียนมี วสั ดุอปุ กรณ สขุ ภาพ นํ้าด่ื มส มุน ไพ ร ความรแู ละทักษะใน 1.3 สถานที่จําหนายวัสดุ 2. ผูเรยี นและ เพอ่ื สุขภาพ ก า ร เ ต รี ย ม วั ส ดุ อปุ กรณ วทิ ยากรรวม อุปกรณสําหรับการ 2.การเตรียมวัสดุอุปกรณท่ีใช สนทนาแลกเปลี่ยน ทําน้ําดื่มสมุนไพร ในการทําน้ําด่ืมสมุนไพรเพ่ือ ขอมลู ความคดิ เหน็ เพือ่ สุขภาพ สุขภาพ 3 ข้ั น ต อ น แ ล ะ 1. ผเู รียนเรยี นรู - การทาํ เคร่ืองด่ืมจากลาํ ไย 1. วิทยากร - 1 วิธีการทําน้ําด่ืม วิธกี ารทําเครื่องดม่ื บรรยายให และ ชั่วโมง ส มุ น ไ พ ร เ พื่ อ จากลาํ ไย สาธติ การทาํ สุขภาพ 2. ผูเรียนสามารถ เครอื่ งดื่มจากลําไย นาํ วสั ดุในทองถิ่นมา 2. ผูเรยี นฝกปฏิบัติ ใ ช ใ น ก า ร ดู แ ล สุขภาพได และทําเคร่ืองดื่ม จากลําไย

ท่ี เรื่อง จุดประสงคก าร เน้ือหาวชิ า การจดั จาํ นวนชว่ั โมง เรยี นรู กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู 1. ผเู รียนเรียนรู - การทําเครอ่ื งดมื่ จากมะตูม 1. วิทยากร - 1 วธิ ีการทําเคร่อื งดม่ื บรรยายให และ - ช่ัวโมง จากมะตูม สาธิตการทาํ 2. ผูเรียนสามารถ เครอ่ื งดื่มจาก 1 นําวัสดุในทองถิ่นมา มะตูม ช่วั โมง ใ ช ใ น ก า ร ดู แ ล 2. ผูเรียนฝกปฏิบัติ สุขภาพได และทําเครื่องดื่ม จากมะตูม 1. ผเู รียนเรียนรู - ก า ร ทํ า เ ค ร่ื อ ง ดื่ ม จ า ก 1. วิทยากร วิธกี ารทาํ เครอ่ื งดม่ื กระเจย๊ี บ บรรยายให และ จากกระเจี๊ยบ สาธิตการทาํ 2. ผูเรียนสามารถ เครื่องด่ืมจาก กระเจยี๊ บ นําวสั ดุในทองถิ่นมา 2. ผูเ รยี นฝก ปฏิบัติ ใ ช ใ น ก า ร ดู แ ล และทําเคร่ืองดื่ม สขุ ภาพได จากกระเจ๊ยี บ 3 . วิ ท ย า ก ร 20 1 บรรยายและสาธิต นาที ชว่ั โมง วิธีการบรรจุและ เกบ็ รักษาเคร่ืองด่ืม เพื่อสุขภาพ - ผูเรียนฝกปฏิบัติ วิธีการบรรจุและ เ ก็ บ รั ก ษ า นํ้ า ดื่ ม ส มุ น ไ พ ร เ พ่ื อ สขุ ภาพ - ค รู ผู ส อ น / วิ ท ย า ก ร วั ด ผ ล ประเมินผล - ส รุ ป ผ ล แ ล ะ รายงานผล

ท่ี เรอื่ ง จุดประสงคก าร เนอ้ื หาวชิ า การจดั จํานวนชว่ั โมง เรียนรู กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู 4 การคาํ นวณ 1.ผเู รยี นสามารถ 4 . ผู เ รี ย น ฝ ก ราคาตนทุน กาํ ไร คํานวณตน ทุน คํ า น ว ณ ต น ทุ น กาํ ไรได กําไร ส่ือการเรียนรู 1. สือ่ เอกสาร 1.1 เอกสารประกอบการเรียนรู 1.2 แผน พับความรู 2. วทิ ยากร การวดั ผลประเมนิ ผล 1. แบบสอบถามความรูค วามเขาใจ 2. สงั เกตการมีสวนรวม และการปฏบิ ตั ใิ นระหวางการเรียนรู 3. ตรวจสอบผลงาน ผลการปฏิบตั ิ เกณฑก ารจบหลกั สตู ร 1. มีเวลาเรยี น ไมน อยกวารอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด 2. มผี ลการประเมนิ ตลอดหลกั สตู ร ไมน อยกวารอยละ 60 ลงช่อื ...........................................ผูเ ขียนหลักสตู ร ลงชอื่ ..........................................ผเู สนอหลักสตู ร (นางสาวแกวตา ไกรพยุง) (นางสาวขนษิ ฐา ศรลี กู หวา) วทิ ยากร ครู กศน.ตําบล ลงชือ่ ...........................................ผูเ หน็ ชอบหลกั สูตร ลงชอ่ื ............................................ผอู นมุ ัตหิ ลกั สตู ร (นางสกาวรัตน คาํ แดง) (นายบุญรอด แสงสวา ง) หวั หนา งานการศกึ ษาตอเนอ่ื ง ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอ กศน.อาํ เภอมหาราช รกั ษาการในตําแหนง ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเสนา

แบบ กศ.ตน.16 บนั ทึกขอ ความ สว นราชการ ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอเสนา ที่ ศธ 0210.4815/ วนั ที่ กมุ ภาพันธ พ.ศ.2564 เรอื่ ง ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเนื่องหลกั สูตรระยะสน้ั หลกั สูตรการทํานา้ํ ดื่มสมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ จาํ นวน 5 ช่วั โมง เรยี น ผอู ํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเสนา ดว ย กศน.ตําบลบานโพธ์ิ มีความประสงค ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเน่ืองรูปแบบกลุมสนใจ หลักสูตร การทําน้ําด่ืมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนตําบลบานโพธ์ิ สถานท่ีจัด ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชน ตําบลบานโพธ์ิ หมู 1 ตําบลบานโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันท่ี 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2564 ตั้งแตเวลา 09.00 – 15.00 น. จํานวน 5 ชั่วโมง มีผูเรียนจําแนกเปน ชาย - คน หญิง 7 คน รวมท้ังหมด 7 คน รายชื่อดังแนบ โดยมี นางสาวแกวตา ไกรพยงุ เปนวทิ ยากรใหค วามรู ในสวนอุปกรณการเรียนการสอนท่ีมีอยูแลว คือ เตาแกส หมอ ทัพพี เปดสอนหลักสูตรการทําน้ําด่ืมสมุนไพร เพ่ือสุขภาพ จํานวน 5 ช่ัวโมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยขอใชเงินงบประมาณป 2564 ประเภทงบรายจายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235052700019 รหสั กิจกรรมหลัก 200021400P2713 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพันบาทถวน) รายละเอยี ดดังแนบ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา 1. อนญุ าตใหเปดสอนหลักสูตรการทาํ นาํ้ ดืม่ สมนุ ไพรเพ่ือสขุ ภาพ จาํ นวน 5 ชั่วโมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชน ตาํ บลบานโพธ์ิ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2564 โดยขอจา ยคาตอบแทนเปน เงิน 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถว น) 2. อนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจางพัสดุ ดังรายละเอียดที่แนบ สําหรับการเปดสอนฯ ภายในวงเงิน 1,000 บาท (หนงึ่ พันบาทถวน) 3. ลงนามในคาํ สั่งแตงต้ังวทิ ยากร (นางสาวขนษิ ฐา ศรีลกู หวา) ( นางสกาวรตั น คําแดง ) ครู กศน.ตําบลบา นโพธ์ิ หัวหนางานการศกึ ษาตอเน่อื ง  อนญุ าต / อนมุ ตั ิ  ลงนามแลว (นายบญุ รอด แสงสวา ง) ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอมหาราช รักษาการในตาํ แหนง ผอู ํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา

แบบ กศ.ตน.1 ใบลงทะเบยี นผูส มัครเรียนหลักสูตรการจัดการศึกษาตอ เน่อื ง ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา โครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน หลักสูตรการทํานํา้ ด่ืมสมนุ ไพรเพ่ือสขุ ภาพ จาํ นวน 5 ชั่วโมง ในวนั ท่ี 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2564 ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตาํ บลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ที่ ช่ือ-สกุล เลขบัตรประชาชน อายุ วฒุ ิ อาชีพ ท่อี ยูปจจบุ นั 1 นางสาํ เนียง สงแสง 3141200415381 การศกึ ษา 2 นางสาวณฐั มน ไตรนาค 3141200416744 55 ป.4 ทาํ นา 3/2 ม. 6 ต.บา นโพธ์ิ 3 นางเฉลิมรัตน สังขน ํา้ มนต 3141200416795 52 ม.3 แมบ าน 24/2 ม.6 ต.บา นโพธ์ิ 4 นางฉลวย แสงทอง 3141200416604 57 ป.4 คาขาย 25/1 ม.6 ต.บา นโพธ์ิ 5 นางอําไพ สงวนทรพั ย 3141200356121 64 ป.4 ทําสวน 23 ม. 6 ต.บานโพธ์ิ 6 นางพเยาว จันทรจ ฬุ า 3141200416663 64 ป.4 ทํานา 26 ม. 6 ต.บา นโพธ์ิ 7 นางวรรณพร ธรี ะชพี 3141200415021 61 ป.4 รบั จาง 23/1 ม. 6 ต.บานโพธ์ิ 54 ป.4 รบั จา ง ๑/๖ ม.6 ต.บา นโพธิ์ ลงชื่อ......................................................................... (นางสาวขนิษฐา ศรลี ูกหวา) ครู กศน.ตําบลบา นโพธิ์

แบบ กศ.ตน.12 แผนการจัดการเรยี นรู วทิ ยากร นางสาวแกวตา ไกรพยงุ หลักสูตร การทํานํ้าด่มื สมนุ ไพรเพื่อสุขภาพ จาํ นวน 5 ช่ัวโมง (เรียนวนั ละ 5 ช่วั โมง จาํ นวน 1 วนั ) ในวนั ที่ 23 เดอื นกุมภาพนั ธ พ.ศ.2564 เวลาเรียน 09.00 - 15.00 น. สถานทจ่ี ัดการเรียน ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธ์ิ อําเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา วัน เดอื น ป เวลา กระบวนการจดั การเรยี นรู หมายเหตุ 23 กมุ ภาพันธ 2564 09.00 - 15.00 น. วทิ ยากรบรรยายใหความรผู ูเรียน เรยี นวันละ 5 ชม. 1. ประโยชนข องนํา้ สมนุ ไพรแตล ะชนดิ ท่สี งผลตอรา งกาย ฝกปฏิบตั ิจรงิ เก่ียวกับเรอื่ ง 2. วัสดุและอุปกรณท่ใี ชใ นการทําน้ําดืม่ สมนุ ไพรเพ่ือ สุขภาพ ไดแ ก - การทําน้ําฝาง - การทาํ นาํ้ อัญชัน - การทาํ น้าํ เกก ฮวย 3. ข้ันตอนและวธิ ที าํ นํ้าด่ืมสมุนไพรเพอื่ สุขภาพ ไดแก - การทําน้าํ ฝาง - การทาํ นา้ํ อัญชัน - การทําน้ําเกกฮวย 4. การคาํ นวณราคาตน ทุน กําไร ลงชอ่ื ……………………………………………………………….วิทยากร (นางสาวแกวตา ไกรพยุง) วันท่ี กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2564

แบบ กศ.ตน.3 คําสง่ั ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ท่ี / 2564 เรอ่ื ง แตง ตง้ั วิทยากรการศกึ ษาตอ เนอ่ื ง ………………………………………….. ดวยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา ตําบลสามกอ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดําเนินการจัดการศึกษาตอเนื่อง  รูปแบบกลุมสนใจ  รูปแบบชั้นเรียน หลักสูตรการทํานํ้าด่ืมสมุนไพรเพ่ือสุขภาพ จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไป ที่สนใจไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน สถานที่จัด ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2564 ตั้งแตเวลา 09.00 - 15.00 น. เรียนวัน ละ 5 ชัว่ โมง จาํ นวนวนั ที่เปดสอน 1 วัน มีผูเรียนเปน ชาย - คน หญิง 7 คน รวมจํานวน 7 คน อาศัยระเบียบสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษาตอเน่ือง พ.ศ.๒๕๕๔ จึง แตง ตัง้ ให นางสาวแกวตา ไกรพยงุ โดยใหวทิ ยากรเบกิ คา ตอบแทนตามเกณฑท ่กี ระทรวงการคลังและสํานักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกาํ หนด ทั้งนี้ ในวนั ที่ 23 เดอื นกุมภาพนั ธ พ.ศ.2564 ถึงวนั ท่ี 23 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2564 ส่งั ณ วันที่ เดอื นกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 (นายบุญรอด แสงสวาง) ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา

แบบ กน.3 ใบสมคั รวิทยากรการจัดการศกึ ษาตอเนื่อง วนั ท่ี 9 เดือนกมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2564 ขาพเจา นางสาวแกว ตา ไกรพยงุ อายุ 48 ป เลขประจําตวั ประชาชน 3 1412 00079 74 8 เกิดวนั ที่ 23 เดอื นสงิ หาคม พ.ศ.2515 สญั ชาตไิ ทย เช้อื ชาติไทย ศาสนาพุทธ ปจจุบนั อยูบานเลขท่ี 52/2 หมู 8 ตาํ บลบา นโพธิ์ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา รหัสไปรษณยี  13110 วุฒกิ ารศกึ ษามัธยมศึกษาตอนปลาย ความสามารถพเิ ศษ ทําอาหารและเคร่ืองด่ืม ปจ จุบันประกอบอาชพี แมคา ขายอาหาร สถานทที่ าํ งาน ตําบลบา นโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา รหัสไปรษณีย 13110 ขอ สมคั รเปนวิทยากรสอนหลักสูตรระยะสนั้ หลกั สตู รการทาํ น้ําดม่ื สมนุ ไพรเพ่ือสุขภาพ ขา พเจา ไดแนบเอกสารรับรองความรูความสามารถและประสบการณ ความเชย่ี วชาญในวชิ าชีพสาขาทีป่ ระสงค จะสมคั รเปนวทิ ยากรเพื่อประกอบการพจิ ารณา หากขาพเจาไดร ับการพิจารณาแตง ตั้งเปนวทิ ยากรหลกั สตู รระยะส้ัน ขาพเจา จะอุทิศเวลาเพื่อการศึกษาของชมุ ชน พรอมทั้งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของทางราชการอยางเครงครัดและใหเ กิด ประสิทธิภาพสงู สุด (ลงช่อื )……………………………………………….. ( นางสาวแกว ตา ไกรพยงุ )

แบบ กศ.ตน.16 บันทึกขอความ สวนราชการ กศน.ตําบลเจาเสด็จ กศน.อําเภอเสนา โทร. 035-201-401 ที่ ศธ 0210.4815 / วนั ท่ี กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 เรอื่ ง ขออนุญาตจัดการศึกษาตอ เน่ืองรปู แบบกลมุ สนใจหลักสตู รการทําหมก่ี รอบโบราณ จํานวน 5 ชัว่ โมง เรยี น ผูอํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ดว ย กศน.ตําบลบานโพธ์มิ คี วามประสงค ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเน่ืองรูปแบบกลุมสนใจ หลักสูตรการ ทาํ หมกี่ รอบโบราณ จาํ นวน 5 ช่ัวโมง ใหก บั ประชาชนตําบลบานโพธ์ิ สถานที่จัด ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธ์ิ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 25 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 ต้ังแตเวลา 0 9 . 0 0 ถึ ง 1 5 . 0 0 น . จํ า น ว น 5 ชั่ ว โ ม ง มี ผู เ รี ย น จํ า แ น ก เ ป น ช า ย - ค น ห ญิ ง 7 คน รวมท้ังหมด 7 คน รายชอื่ ดังแนบ โดยมี นางเพญ็ ศรี ศรลี กู หวา เปนวิทยากรใหค วามรู ในสวนอุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูแลว คือหมอ เตาแก็ส กะมัง กระทะ เปดสอนหลักสูตร การทําหมี่กรอบโบราณ จํานวน 5 ชั่วโมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยขอใชเงินงบประมาณป 2564 ประเภทงบรายจายอ่ืน รหัสงบประมาณ 2000235052700019 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพันบาทถวน) รายละเอียดดงั แนบ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา 1. อนุญาตใหเปด สอนหลกั สตู รการทาํ หมี่กรอบโบราณ จํานวน 5 ชวั่ โมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบล บานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ในวันที่ 25 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 โดยขอจา ยคาตอบแทนเปน เงนิ 1,000 บาท ( หน่ึงพนั บาทถวน ) 2. อนุมตั ิหลกั การจัดซอ้ื จัดจางพสั ดุ ดังรายละเอียดท่ีแนบ สาํ หรบั การเปดสอนฯ ภายในวงเงิน 1,000 บาท ( หนง่ึ พนั บาทถว น ) 3. ลงนามในคําสั่งแตงตงั้ วทิ ยากร ( นางสาวขนิษฐา ศรีลกู หวา ) ( นางสกาวรัตน คาํ แดง ) หัวหนา กศน.ตําบลบา นโพธิ์ หวั หนา งานการศกึ ษาตอเนอ่ื ง  อนุญาต / อนุมตั ิ  ลงนามแลว ( นายบุญรอด แสงสวา ง ) ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผอู ํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา

ศูนยการศึกษาศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอเสนา รายช่ือนกั ศึกษา หลักสตู รการทําหมีก่ รอบโบราณ จาํ นวน 5 ชว่ั โมง ที่ ชอื่ - สกลุ เลขประจาํ ตวั อายุ ความรู อาชพี ที่อยูปจจุบัน ประชาชน 1 นางเฉลยี ว ฤทธิชาติ 3141200356121 64 ป.4 ทาํ นา 26 ม. 12 ต.บา นโพธิ์ 2 นางอนงค อาษา 3141200416281 3 นางพยงค กงพลี 3141200416604 67 ป.4 แมบาน 17 ม.12 ต.บา นโพธิ์ 4 นางอุทัยวรรณ สภุ าวฒุ ิ 3141200416744 5 นางประไพศรี สมัยมาก 3141200415464 72 ป.4 ทาํ สวน 23 ม. 12 ต.บา นโพธ์ิ 6 นางประกอบ กิจปลม้ื 3141200415021 52 ม.3 แมบาน 24/2 ม.12 ต.บานโพธ์ิ 7 นางสงั วียน ฤกษวริ ี 3141200416795 67 ปรญิ ญาตรี ขรก. 8 หมู 12 ต.บานโพธ์ิ บาํ นาญ 54 ป.4 ทาํ นา 1/6 ม.12 ต.บา นโพธิ์ 71 ป.4 ทาํ นา 25/1 ม.12 ต.บานโพธิ์ ลงชือ่ ……………………………..………………….ผขู อจัดวชิ าชพี ( นางสาวขนษิ ฐา ศรีลกู หวา ) ตาํ แหนง ครู กศน.ตาํ บล

แบบ กศ.ตน.15 หลักสตู รอาชีพ อบรมหลักสูตรระยะสัน้ การทาํ หม่ีกรอบโบราณ จํานวน 5 ช่วั โมง กลุม อาชพี อตุ สาหกรรมหรือหัตถกรรม ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเสนา ...................................... ความเปนมา หม่ีกรอบเปนอาหารไทยโบราณมีมาชานานสนั นิษฐานวา ตัง้ แตสมัยรัชการที่ ๕ แหงกรุงรัตนโกสินทร เปนอาหาร วาง หรือเปน อาหารรับประทานรวมเปนกับขาวก็ได นอกจากทํากันรับประทานในครัวเรือนแลวยังนิยมทําถวายพระและ เลี้ยงแขกท่ีมารวมในงานบุญตาง ๆ แตเน่ืองจากการทําหมี่กรอบมีขั้นตอนหลายข้ันตอนท่ีตองอาศัยความชํานาญอยาง มากในการทําระยะหลังจึงหาหม่ีกรอบที่รสชาติอรอยๆรับประทานไดยากข้ึน “เสนหมี่” เปนอาหารประเภทเสนที่คนจีน ใหค วามสําคัญ เพราะคนจีนจะใชเสนหมี่ในการประกอบพิธีการสําคัญในงานมงคลตาง ๆ และยังเช่ือกันวาการใหเสนหม่ี เปน ของขวัญ หรอื ของฝาก จะทาํ ใหผ รู ับรูสกึ ยินดี มีความประทบั ใจ และรสู กึ ไดถึงความปรารถนาดีของผูให เพราะการให เสนหมี่น่ันจะถือไดวาเปนการอวยพร ใหผูรับมีอายุมั่นขวัญยืน เหมือนกับความยาวของเสนหม่ี มีความเจริญงอกงาม ความขาวสะอาดบริสุทธ์ิ ตําบลคลองจิกจํานวนหน่ึงมีความสนใจในการเรียนรูการทําหม่ีกรอบโบราณ เพื่อฝกทําไว รบั ประทานเอง หรือนาํ มาเปน อาชพี เพอ่ื สรางรายไดตอตนเอง หลกั การของหลักสตู ร กศน.อาํ เภอเสนา จัดกิจกรรมอบรมหลกั สูตรระยะสั้น การทาํ หมี่กรอบโบราณ (ศนู ยฝกอาชีพระยะสั้น กลุมสนใจ ไมเกิน 30 ชั่วโมง) เพื่อใหประชาชนในอําเภอเสนา ไดศึกษาเรียนรูวิธีทํา ผูที่เขารับการอบรมสามารถนําไปปฏิบัติได หรอื สามารถทําเปนอาชีพเสริมสรา งรายไดใ หกบั ตนเองและครอบครวั ไดตอ ไป จุดมุงหมาย 1. เพอื่ ใหผ เู ขาอบรมมคี วามรู ความเขาใจ และเกิดทักษะในการทําหม่ีกรอบโบราณ 2. เพอ่ื ใหผ ูเขาอบรมนาํ ความรูไปใชในการประกอบอาชีพและพฒั นาอาชพี สรา งรายไดใ หก บั ตนเองและ ครอบครัว เปาหมาย ประชาชนท่วั ไปอาํ เภอเสนา ระยะเวลา รวม 5 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี จาํ นวน 1 ช่วั โมง ภาคปฏิบัติ จํานวน 4 ชัว่ โมง

โครงสรา งหลกั สูตร ที่ เร่อื ง จุดประสงคก าร เน้อื หา การจัดกระบวนการ จาํ นวนชว่ั โมง เรียนรู เรียนรู ทฤษฏี ปฏบิ ัติ 1 ความรเู บื้องตน 1. เพ่ือใหผ ูเขา 1.ความรูเบอ้ื งตนของ 1.วทิ ยากรอธบิ ายเกยี่ วกบั 30 ของการทาํ หม่ี อบรมทราบถึง การทําหมี่กรอบโบราณ ความรเู บ้ืองตน ของการทํา นาที กรอบโบราณ ความเปน มาและ - ความเปน มาของการ หมี่กรอบโบราณ ประโยชนข องการ ทาํ หมี่กรอบโบราณ - ความเปนมาของการทํา ทาํ หม่ีกรอบ - วัสดุอปุ กรณท่ีใชใ น หมีก่ รอบโบราณ โบราณ การทาํ หม่ีกรอบ - วัสดอุ ปุ กรณที่ใชในการ 2. เพื่อใหผ ูเขา โบราณ ทําหม่กี รอบโบราณ อบรมอธิบายวสั ดุ - เทคนิคและวิธีการทํา - เทคนิคและวธิ กี ารทําหม่ี อปุ กรณทใ่ี ชใน หมก่ี รอบโบราณ กรอบโบราณ การทาํ หม่ีกรอบ โบราณได 2 การทาํ หม่ีกรอบ 2. เพื่อใหผูเรยี น 1. การทําหม่กี รอบ 2.วทิ ยากรอธิบายข้ันตอน 30 4 ชม. โบราณ สามารถทําหม่ี โบราณ ในการทําหม่ีกรอบโบราณ นาที กรอบโบราณได -การเตรียมหม่ี -การเตรียมนํ้ามนั ทอดหมี่ -การเตรยี ม - การเตรยี มสว นผสมตาง สว นประกอบอน่ื ๆ ๆ (ทอดสว น กระเทยี ม - การทอดสวนผสม หอมแดง) - การเตรียมนํ้าสามรส - การเตรยี มสวนผสม - การทําหม่ีกรอบโบราณ ตา ง ๆ ในการทําน้าํ ปรงุ รสหมี่กรอบ ส่ือการเรยี นรู 1. วัสดุ อุปกรณใ นการเรียน การวัดผลประเมนิ ผล 1. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 2. แบบประเมินผลการจัดการศกึ ษาตอเนื่อง

เกณฑก ารจบหลักสตู ร ผเู ขา รับการอบรมตอ งมีเวลาในการเขารวมอบรมไมน อ ยกวา รอ ยละ 85 ของเวลาอบรมท้ังหมด ลงชอ่ื ………………………….....………….…ผเู ขียนหลกั สูตร ( นางเพ็ญศรี ศรีลูกหวา ) วิทยากร ลงชื่อ.................................................ผเู สนอโครงการ (นางสาวขนิษฐา ศรีลูกหวา) ครู กศน.ตาํ บลบา นโพธ์ิ ลงชอื่ ……………….........……………………..ผเู หน็ ชอบหลักสตู ร ( นางสกาวรัตน คาํ แดง ) หัวหนา งานการศกึ ษาตอเนือ่ ง ลงช่ือ..............................................ผูอนุมตั หิ ลกั สตู ร (นายบุญรอด แสงสวา ง) ผูอาํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผอู าํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเสนา

แบบ กศ.ตน.12 แผนการจดั การเรียนรู วิทยากร นางเพ็ญศรี ศรีลูกหวา จาํ นวน 5 ชวั่ โมง (เรยี นวนั ละ 5 ชั่วโมง) หลักสตู รการทาํ หมี่กรอบโบราณ ในวันท่ี 25 เดือนกมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2564 เวลาเรียน 09.00 ถงึ 15.00 น. สถานท่จี ัดการเรียนศูนยฝกอาชีพชุมชนตาํ บลบานโพธ์ิ หมู 1 ตาํ บลบานโพธ์ิ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วนั เดือน ป เวลา กระบวนการจัดการเรยี นรู หมายเหตุ 25 กุมภาพันธ 2564 09.00 น. – 15.00 น. วทิ ยากรบรรยายใหค วามรูและใหผ ูเรยี น เรียนวันละ 5 ชม. ฝก ปฏบิ ตั ิจรงิ เกี่ยวกับเร่อื ง 1.วัสดุและอุปกรณท่ีใชในการทาํ หม่กี รอบ โบราณ 2. ขน้ั ตอนและวิธกี ารทาํ หมี่กรอบโบราณ 3. การคาํ นวณราคาตน ทนุ กําไร ลงชอื่ ……………………………………………………………….วิทยากร ( นางสาวขนิษฐา ศรลี ูกหวา ) วนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564

แบบ กศ.ตน.3 คาํ สงั่ ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอเสนา ที่ / 2564 เรอ่ื ง แตง ต้งั วิทยากรการศกึ ษาตอเน่อื ง ………………………………………….. ดวยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา ตําบลบานโพธิ์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ดําเนินการจัดการศึกษาตอเนื่อง  รูปแบบกลุมสนใจ  รูปแบบชั้นเรียนหลักสูตรการ ทําหม่ีกรอบโบราณ จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไป ที่สนใจไดใชเวลาวาง ใหเปน ประโยชน สถานที่จัด ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2564 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึง เวลา 15.00 น. เรียนวันละ 5 ชั่วโมง จาํ นวนวนั ทเ่ี ปดสอน 1 วัน มีผูเรียนเปน ชาย - คน หญิง 7 คน รวมจาํ นวน 7 คน อาศัยระเบยี บสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ วา ดว ยการจัดการศึกษาตอเนอื่ ง พ.ศ. 2554 จงึ แตงต้ังให นางเพญ็ ศรี ศรลี ูกหวา โดยใหว ิทยากรเบิกคาตอบแทนตามเกณฑท่ีกระทรวงการคลังและสํานักงานสงเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กาํ หนด ทงั้ นี้ ตัง้ แตว ันที่ 25 เดือนกุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 ส่ัง ณ วันที่ เดอื นกุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 ( นายบุญรอด แสงสวาง ) ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอมหาราช รกั ษาการในตําแหนง ผอู ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา

แบบ กน.3 ใบสมคั รวิทยากรการจัดการศึกษาตอเนอื่ ง วนั ท่ี 8 เดอื นกุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 ขาพเจา นางเพ็ญศรี ศรลี กู หวา อายุ 67 ปเลขประจําตัวประชาชน 3140500147292 เกิดวันที่ 25 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2496 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัญชาตไิ ทย เช้อื ชาติไทย ศาสนาพุทธ ปจจุบนั อยูบา นเลขท่ี 60 หมทู ี่ 9 ตาํ บลกบเจา อาํ เภอบางบาล จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รหัสไปรษณีย 13110 โทรศพั ท 085-9492215 วุฒกิ ารศึกษา ป.4 ความสามารถพิเศษประกอบอาหาร ปจ จุบนั ประกอบอาชีพ คา ขายขนมไทย สถานทที่ าํ งาน 41 หมูท่ี 3 ตาํ บลสามกอ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา รหสั ไปรษณีย 13110 ประสบการณงาน การศึกษาตอเน่ืองเปน วิทยากรสอนการทําหมีก่ รอบโบราณ ขอสมคั รเปนวิทยากรสอนหลักสตู รระยะสนั้ วชิ าการทําหม่ี กรอบโบราณ ท่ีอย/ู ท่ีทํางานท่ีสามารถติดตอไดส ะดวก 41 หมูท่ี 3 ตาํ บลสามกอ อาํ เภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย 13110 โทรศัพท 085-9492215 ขาพเจาไดแนบเอกสารรบั รองความรูความสามารถและประสบการณ ความเชยี่ วชาญในวิชาชีพสาขาทป่ี ระสงค จะสมคั รเปน วทิ ยากรเพ่ือประกอบการพจิ ารณาหากขา พเจาไดรับการพิจารณาแตงตง้ั เปนวิทยากรหลกั สตู รระยะสั้น ขาพเจาจะอุทิศเวลาเพือ่ การศึกษาของชมุ ชนพรอมทง้ั ปฏบิ ัติตามระเบยี บของทางราชการอยางเครง ครดั และใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสดุ (ลงชื่อ)……………………………………………….. ( นางเพญ็ ศรี ศรลี กู หวา )

แบบ กศ.ตน.16 บนั ทึกขอความ สวนราชการ กศน.ตาํ บลเจาเสดจ็ กศน.อําเภอเสนา โทร. 035-201-401 ที่ ศธ 0210.4815 / วนั ที่ 9 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 เรือ่ ง ขออนุญาตจัดการศึกษาตอ เน่ืองรปู แบบกลุมสนใจหลักสูตรการทําหมกี่ รอบโบราณ จาํ นวน 5 ชวั่ โมง เรียน ผูอ าํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา ดวย กศน.ตําบลบานโพธิ์มีความประสงค ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเน่ืองรูปแบบกลุมสนใจ หลักสูตรการ ทําหมี่กรอบโบราณ จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนตําบลบานโพธิ์ สถานที่จัด ณ ศูนยฝกอาชีพ หมู 3 ตําบลบาน โพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 27 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 ต้ังแตเวลา 09.00 ถึง 15.00 น. จําน ว น 5 ชั่ว โ ม ง มี ผูเ รียน จํา แน กเป น ช า ย - คน หญิ ง 7 คน รว มทั้ งหม ด 7 ค น รา ยช่ือ ดัง แน บ โดยมี นางเพ็ญศรี ศรีลกู หวา เปนวิทยากรใหความรู ในสวนอุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูแลว คือหมอ เตาแก็ส กะมัง กระทะ เปดสอนหลักสูตร การทําหม่ีกรอบโบราณ จํานวน 5 ช่ัวโมง ณ ศูนยฝกอาชีพ หมู 3 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยขอใชเงินงบประมาณป 2564 ประเภทงบรายจายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235052700019 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพนั บาทถวน) รายละเอยี ดดงั แนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพจิ ารณา 1. อนญุ าตใหเปดสอนหลักสตู รการทําหมี่กรอบโบราณ จาํ นวน 5 ช่วั โมง ณ ศูนยฝกอาชีพ หมู 3 ตาํ บล บานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ในวนั ท่ี 27 เดอื นกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 โดยขอจา ยคาตอบแทนเปน เงิน 1,000 บาท ( หนึ่งพนั บาทถวน ) 2. อนุมัติหลกั การจัดซื้อจัดจางพสั ดุ ดังรายละเอยี ดท่ีแนบ สําหรบั การเปดสอนฯ ภายในวงเงนิ 1,000 บาท ( หนึ่งพันบาทถว น ) 3. ลงนามในคําสัง่ แตงตัง้ วทิ ยากร ( นางสาวขนษิ ฐา ศรีลกู หวา ) ( นางสกาวรัตน คาํ แดง ) หวั หนา กศน.ตําบลบา นโพธิ์ หัวหนา งานการศกึ ษาตอเนื่อง  อนุญาต / อนุมัติ  ลงนามแลว ( นายบุญรอด แสงสวาง ) ผูอ ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผอู ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเสนา

ศนู ยการศึกษาศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเสนา รายชือ่ นกั ศึกษา หลกั สตู รการทําหม่กี รอบโบราณ จํานวน 5 ชว่ั โมง ท่ี ชอื่ - สกลุ เลขประจาํ ตัว อายุ ความรู อาชพี ทีอ่ ยูปจจบุ นั ประชาชน 1 นางสาํ ราญ ภรู กั สกุล 2 นางขนั ทอง กจิ พิพฒั น 3141200359660 58 ป.4 ทํานา 5/2 หมู 3 ต.บานโพธ์ิ 3 นางเตอื นใจ จดั แจง 4 นางสมศรี ฤกษป ระดับ 3141200359953 56 ม.3 รับจา ง 28 หมู 3 ต.บา นโพธ์ิ 5 นางสาํ เภา ฤทธิสนธ์ิ 6 นางองุน เจรญิ ทรัพย 3141200358876 67 ป.4 แมบ า น 11/1 หมู 3 ต.บานโพธ์ิ 7 นางสมบัติ จดั แจง 3141200360625 54 ม.3 แมบ าน 40/1 หมู 3 ต.บา นโพธิ์ 3141200359562 60 ป.4 รับจาง 22 หมู 3 ต.บานโพธิ์ 3141200359473 57 ม.3 แมบาน 20 หมู 3 ต.บา นโพธิ์ 3141200359236 62 ป.4 ทํานา 18/4 หมู 3 ต.บา นโพธิ์ ลงช่อื ……………………………..………………….ผูขอจัดวิชาชพี ( นางสาวขนิษฐา ศรลี กู หวา ) ตําแหนง ครู กศน.ตําบล

แบบ กศ.ตน.15 หลักสูตรอาชีพ อบรมหลักสูตรระยะสัน้ การทําหม่ีกรอบโบราณ จาํ นวน 5 ช่วั โมง กลุม อาชพี อตุ สาหกรรมหรอื หตั ถกรรม ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ...................................... ความเปนมา หมี่กรอบเปนอาหารไทยโบราณมีมาชานานสนั นิษฐานวา ตัง้ แตสมัยรัชการที่ ๕ แหงกรุงรัตนโกสินทร เปนอาหาร วา ง หรอื เปน อาหารรับประทานรวมเปนกับขาวก็ได นอกจากทํากันรับประทานในครัวเรือนแลวยังนิยมทําถวายพระและ เลี้ยงแขกที่มารวมในงานบุญตาง ๆ แตเนื่องจากการทําหมี่กรอบมีขั้นตอนหลายข้ันตอนท่ีตองอาศัยความชํานาญอยาง มากในการทําระยะหลังจึงหาหม่ีกรอบท่ีรสชาติอรอยๆรับประทานไดยากขึ้น “เสนหมี่” เปนอาหารประเภทเสนที่คนจีน ใหค วามสําคัญ เพราะคนจีนจะใชเสนหมี่ในการประกอบพิธีการสําคัญในงานมงคลตาง ๆ และยังเช่ือกันวาการใหเสนหม่ี เปน ของขวัญ หรอื ของฝาก จะทําใหผ รู ับรสู ึกยนิ ดี มคี วามประทบั ใจ และรูสกึ ไดถึงความปรารถนาดีของผูให เพราะการให เสนหมี่น่ันจะถือไดวาเปนการอวยพร ใหผูรับมีอายุมั่นขวัญยืน เหมือนกับความยาวของเสนหม่ี มีความเจริญงอกงาม ความขาวสะอาดบริสุทธ์ิ ตําบลคลองจิกจํานวนหนึ่งมีความสนใจในการเรียนรูการทําหม่ีกรอบโบราณ เพื่อฝกทําไว รับประทานเอง หรือนาํ มาเปน อาชีพเพื่อสรางรายไดตอตนเอง หลกั การของหลักสตู ร กศน.อาํ เภอเสนา จัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้น การทาํ หมี่กรอบโบราณ (ศนู ยฝกอาชีพระยะสั้น กลุมสนใจ ไมเกิน 30 ชั่วโมง) เพื่อใหประชาชนในอําเภอเสนา ไดศึกษาเรียนรูวิธีทํา ผูที่เขารับการอบรมสามารถนําไปปฏิบัติได หรอื สามารถทําเปนอาชีพเสรมิ สรางรายไดใ หกับตนเองและครอบครวั ไดต อ ไป จุดมุงหมาย 1. เพอื่ ใหผ เู ขาอบรมมีความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะในการทําหมี่กรอบโบราณ 2. เพอ่ื ใหผ ูเขาอบรมนาํ ความรูไ ปใชใ นการประกอบอาชีพและพฒั นาอาชพี สรา งรายไดใ หก บั ตนเองและ ครอบครัว เปาหมาย ประชาชนท่ัวไปอาํ เภอเสนา ระยะเวลา รวม 5 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี จํานวน 1 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติ จํานวน 4 ชวั่ โมง

โครงสรา งหลกั สูตร ที่ เร่อื ง จุดประสงคก าร เน้อื หา การจัดกระบวนการ จาํ นวนชว่ั โมง เรียนรู เรียนรู ทฤษฏี ปฏบิ ัติ 1 ความรเู บื้องตน 1. เพ่ือใหผ เู ขา 1.ความรูเบอ้ื งตนของ 1.วทิ ยากรอธบิ ายเกยี่ วกบั 30 ของการทาํ หม่ี อบรมทราบถึง การทําหมี่กรอบโบราณ ความรเู บ้ืองตน ของการทํา นาที กรอบโบราณ ความเปน มาและ - ความเปน มาของการ หมี่กรอบโบราณ ประโยชนของการ ทาํ หมี่กรอบโบราณ - ความเปนมาของการทํา ทาํ หม่ีกรอบ - วัสดุอปุ กรณท่ีใชใ น หมีก่ รอบโบราณ โบราณ การทาํ หม่ีกรอบ - วัสดอุ ปุ กรณที่ใชในการ 2. เพื่อใหผ เู ขา โบราณ ทําหม่กี รอบโบราณ อบรมอธิบายวสั ดุ - เทคนิคและวิธีการทํา - เทคนิคและวธิ กี ารทําหม่ี อปุ กรณทีใ่ ชใน หมก่ี รอบโบราณ กรอบโบราณ การทาํ หม่ีกรอบ โบราณได 2 การทาํ หม่ีกรอบ 2. เพื่อใหผเู รยี น 1. การทําหม่กี รอบ 2.วทิ ยากรอธิบายข้ันตอน 30 4 ชม. โบราณ สามารถทําหม่ี โบราณ ในการทําหม่ีกรอบโบราณ นาที กรอบโบราณได -การเตรียมหม่ี -การเตรียมนํ้ามนั ทอดหมี่ -การเตรยี ม - การเตรยี มสว นผสมตาง สว นประกอบอน่ื ๆ ๆ (ทอดสว น กระเทยี ม - การทอดสวนผสม หอมแดง) - การเตรียมนํ้าสามรส - การเตรยี มสวนผสม - การทําหม่ีกรอบโบราณ ตา ง ๆ ในการทําน้าํ ปรงุ รสหมี่กรอบ ส่ือการเรยี นรู 2. วัสดุ อุปกรณใ นการเรียน การวัดผลประเมนิ ผล 3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 4. แบบประเมินผลการจัดการศกึ ษาตอเนื่อง

เกณฑก ารจบหลกั สูตร ผเู ขารบั การอบรมตอ งมเี วลาในการเขารวมอบรมไมนอยกวา รอยละ 85 ของเวลาอบรมทั้งหมด ลงชื่อ………………………….....………….…ผูเขยี นหลักสูตร ( นางเพญ็ ศรี ศรีลกู หวา ) วิทยากร ลงชือ่ .................................................ผูเสนอโครงการ (นางสาวขนษิ ฐา ศรีลูกหวา ) ครู กศน.ตําบลบา นโพธ์ิ ลงช่ือ……………….........……………………..ผเู ห็นชอบหลกั สตู ร ( นางสกาวรัตน คาํ แดง ) หัวหนา งานการศึกษาตอเนอื่ ง ลงชื่อ..............................................ผอู นมุ ตั หิ ลักสตู ร (นายบญุ รอด แสงสวาง) ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา

แบบ กศ.ตน.12 แผนการจดั การเรียนรู วทิ ยากร นางเพ็ญศรี ศรีลกู หวา หลักสตู รการทําหมี่กรอบโบราณ จํานวน 5 ชว่ั โมง (เรยี นวันละ 5 ช่วั โมง) ในวนั ท่ี 27 เดือนกมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2564 เวลาเรยี น 09.00 ถึง 15.00 น. สถานทีจ่ ดั การเรยี นศูนยฝกอาชีพ หมู 3 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัน เดอื น ป เวลา กระบวนการจัดการเรยี นรู หมายเหตุ 27 กุมภาพันธ 2564 09.00 น. – 15.00 น. วทิ ยากรบรรยายใหความรูและใหผ เู รียน เรียนวนั ละ 5 ชม. ฝกปฏบิ ตั จิ รงิ เกย่ี วกบั เรือ่ ง 1.วสั ดุและอปุ กรณท ใ่ี ชในการทําหมกี่ รอบ โบราณ 2. ขัน้ ตอนและวธิ กี ารทําหมี่กรอบโบราณ 3. การคาํ นวณราคาตน ทนุ กําไร ลงชื่อ……………………………………………………………….วทิ ยากร ( นางสาวขนิษฐา ศรลี ูกหวา ) วนั ที่ 27 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564

แบบ กศ.ตน.3 คําส่งั ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ที่ / 2564 เร่อื ง แตง ตัง้ วทิ ยากรการศกึ ษาตอเน่ือง ………………………………………….. ดวยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา ตําบลบานโพธิ์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ดําเนินการจัดการศึกษาตอเนื่อง  รูปแบบกลุมสนใจ  รูปแบบชั้นเรียนหลักสูตรการ ทําหม่ีกรอบโบราณ จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไป ที่สนใจไดใชเวลาวาง ใหเปน ประโยชน สถานที่จัด ณ ศูนยฝกอาชีพ หมู 3 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 27 กุมภาพันธ พ.ศ. 2564 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึง เวลา 15.00 น. เรียนวันละ 5 ช่ัวโมง จํานวนวันที่เปดสอน 1 วัน มี ผเู รยี นเปน ชาย - คน หญงิ 7 คน รวมจํานวน 7 คน อาศยั ระเบียบสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา ดว ยการจัดการศึกษาตอเน่อื ง พ.ศ. 2554 จึงแตง ตั้งให นางเพ็ญศรี ศรีลกู หวา โดยใหวิทยากรเบิกคาตอบแทนตามเกณฑที่กระทรวงการคลังและสํานักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กําหนด ท้งั น้ี ตั้งแตวนั ที่ 25 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2564 ส่ัง ณ วันท่ี เดอื นกมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2564 ( นายบญุ รอด แสงสวาง ) ผอู ํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอมหาราช รักษาการในตําแหนง ผอู ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา

แบบ กน.3 ใบสมคั รวิทยากรการจัดการศึกษาตอเนอื่ ง วนั ท่ี 8 เดอื นกุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 ขาพเจา นางเพ็ญศรี ศรลี กู หวา อายุ 67 ปเลขประจําตัวประชาชน 3140500147292 เกิดวันที่ 25 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2496 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัญชาตไิ ทย เช้อื ชาติไทย ศาสนาพุทธ ปจจุบนั อยูบา นเลขท่ี 60 หมทู ี่ 9 ตาํ บลกบเจา อาํ เภอบางบาล จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รหัสไปรษณีย 13110 โทรศพั ท 085-9492215 วุฒกิ ารศึกษา ป.4 ความสามารถพิเศษประกอบอาหาร ปจ จุบนั ประกอบอาชีพ คา ขายขนมไทย สถานทที่ าํ งาน 41 หมูท่ี 3 ตาํ บลสามกอ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา รหสั ไปรษณีย 13110 ประสบการณงาน การศึกษาตอเน่ืองเปน วิทยากรสอนการทําหมีก่ รอบโบราณ ขอสมคั รเปนวิทยากรสอนหลักสตู รระยะสนั้ วชิ าการทําหม่ี กรอบโบราณ ท่ีอย/ู ท่ีทํางานท่ีสามารถติดตอไดส ะดวก 41 หมูท่ี 3 ตาํ บลสามกอ อาํ เภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย 13110 โทรศัพท 085-9492215 ขาพเจาไดแนบเอกสารรบั รองความรูความสามารถและประสบการณ ความเชยี่ วชาญในวิชาชีพสาขาทป่ี ระสงค จะสมคั รเปน วทิ ยากรเพ่ือประกอบการพจิ ารณาหากขา พเจาไดรับการพิจารณาแตงตง้ั เปนวิทยากรหลกั สตู รระยะสั้น ขาพเจาจะอุทิศเวลาเพือ่ การศึกษาของชมุ ชนพรอมทง้ั ปฏบิ ัติตามระเบยี บของทางราชการอยางเครง ครดั และใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสดุ (ลงชื่อ)……………………………………………….. ( นางเพญ็ ศรี ศรลี กู หวา )

แบบ กศ.ตน.16 บนั ทึกขอความ สวนราชการ กศน.ตําบลบานโพธ์ิ สังกดั กศน.อาํ เภอเสนา โทร. 035-201-401 ที่ ศธ 0210.4815 / วนั ที่ มีนาคม พ.ศ. 2564 เรื่อง ขออนญุ าตจัดการศึกษาตอ เนือ่ งรูปแบบกลมุ สนใจหลักสูตรการทาํ วนุ แฟนซี จํานวน 5 ชว่ั โมง เรียน ผูอ าํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเสนา ดวย กศน.ตําบลบา นโพธม์ิ คี วามประสงค ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเนื่องรูปแบบกลุมสนใจ หลักสูตรการ ทําวนุ แฟนซี จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกบั ประชาชนตําบลบานโพธิ์ สถานที่จัด ณ ถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรตําบล บานโพธิ์ หมู 12 ตําบลบานโพธิ์ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันท่ี 12 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ตั้งแต เ ว ล า 0 9 . 0 0 ถึ ง 1 5 . 0 0 น . จํ า น ว น 5 ช่ั ว โ ม ง มี ผู เ รี ย น จํ า แ น ก เ ป น ช า ย - ค น ห ญิ ง 7 คน รวมท้งั หมด 7 คน รายช่อื ดงั แนบ โดยมี นางสาววชั รินทร กล่ันเล้ียง เปน วิทยากรใหความรู ในสวนอุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูแลว คือหมอ เตาแก็ส กะมัง เปดสอนหลักสูตร การทาํ วุนแฟนซี จํานวน 5 ชัว่ โมง ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรตําบลบานโพธิ์ หมู 12 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยขอใชเงินงบประมาณป 2564 ประเภทงบรายจายอ่ืน รหัสงบประมาณ 2000235052700019 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพนั บาทถว น) รายละเอียดดงั แนบ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา 1. อนุญาตใหเ ปด สอนหลักสูตรการทาํ วนุ แฟนซี จํานวน 5 ช่วั โมง ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการ เกษตรตําบลบานโพธิ์ หมู 12 ตําบลบานโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ในวนั ที่ 12 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2564 โดยขอจา ยคา ตอบแทนเปน เงิน 1,000 บาท ( หนึ่งพันบาทถว น ) 2. อนุมตั ิหลักการจดั ซื้อจัดจางพัสดุ ดังรายละเอยี ดทแ่ี นบ สําหรบั การเปด สอนฯ ภายในวงเงนิ 1,000 บาท ( หน่งึ พนั บาทถว น ) 3. ลงนามในคาํ สง่ั แตงตง้ั วทิ ยากร ( นางสาวขนิษฐา ศรีลูกหวา ) ( นางสกาวรตั น คําแดง ) หัวหนา กศน.ตาํ บลบา นโพธ์ิ หัวหนางานการศกึ ษาตอเน่ือง  อนญุ าต / อนุมตั ิ  ลงนามแลว ( นายบญุ รอด แสงสวา ง ) ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอมหาราช รักษาการในตําแหนง ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา

ศนู ยก ารศึกษาศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา รายชอ่ื นกั ศึกษา หลักสตู รการทาํ วนุ แฟนซี จํานวน 5 ชั่วโมง ท่ี ชื่อ - สกุล เลขประจาํ ตัว อายุ ความรู อาชพี ท่อี ยูปจ จบุ ัน ประชาชน 1 นางเฉลยี ว ฤทธชิ าติ 3141200356121 64 ป.4 ทํานา 26 ม. 12 ต.บา นโพธิ์ 2 นางอนงค อาษา 3141200416281 3 นางพยงค กงพลี 3141200416604 67 ป.4 แมบ า น 17 ม.12 ต.บานโพธิ์ 4 นางอุทยั วรรณ สภุ าวฒุ ิ 3141200416744 5 นางประไพศรี สมัยมาก 3141200415464 72 ป.4 ทําสวน 23 ม. 12 ต.บานโพธ์ิ 6 นางประกอบ กิจปลื้ม 3141200415021 52 ม.3 แมบ าน 24/2 ม.12 ต.บานโพธ์ิ 7 นางสังวยี น ฤกษวิรี 3141200416795 67 ปริญญาตรี ขรก. 8 หมู 12 ต.บานโพธ์ิ บาํ นาญ 54 ป.4 ทํานา 1/6 ม.12 ต.บานโพธ์ิ 71 ป.4 ทํานา 25/1 ม.12 ต.บานโพธิ์ ลงชื่อ……………………………..………………….ผูข อจดั วชิ าชพี ( นางสาวขนิษฐา ศรลี กู หวา ) ตาํ แหนง ครู กศน.ตาํ บล

แบบ กน.ตน. 15 แบบเขยี นหลกั สูตรตอเนอื่ ง หลักสตู รอาชีพ.......การทําวนุ แฟนซ.ี ........จาํ นวน.....5......ชว่ั โมง ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ……………………………………………………………. ความเปน มา กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ การเสริมสรางศักยภาพชุมชน การพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนและการสรางความเขมแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหชุมชนสามารถ พ่ึงพาตนเองได สงเสริมใหเกิดชุมชนแหงการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย และการถายทอด องคความรูในชุมชนเพื่อ นาํ ไปสูการแกไขปญหาในพ้นื ท่แี ละการตอ ยอดองคความรูไปสเู ชิงพาณิชย รวมท้ังสงเสริม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน การสรางการจัดการความรูในชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยสงเสริมการประกอบอาชีพของผูประกอบการระดับ ชุมชน การสนับสนุนศูนยฝกอาชีพชุมชน การสงเสริมการเชื่อมตอระหวางเครือขายอุตสาหกรรม ในพื้นท่ีกับเศรษฐกิจ ชุมชน การสรางความรวมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาในการรวมกันพัฒนาความรูในเชิงทฤษฎีและสามารถ นําไปประยุกตใชในทางปฏิบัติเพื่อสรางศักยภาพใหกับชุมชนในการประกอบธุรกิจ การสนับสนุนการประกอบธุรกิจแบบ วสิ าหกิจเพือ่ สงั คม รวมถงึ การสงเสริมการทองเท่ยี วทองถิน่ และการทองเทย่ี ว เชิงอนุรักษใ นชมุ ชนทีม่ ีแหลง ทอ งเทีย่ ว สํานักงาน กศน. ไดตอบสนองแผนยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการจัดใหมีโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา อาชีพของศูนยฝกอาชีพชุมชนขึ้น โดยใชสถานศึกษา กศน. และ กศน.ตําบลหรือแขวง เปนฐานการจัดกิจกรรมใหแก ประชาชนกลมุ เปาหมายในพนื้ ท่บี รกิ าร โดยมคี วามเชอ่ื มัน่ วา โครงการดังกลาวจะสามารถชวยใหประชาชนระดับฐานราก ที่รายไดนอยและขาดโอกาสการในการเพ่ิมรายไดอันเปนเงอื่ นไขสําคญั ของการเกิดความเหล่อื มลํา้ ทางเศรษฐกิจที่สงผลให ฐานเศรษฐกจิ ของประเทศไมเขม แข็งอยางทีเ่ ปน อยูในปจจบุ นั หลักสตู รการทําวนุ แฟนซีเปนหลักสูตรที่ผูเรียนสามารถศึกษาและนําไปประกอบเปนอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริม ไ ด  เ นื่ อ ง จ า ก ผู  เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู  แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู  ท่ี ไ ด  รั บ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต  วิ ธี ก า ร ทํ า ไ ด  ห ล า ก ห ล า ย เนื่องจากเปนขนมท่ีไดรับความนิยมและมีตนทุนที่ไมสูงมากนัก ซึ่งยังเหมาะสําหรับนักขายรุนใหมท่ีมีทุนจํากัด ดังน้ัน หลักสูตรการทําวุนแฟนซีจึงเปนอาชีพหนึ่งท่ีเปนชองทางในการประกอบอาชีพของผูท่ีวางงาน และผูท่ี ตองการหารายไดเสรมิ ใหก บั ครวั ไดอ กี ดวย

หลกั การของหลักสูตร การทําวุนแฟนซเี ปนหลักสูตรที่เนน การจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือมีงานทํา ที่เนนการบูรณาการเนอื้ หาสาระ ภาคทฤษฎีควบคูไ ปกบั การฝกปฏิบตั ิจริง ผูเรียนสามารถนาํ ความรูและทักษะไปปฏิบัติไดจรงิ อยา งมีคณุ ภาพและมี คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและยังเนน การฝก อาชีพ ตอยอดอาชีพเดิม และมีรายไดเ สรมิ จุดมงุ หมาย 1. เพอ่ื ใหผ เู รียนมีความรูแ ละทกั ษะในการทําวนุ แฟนซี 2. ผูเขา รับการอบรมสามารถนาํ ไปตอ ยอดอาชีพได เปาหมาย ประชาชนท่สี นใจ ระยะเวลา 12 มนี าคม พ.ศ. 2564 โครงสรางหลกั สูตร จดุ ประสงคการเรยี นรู เน้อื หา การกระบวน จํานวนช่ัวโมง ท่ี เร่อื ง การการเรียนรู ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 การทาํ วุนแฟนซี 1. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมี 1. การเลอื กใชวตั ถุดิบ 1.อธบิ าย ความรูเกยี่ วกบั การ และอปุ กรณใ นการทํา 2. สาธิต 14 เลือกซื้อวัตถดุ บิ วนุ แฟนซี 3. การลงมอื ปฏบิ ัติ อุปกรณท่ีใชใ นการทํา วุนแฟนซี 2. ขน้ั ตอนการทํา 2. เพอ่ื ใหผเู รียนได วุนแฟนซแี บบตาง ๆ ทราบถึงขนั้ ตอนการ ทําวนุ แฟนซี 3. ทกั ษะใน 3. เพ่อื ใหผ เู รียน การทําวนุ แฟนซแี บบ ไดฝ กทักษะในการทํา ตางๆ วนุ แฟนซแี บบตางๆ ได อาชีพเสรมิ 4. เทคนคิ ในการทาํ 4. เพือ่ ใหผ เู รียนไดร ู วุนแฟนซี และเขาใจถึงเทคนคิ ใน การทาํ วนุ แฟนซี 5. การคิดกําไร ตนทุน 5. เพื่อหาชอ งทางการ ราคาขาย การบรรจุ ผลติ และการจาํ หนายรู ภณั ฑวุนแฟนซี จักการคดิ กําไรตน ทุน และราคาขายพรอมทั้ง การจดั ทําบรรจภุ ัณฑ

สื่อการเรยี นรู 1. ภาพตวั อยางวนุ แฟนซี 2. คูมอื การทําวนุ แฟนซี 3. วิทยากรถา ยทอด ลงมือปฏิบตั ิ การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากความสนใจความรวมมือ 2. การประเมนิ ความรูภาคทฤษฏรี ะหวา งเรยี นและจบหลกั สูตร 3. การประเมนิ ผลงานระหวา งเรียนจากการปฏิบัติไดผ ลงานท่ีมคี ุณภาพสามารถสรา งรายไดและจบ หลกั สูตร เกณฑก ารจบหลักสูตร 1. ผา นการประเมินความรูความเขา ใจในเน้ือหาสาระ 2. ผา นการฝกทักษะการปฏิบตั ติ ามหลักสูตรไมน อยกวารอยละ80 3. ผานการประเมินคณุ ภาพของผลงานมาตรฐานเปนท่ีพึงพอใจ 4. ผานการประเมินตลอดหลกั สูตรไมนอยกวา รอยละ 60 ลงชอ่ื ………………………….....………….…ผเู ขยี นหลักสตู ร ( นางสาววัชรนิ ทร กลน่ั เลีย้ ง ) วทิ ยากร ลงชอื่ .................................................ผูเ สนอโครงการ (นางสาวขนิษฐา ศรลี กู หวา) ครู กศน.ตาํ บลบา นโพธ์ิ ลงช่ือ……………….........……………………..ผเู หน็ ชอบหลักสตู ร ( นางสกาวรัตน คาํ แดง ) หวั หนางานการศึกษาตอ เนื่อง ลงชอื่ ..............................................ผูอนุมัตหิ ลักสตู ร (นายบุญรอด แสงสวาง) ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอมหาราช รกั ษาการในตําแหนง ผอู าํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเสนา

แบบ กศ.ตน.12 แผนการจดั การเรียนรู วิทยากร นางสาววชั รนิ ทร กลัน่ เลย้ี ง จาํ นวน 5 ช่วั โมง (เรียนวนั ละ 5 ชว่ั โมง) หลกั สูตรการทําวุน แฟนซี ในวนั ที่ 12 เดือนมนี าคม พ.ศ.2564 เวลาเรียน 09.00 ถึง 15.00 น. สถานทจี่ ัดการเรยี นศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร หมู 12 ตําบลบานโพธ์ิ อาํ เภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วนั เดอื น ป เวลา กระบวนการจัดการเรียนรู หมายเหตุ 12 มีนาคม 2564 09.00 น. – 15.00 น. วทิ ยากรบรรยายใหค วามรูและใหผูเ รยี น เรยี นวนั ละ 5 ชม. ฝกปฏิบตั ิจรงิ เก่ียวกับเร่อื ง 1.วัสดุและอุปกรณทใี่ ชในการทาํ วนุ แฟนซี 2. ข้ันตอนและวธิ ีการทาํ วนุ แฟนซี 3. การคาํ นวณราคาตน ทุน กําไร ลงชื่อ……………………………………………………………….วิทยากร ( นางสาววัชรินทร กลนั่ เล้ยี ง ) วันท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2564

แบบ กศ.ตน.3 คําส่ังศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเสนา ท่ี / 2564 เรอื่ ง แตงต้งั วิทยากรการศกึ ษาตอ เนื่อง ………………………………………….. ดวยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา ตําบลสามกอ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดําเนินการจัดการศึกษาตอเนื่อง  รูปแบบกลุมสนใจ  รูปแบบชั้นเรียน หลักสูตรการทําวุนแฟนซี จํานวน 5 ชั่วโมง ใหกับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไป ที่สนใจไดใชเวลาวาง ให เปนประโยชน สถานที่จัด ณ ศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรตําบลบานโพธิ์ หมู 12 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึง เวลา 15.00 น. เรียนวันละ 5 ช่ัวโมง จาํ นวนวนั ทเี่ ปดสอน 1 วนั มผี ูเ รียนเปน ชาย - คน หญิง 7 คน รวมจํานวน 7 คน อาศยั ระเบียบสํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ วาดว ยการจดั การศกึ ษาตอเนือ่ ง พ.ศ. 2554 จึงแตงตั้งให นางสาววัชรินทร กลั่นเล้ียง โดยใหวิทยากรเบิกคาตอบแทนตามเกณฑท่ีกระทรวงการคลังและสํานักงาน สงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กาํ หนด ทั้งนี้ ตง้ั แตวันที่ 12 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สง่ั ณ วนั ท่ี เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2564 ( นายบญุ รอด แสงสวาง ) ผอู ํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอมหาราช รักษาการในตําแหนง ผูอ าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา

แบบ กน.3 ใบสมคั รวิทยากรการจัดการศกึ ษาตอ เนอื่ ง วันท่ี 2 เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2564 ขาพเจา นางสาววัชรินทร กลั่นเล้ยี ง อายุ 67 ปเลขประจําตัวประชาชน 4120100009940 เกิดวันที่ 24 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2496 จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา สญั ชาติไทย เช้ือชาติไทย ศาสนาพุทธ ปจจุบันอยูบานเลขท่ี 39/16 หมูท่ี 5 ตําบลวัดตมู อาํ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา รหัสไปรษณยี  13000 โทรศัพท 098-2714773 วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ความสามารถพิเศษประกอบอาหาร ปจจุบันประกอบอาชีพ ขาราชการบํานาญ สถานท่ีทํางาน 39/16 หมูที่ 5 ตําบลวัดตูม อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย 13000 ประสบการณงานการศึกษาตอเน่ืองเปนวิทยากรสอนการทําขนมไทย ขอสมัครเปนวิทยากรสอน หลักสูตรระยะส้ันวิชาการทําวุนแฟนซี ที่อยู/ที่ทํางานที่สามารถติดตอไดสะดวก 39/16 หมูที่ 5 ตําบลวัดตูม อําเภอ พระนครศรีอยธุ ยา จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา รหสั ไปรษณีย 13000 โทรศพั ท 098-2714773 ขาพเจาไดแนบเอกสารรับรองความรูความสามารถและประสบการณ ความเช่ียวชาญในวิชาชีพสาขาท่ีประสงค จะสมัครเปนวิทยากรเพ่ือประกอบการพิจารณาหากขาพเจาไดรับการพิจารณาแตงตั้งเปนวิทยากรหลักสูตรระยะส้ัน ขาพเจาจะอุทิศเวลาเพื่อการศึกษาของชุมชนพรอมท้ังปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการอยางเครงครัดและใหเกิด ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ (ลงช่อื )……………………………………………….. ( นางสาววัชรนิ ทร กลั่นเลยี้ ง )

แบบ กศ.ตน.16 บนั ทึกขอความ สว นราชการ กศน.ตาํ บลบานโพธิ์ สงั กดั กศน.อําเภอเสนา โทร. 035-201-401 ท่ี ศธ 0210.4815 / วนั ที่ มนี าคม พ.ศ. 2564 เรื่อง ขออนุญาตจัดการศึกษาตอ เนอ่ื งรูปแบบกลมุ สนใจหลกั สูตรการทําวนุ แฟนซี จาํ นวน 5 ช่ัวโมง เรยี น ผูอาํ นวยการศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเสนา ดว ย กศน.ตาํ บลบา นโพธม์ิ คี วามประสงค ขออนุญาตจัดการศึกษาตอเน่ืองรูปแบบกลุมสนใจ หลักสูตรการ ทําวุนแฟนซี จาํ นวน 5 ชั่วโมง ใหก บั ประชาชนตาํ บลบานโพธ์ิ สถานท่ีจัด ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ตั้งแตเวลา 09.00 ถึง 15.00 น. จํานวน 5 ชว่ั โมง มผี ูเรยี นจําแนกเปน ชาย - คน หญิง 7 คน รวมท้ังหมด 7 คน รายชื่อดังแนบ โดยมี นางสาว วัชรินทร กล่ันเลี้ยง เปน วทิ ยากรใหความรู ในสวนอุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูแลว คือหมอ เตาแก็ส กะมัง เปดสอนหลักสูตร การทําวุนแฟนซี จํานวน 5 ช่ัวโมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธิ์ หมู 1 ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยขอใชเงินงบประมาณป 2564 ประเภทงบรายจายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235052700019 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพันบาทถว น) รายละเอยี ดดงั แนบ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา 1. อนุญาตใหเ ปด สอนหลักสูตรการทาํ วนุ แฟนซี จาํ นวน 5 ชั่วโมง ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนตําบลบานโพธ์ิ หมู 1 ตาํ บลบานโพธ์ิ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันท่ี 13 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2564 โดยขอจาย คาตอบแทนเปน เงิน 1,000 บาท ( หนงึ่ พนั บาทถวน ) 2. อนมุ ตั ิหลักการจดั ซอ้ื จัดจางพสั ดุ ดงั รายละเอยี ดท่แี นบ สําหรบั การเปดสอนฯ ภายในวงเงนิ 1,000 บาท ( หนึง่ พันบาทถวน ) 3. ลงนามในคําสัง่ แตงตง้ั วทิ ยากร ( นางสาวขนิษฐา ศรลี ูกหวา ) ( นางสกาวรัตน คําแดง ) หวั หนา กศน.ตําบลบา นโพธ์ิ หัวหนางานการศึกษาตอเน่ือง  อนุญาต / อนมุ ัติ  ลงนามแลว ( นายบุญรอด แสงสวา ง ) ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอมหาราช รกั ษาการในตาํ แหนง ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเสนา

ศูนยก ารศึกษาศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเสนา รายช่อื นักศึกษา หลักสูตรการทาํ วนุ แฟนซี จํานวน 5 ช่วั โมง ที่ ช่ือ - สกลุ เลขประจาํ ตัว อายุ ความรู อาชพี ที่อยูปจจบุ ัน ประชาชน 1 นางสาวกัญญา กจิ ขนั ธ 2 นางวันทนา ปต ิพร ๓๑๔๑600009127 58 ปรญิ ญาตรี แมบ า น 18/2หมู๑2 ต.บานโพธิ์ 3 นางฉลวย ฤทธชิ าติ 3141200356733 62 ปรญิ ญาตรี ขรก. 1/1 หมู 2 ต.บานโพธิ์ 4 นางองนุ เจริญทรัพย 3141200359368 64 ป.4 บํานาญ 19 หมู 3 ต.บานโพธิ์ 5 นางสาํ เนียง บุญเรอื น 6 นางศริ ิพร ม่ิงขวญั ทาํ นา 7 นางรชั นี จนั ทรขาว 3141200359473 57 ม.3 แมบ า น 20 หมู 3 ต.บา นโพธิ์ 3141200358922 65 ป.6 แมบ า น 13/3 หมู 3 ต.บานโพธ์ิ 3141200357560 63 ม.3 ขรก. 15 หมู 2 ต.บา นโพธ์ิ บํานาญ 3341400030244 66 ปริญญาตรี ขรก. 31 หมู 4 ต.บานโพธ์ิ บํานาญ ลงช่ือ……………………………..………………….ผูขอจดั วชิ าชีพ ( นางสาวขนิษฐา ศรีลกู หวา ) ตาํ แหนง ครู กศน.ตําบล

แบบ กน.ตน. 15 แบบเขยี นหลกั สตู รตอ เนอื่ ง หลกั สูตรอาชพี .......การทาํ วนุ แฟนซี.........จํานวน.....5......ชว่ั โมง ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา ……………………………………………………………. ความเปนมา กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ การเสริมสรางศักยภาพชุมชน การพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนและการสรางความเขมแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือใหชุมชนสามารถ พึ่งพาตนเองได สงเสริมใหเกิดชุมชนแหงการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย และการถายทอด องคความรูในชุมชนเพ่ือ นาํ ไปสกู ารแกไขปญหาในพ้นื ท่แี ละการตอยอดองคค วามรูไปสเู ชิงพาณิชย รวมท้ังสงเสริม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน การสรางการจัดการความรูในชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยสงเสริมการประกอบอาชีพของผูประกอบการระดับ ชุมชน การสนับสนุนศูนยฝกอาชีพชุมชน การสงเสริมการเช่ือมตอระหวางเครือขายอุตสาหกรรม ในพ้ืนที่กับเศรษฐกิจ ชุมชน การสรางความรวมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาในการรวมกันพัฒนาความรูในเชิงทฤษฎีและสามารถ นําไปประยุกตใชในทางปฏิบัติเพ่ือสรางศักยภาพใหกับชุมชนในการประกอบธุรกิจ การสนับสนุนการประกอบธุรกิจแบบ วิสาหกิจเพอื่ สงั คม รวมถึงการสง เสริมการทอ งเทยี่ วทอ งถ่นิ และการทอ งเทยี่ ว เชงิ อนรุ กั ษใ นชมุ ชนที่มแี หลง ทองเที่ยว สํานักงาน กศน. ไดตอบสนองแผนยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการจัดใหมีโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา อาชีพของศูนยฝกอาชีพชุมชนขึ้น โดยใชสถานศึกษา กศน. และ กศน.ตําบลหรือแขวง เปนฐานการจัดกิจกรรมใหแก ประชาชนกลมุ เปาหมายในพนื้ ท่บี ริการ โดยมคี วามเช่อื มน่ั วาโครงการดงั กลาวจะสามารถชวยใหประชาชนระดับฐานราก ที่รายไดน อ ยและขาดโอกาสการในการเพ่ิมรายไดอันเปนเงื่อนไขสําคญั ของการเกิดความเหลอ่ื มลํา้ ทางเศรษฐกิจที่สงผลให ฐานเศรษฐกจิ ของประเทศไมเขม แขง็ อยางที่เปนอยใู นปจ จบุ ัน หลกั สูตรการทําวนุ แฟนซีเปนหลักสูตรที่ผูเรียนสามารถศึกษาและนําไปประกอบเปนอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริม ไ ด  เ นื่ อ ง จ า ก ผู  เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู  แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู  ท่ี ไ ด  รั บ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต  วิ ธี ก า ร ทํ า ไ ด  ห ล า ก ห ล า ย เนื่องจากเปนขนมท่ีไดรับความนิยมและมีตนทุนที่ไมสูงมากนัก ซึ่งยังเหมาะสําหรับนักขายรุนใหมท่ีมีทุนจํากัด ดังน้ัน หลักสูตรการทําวุนแฟนซีจึงเปนอาชีพหน่ึงท่ีเปนชองทางในการประกอบอาชีพของผูที่วางงาน และผูที่ ตอ งการหารายไดเ สริมใหก บั ครัวไดอกี ดว ย หลักการของหลักสูตร การทาํ วุนแฟนซเี ปน หลักสูตรท่เี นนการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อมีงานทํา ที่เนน การบรู ณาการเนือ้ หาสาระ ภาคทฤษฎีควบคูไปกบั การฝกปฏิบตั ิจรงิ ผเู รียนสามารถนําความรแู ละทักษะไปปฏบิ ตั ไิ ดจริงอยา งมีคณุ ภาพและมี คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและยงั เนนการฝก อาชีพ ตอยอดอาชีพเดิม และมีรายไดเสรมิ

จดุ มงุ หมาย 1. เพอื่ ใหผเู รยี นมีความรแู ละทักษะในการทําวนุ แฟนซี 2. ผเู ขารบั การอบรมสามารถนําไปตอ ยอดอาชพี ได เปาหมาย ประชาชนท่ีสนใจ ระยะเวลา 13 มนี าคม พ.ศ. 2564 โครงสรางหลกั สตู ร จดุ ประสงคการเรียนรู เนือ้ หา การกระบวน จํานวนชัว่ โมง ที่ เรอ่ื ง การการเรยี นรู ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1 การทาํ วนุ แฟนซี 1. เพอื่ ใหผเู รยี นมี 1. การเลือกใชว ัตถุดิบ 1.อธบิ าย ความรูเ ก่ียวกบั การ และอุปกรณในการทํา 2. สาธิต 14 เลือกซ้ือวตั ถุดิบ วุนแฟนซี 3. การลงมือปฏิบตั ิ อุปกรณทใ่ี ชในการทาํ วุนแฟนซี 2. ขัน้ ตอนการทํา 2. เพ่อื ใหผ เู รยี นได วุนแฟนซีแบบตาง ๆ ทราบถึงข้นั ตอนการ ทาํ วุนแฟนซี 3. ทกั ษะใน 3. เพอ่ื ใหผ เู รียน การทําวุน แฟนซแี บบ ไดฝกทักษะในการทํา ตา งๆ วุน แฟนซีแบบตา งๆ ได อาชีพเสริม 4. เทคนคิ ในการทํา 4. เพ่อื ใหผเู รียนไดรู วุนแฟนซี และเขา ใจถงึ เทคนิคใน การทาํ วุนแฟนซี 5. การคดิ กาํ ไร ตนทุน 5. เพอื่ หาชอ งทางการ ราคาขาย การบรรจุ ผลติ และการจาํ หนา ยรู ภณั ฑวุน แฟนซี จกั การคดิ กาํ ไรตน ทุน และราคาขายพรอมทง้ั การจดั ทําบรรจภุ ัณฑ

สื่อการเรยี นรู 1. ภาพตัวอยางวนุ แฟนซี 2. คูมือการทําวนุ แฟนซี 3. วิทยากรถา ยทอด ลงมือปฏบิ ตั ิ การวัดผลประเมินผล 1. สังเกตจากความสนใจความรวมมือ 2. การประเมินความรภู าคทฤษฏรี ะหวา งเรียนและจบหลกั สตู ร 3. การประเมนิ ผลงานระหวา งเรียนจากการปฏบิ ัติไดผ ลงานที่มีคณุ ภาพสามารถสรา งรายไดและจบ หลกั สูตร เกณฑก ารจบหลักสูตร 1. ผา นการประเมินความรูความเขา ใจในเนื้อหาสาระ 2. ผา นการฝก ทักษะการปฏิบัติตามหลักสตู รไมน อยกวา รอ ยละ80 3. ผานการประเมินคณุ ภาพของผลงานมาตรฐานเปน ทีพ่ ึงพอใจ 4. ผานการประเมินตลอดหลกั สูตรไมนอยกวารอยละ 60 ลงชอ่ื ………………………….....………….…ผเู ขียนหลกั สูตร ( นางสาววัชรนิ ทร กล่ันเลี้ยง ) วทิ ยากร ลงชอื่ .................................................ผเู สนอโครงการ (นางสาวขนิษฐา ศรลี กู หวา ) ครู กศน.ตาํ บลบานโพธ์ิ ลงช่ือ……………….........……………………..ผเู ห็นชอบหลักสูตร ( นางสกาวรัตน คําแดง ) หวั หนางานการศกึ ษาตอเนื่อง ลงชอื่ ..............................................ผูอนุมตั ิหลกั สตู ร (นายบุญรอด แสงสวาง) ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอมหาราช รักษาการในตาํ แหนง ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเสนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook