คู่มือการฝกึ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล รายวิชา ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่ และผสู้ งู อายุ 1 หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2562) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2566
คำนำ คู่มือการฝึกปฏิบัติรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ นักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ใช้ในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล ณ แหล่งฝึก ให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการฝึกให้การพยาบาลผู้ป่วย ภายใต้ความรู้และความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง ซึ่งภายในคู่มอื ประกอบดว้ ยรายละเอียดวิชา รูปแบบการเรียนการสอน ประสบการณ์ที่นักศึกษาควรได้รับ รวมถึงการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาให้ครอบคลุมทั้งผลลัพธ์การ เรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์อย่างเต็มศักยภาพและเตรียมเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มี คุณภาพตอ่ ไป ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสิทธ์ิ อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบวชิ า 22 พฤษภาคม 2566
สารบัญ หนา้ รายละเอยี ดของประสบการณภ์ าคสนาม 1 กำหนดการการปฐมนิเทศและการเตรียมความพร้อมกอ่ นการฝกึ ปฏิบัติ (Preclinic) 10 กำหนดการศกึ ษาดูงานโครงการจัดการเรยี นการสอนภาคปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 13 กำหนด Conference Day 14 การประเมินนกั ศกึ ษา 19 ตารางฝึกปฏิบัตริ ายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผูใ้ หญแ่ ละผ้สู งู อายุ 1 25 ระเบยี บปฏบิ ัติในการฝกึ ปฏบิ ัตงิ านบนหอผู้ป่วยของนักศึกษา 27 แนวทางการทำรายงานหรืองานทนี่ กั ศึกษาได้รับมอบหมาย 30 แบบบนั ทึกการพยาบาลโดยใชก้ ระบวนการพยาบาล 31 รปู แบบการเขยี นรายงานการศกึ ษาเฉพาะกรณี 50 แบบประเมินการเขียนแผนการพยาบาล 66 แบบประเมนิ ผลรายงานกรณศี กึ ษา (Case Study) 67 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิการพยาบาล 69
รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม ช่ือสถาบนั อดุ มศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม วิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 1. รหสั และชอ่ื รายวิชา 4173781 ปฏิบตั ิการการพยาบาลผใู้ หญ่และผ้สู ูงอายุ 1 Adult and Geriatric Nursing Practicum 1 2. จำนวนหนว่ ยกิต 3 หน่วยกติ 3 (0-9-5) 3. หลักสูตรและประเภทรายวชิ า หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) ประเภทรายวิชา หมวดวชิ าชีพ 4. อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบและอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบตั ิ 4.1 อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบวชิ า ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสิทธิ์ e-mail: [email protected] โทร 084-6822662 อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ e-mail: [email protected] โทร 089-8121578 อาจารย์อ้อฤทัย ธนะคำมา e-mail: [email protected] โทร 0910760234 4.2 อาจารย์ผสู้ อนภาคปฏบิ ตั ิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ e-mail: [email protected] โทร 084-6822662 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์นงนุช เชาวนศ์ ิลป์ e-mail: [email protected] โทร 081-9121596 อาจารย์ ดร.กรวรรณ สวุ รรณสาร e-mail: [email protected] โทร 062-4646993 อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ e-mail: [email protected] โทร 089-8121578 อาจารยอ์ ้อฤทัย ธนะคำมา e-mail: [email protected] โทร 0910760234 อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค e-mail: [email protected] โทร 098-9971654
2 4.3 อาจารยพ์ เิ ศษภาคปฏิบตั ิ (โรงพยาบาลนครปฐม) พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ หอผ้ปู ว่ ยอายรุ กรรมชาย 1 พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ 1 นางสาวสพุ ตั รา สขุ วิจิตร พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ 2 นางสาววนั ทณา แกว้ ชัยสูน พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั กิ าร 3 นางสาวณฐั ธยาน์ พรมสวรรค์ 4 นายณฐั ศรณั ย์ ทองสวนส้ม พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั กิ าร 5 นางสาววริ ฐั พร ยงยทุ ธ พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั ิการ หอผปู้ ่วยอายรุ กรรมชาย 2 พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั กิ าร 1 นางสาวเกศสุดา โพธศิ์ รวี งษ์ พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ัตกิ าร 2 นาวสาวสวุ นนั ท์ ตนั สขุ ี พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั ิการ 3 นางสาวฐติ ริ ัตน์ เลา้ อรุณ 4 นางสาวปิยะภรณ์ อนิ ทองหลาง พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ 5 นางสาวชดิ ชนก กาฬภกั ดี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หอผู้ปว่ ยอายรุ กรรมหญงิ 1 1 นางสาวกิ่งกาญจน์ ไกรศรีแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2 นางสาวอารยา ระดาบุตร พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการ หอผปู้ ่วยอายรุ กรรมหญงิ 2 1 นางสาวกมลพร พยหุ เกียรติ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ 2 นางสาววศนิ ี รอดประสทิ ธช์ิ ัย พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ หอผปู้ ่วยศัลยกรรมชาย 1 นางสาวองั คนา เพ่งดี พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ 2 นางสาววรัญญา ครองระวะ พยาบาลวิชาชพี ปฏิบัตกิ าร หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ตั ิการ 1 นางสาวนำ้ ฝน พนู ทรพั ย์ พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั ิการ 2 นางสาวสกุลรัตน์ รชตวณชิ ย์ พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัตกิ าร 3 นางสาวปรียานุช จนั ทร์แจ่มหล้า 4 นางนริศรา ทองไชยศรี 5 นางสาวมทั นา อย่เู ปี่ยม 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที ่ีกำหนดให้มีการฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศกึ ษาของหลักสูตร ภาคการศกึ ษาที่ 1 ช้ันปีท่ี 3
3 6. รายวชิ าทตี่ ้องเรยี นมากอ่ น (Pre-requisites) ไมม่ ี 7. รายวิชาทตี่ ้องเรียนพร้อมกนั (Co-requisites) ไม่มี 8. วนั ท่ีจัดทำหรือปรับปรงุ รายละเอยี ดของรายวิชาประสบการณภ์ าคสนามครง้ั ลา่ สดุ วันท่ี 3 พฤษภาคม 2566 9. สถานทฝ่ี ึกประสบการณ์ภาคสนาม โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบด้วย หอผู้ป่วยอายรุ กรรมชาย 1, 2 หอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรมหญิง 1, 2 หอผู้ปว่ ยศัลยกรรมชาย หอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมหญิง หมวดท่ี 2 จุดมุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ 2.1 จุดม่งุ หมายของประสบการณ์ภาคสนาม นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ วางแผน ตัดสินใจทางคลินิคและปฏิบัติการพยาบาลท่ีถูกต้อง และเหมาะสมกับการส่งเสริมสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีภาวะสุขภาพดี และผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่ เจ็บป่วยในระยะฉุกเฉิน วิกฤต และเร้ือรัง ท้ังด้านอายุรกรรมและศัลยกรรม โดยคำนึงถึงการพยาบาล ต่างวัฒนธรรม ประเด็นและแนวโน้มด้านสิทธิผู้ป่วย สิทธิมนุษยชน กฎหมาย จริยธรรม และ จรรยาบรรณทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2.2 ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ของรายวิชา (Course Learning Outcomes: CLO): นักศกึ ษาสามารถ CLO1: ประยกุ ต์ใชค้ วามรทู้ างการพยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตรอ์ ่ืนทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การ ส่งเสริมสุขภาพผใู้ หญ่และผูส้ งู อายุทม่ี ีภาวะสุขภาพดี และผู้ใหญแ่ ละผสู้ ูงอายทุ ่เี จบ็ ปว่ ยในระยะฉกุ เฉนิ วิกฤต และเร้อื รงั ท้งั ดา้ นอายรุ กรรมและศลั ยกรรม CLO2: ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลดูแลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุท่ีเจ็บป่วยใน ระยะฉุกเฉิน วิกฤต และเร้ือรัง ท้ังด้านอายุรกรรมและศัลยกรรม ในระบบตา หู คอ จมูก ระบบความ สมดุลของสารน้ำ เกลือแร่ และกรดด่าง ระบบผิวหนัง ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบโลหิตและน้ำเหลือง ระบบกระดูกและกล้ามเน้ือ มะเร็ง และนรีเวชวิทยา การพยาบาลก่อน ระหว่างและหลังผา่ ตัด CLO3: แสดงออกถึงถึงความซ่อื สตั ย์ และมีวินัยมีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏบิ ตั ิตาม
4 มาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชีพ รว่ มกับคำนงึ ถึงโดยคำนึงถึงการพยาบาลต่างวฒั นธรรม CLO4: แสดงออกถึงการคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ และมที ักษะแกไ้ ขปญั หาอย่างเป็นระบบ CLO5: เลือกใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมทางด้านสุขภาพในการ ประเมินความปวดในผู้ป่วยหลังการผา่ ตัด CLO7: ส่ือสารดว้ ยภาษาไทยและภาษาองั กฤษไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ CLO9: แสดงออกถึงการมีภาวะผู้นำ การทำงานเปน็ ทีมและมีมนุษยสมั พนั ธ์ CLO10: แสดงออกถึงความมจี ติ อาสาในการให้บริการ ความสอดคลอ้ งของ PLO และผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องกระบวนวชิ า PLOs PLOs + Sub- PLOs CLO PLO1 ประยุกตใ์ ช้ความรูท้ างการพยาบาล การผดงุ ครรภ์ และศาสตรอ์ ื่นที่เกย่ี วขอ้ ง 1.1 1.1 ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูท้ างการพยาบาล การผดงุ ครรภ์ และศาสตร์อ่ืนทีเ่ กย่ี วข้อง ในการดูแลผปู้ ว่ ย CLO1 1.2 1.2 ประยุกตใ์ ช้ความรู้ทางการพยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตร์อน่ื ทีเ่ กี่ยวข้อง ในการออกแบบ CLO1 บริการพยาบาลเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของชุมชนทอ้ งถิ่น 1.3 1.3 ประยุกต์ใช้ความรูใ้ นการพยาบาลผสู้ ูงอายุ CLO1 PLO2 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลแบบองคร์ วมด้วยความปลอดภัยตามมาตรฐานวิชาชีพและยอมรับความแตกต่างทาง วัฒนธรรม 2.1 ปฏิบตั ิการพยาบาลเพอื่ ความปลอดภัยของผูร้ ับบรกิ าร CLO2 2.2 ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยคำนึงถงึ สิทธิและความแตกต่างทางวฒั นธรรม CLO2 2.3 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลในสถานการณ์ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไดอ้ ย่างเหมาะสม CLO2 PLO3 แสดงออกถงึ ถงึ ความซ่อื สัตย์ และมวี ินัยมีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานจรรยาบรรณ CLO3 วชิ าชีพ PLO4 แสดงออกถึงการคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ และมที ักษะแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเป็นระบบ CLO4 PLO5 เลอื กใช้เทคโนโลยีในการสรา้ งสรรค์งานวิจยั นวัตกรรมทางดา้ นสุขภาพ และสือ่ สารได้ 5.1 สามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้างสรรค์งานวจิ ยั และนวตั กรรมทางด้านสุขภาพได้อย่างเหมาะสม CLO5 5.2 สือ่ สารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ CLO7 5.3 เลือกใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธภิ าพ CLO5 PLO6 แสดงออกถงึ การมภี าวะผนู้ ำ การทำงานเปน็ ทีมและมีมนษุ ยสมั พันธ์ CLO9 PLO7 แสดงออกถงึ ความมจี ติ อาสาในการให้บรกิ าร CLO10 2. วัตถปุ ระสงค์ของการพฒั นาหรอื ปรับปรงุ ประสบการณ์ภาคสนาม
5 จากผลการประเมินรายวิชาในปีการศึกษา 2565 พบว่ามีด้านที่ควรนำมาปรับปรุงเพ่ือให้เกิด การพัฒนาท่ีดีขึ้นในส่วนของนักศึกษา คือ การเตรียมตัวก่อนเรียน อยู่ระดับปานกลาง μ = 4.32 (σ 0.72) นอกจากน้ีจากผลการประเมินของแหล่งฝึกปฏิบัติมีข้อเสนอแนะให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติในหอ ผู้ป่วยที่หลากหลายข้ึนเพ่ือให้ได้ประสบการณ์เพิ่มข้ึน และมีการเรียนรู้ทางวิชาการร่วมกันระหว่าง นักศกึ ษา อาจารย์ และพยาบาล/อาจารยพ์ เิ ศษภาคปฏิบตั ิ จากผลการประเมินดังกล่าว ปีการศึกษา 2565 ได้มีข้อเสนอแนะที่สอดคล้องเพื่อการ ปรบั ปรุงพัฒนาได้แก่ 2.1 กระตุ้นให้นักศึกษามีการเตรียมตัวก่อนการฝึกปฏิบัติด้วยวิธีการที่น่าสนใจ เช่น การ มอบหมายกรณีศึกษา 5-10 กรณีศึกษาที่จะพบได้บอ่ ยในการฝึกปฏิบัติ ให้นักศึกษาได้เลือกกรณีศึกษา ท่ีตนเองน้ันสนใจมากท่ีสุด แล้วให้มีการเตรียมตัวสืบค้นความรู้และข้อมูลนำมาวิเคราะห์ตามกระบวน พยาบาลแลว้ นำมาประยุกตใ์ ช้กบั simulation 2.2 จัด Preclinic ให้นักศึกษาโดยการเทคนิคการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่และ Active learning รว่ มกับการสอนสาธิตโดยอาจารย์ประจำกลุ่มซึ่งสอดคล้องกับผลการประเมนิ ด้วยวิธีอนื่ ๆ รวมถึงวิธีการ ในข้อ 2.1 ร่วมด้วย ท้ังนี้ได้วางแผนดำเนินการจัด Preclinic ในวันที่ 7-8 สิงหาคม 2566 และ 4-5 กันยายน 2566 2.3 เชญิ อาจารย์พเิ ศษภาคปฏบิ ตั ิเข้ารว่ มการปฐมนิเทศและเปน็ ทมี วทิ ยากรในการเตรียมความ พรอ้ มนกั ศึกษาดว้ ยการใช้ simulation 2.4 จัดให้มีการศึกษาดูงานในหอผู้ป่วย/หน่วยงานที่ตรงกับประสบการณ์ที่นักศึกษาควรได้รับ เพมิ่ เตมิ และจัดประสบการณก์ ารฝกึ ปฏบิ ตั ิงานในเวลาบ่ายดกึ 2.5 จัดให้มีวัน Conference ท่ีโรงพยาบาลร่วมกันของนักศึกษาพยาบาล อาจารย์ และ พยาบาล/อาจารยพ์ เิ ศษภาคปฏิบัติ นอกจากน้ีเตรียมแผนสำรองสำหรับการฝึกปฏิบัติห้อง NLRC หากเกิดสถานการณ์แพร่ระบาด ของโรคระบาดในอนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ รวมถึงปรับสาระวิชาในการฝึกปฏิบัตใิ นมีความทนั สมัย เชน่ ผ้ปู ว่ ยทมี่ ีภาวะแทรกซอ้ นจากโควิด 19 (long COVID19) โรคอุบัติใหม่ เป็นต้น สำหรับประเด็นท่ีโดดเด่นของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2562) จาก หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559) ท่ีรายวิชานำมาพัฒนาปรับปรุงประเด็น หลัก คอื เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทางด้านสุขภาพ ความรอบร้ใู นดา้ นสุขภาพ และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
6 หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนนิ การ 3.1 คำอธบิ ายโดยท่วั ไปของประสบการณภ์ าคสนามหรือคำอธิบายรายวิชา ฝึกปฏบิ ัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ ูงอายุ ทีม่ ีภาวะสุขภาพดแี ละเจ็บป่วย โดยใชก้ ระบวนการ พยาบาลในการดูแลระยะฉุกเฉิน วิกฤต และเรื้อรัง อายุรกรรมและศัลยกรรม ในระบบตา หู คอ จมูก ระบบความสมดุลของสารน้ำ เกลือแร่ และกรดดา่ ง ระบบผิวหนัง ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดิน ปัสสาวะ ระบบโลหิตและน้ำเหลือง ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ มะเร็ง และนรีเวชวิทยา การพยาบาล ก่อน ระหว่างและหลังผ่าตัด ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องในการดูแล การส่งเสริมการ ฟ้ืนตัว การจัดการความปวด การใช้ยาอย่างสมเหตุผล โภชนบำบัด การพยาบาลต่างวัฒนธรรม ประเด็นและแนวโน้มดา้ นสทิ ธิผู้ปว่ ย สิทธมิ นุษยชน กฎหมาย จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณที่เกย่ี วข้อง 3.2 จำนวนชว่ั โมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา 135 ชัว่ โมง 3.3 การจดั กจิ กรรม 2.1. กจิ กรรมนักศกึ ษา 1. ปฏบิ ัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล ได้แก่ 1) ประเมินภาวะสุขภาพด้วยการรวบรวมข้อมูลจากการตรวจร่างกาย ผลการตรวจ ตา่ งๆ การซักประวัติตาม 11 แบบแผน 2) วินิจฉยั ปัญหาทางการพยาบาล โดยการวเิ คราะห์ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ ภาวะ สขุ ภาพ รวมถงึ วัตถปุ ระสงค์การพยาบาลและเกณฑก์ ารประเมินผล 3) วางแผนการพยาบาลท่ีสอดคลอ้ งกับปญั หาทางการพยาบาล 4) ปฏบิ ัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาลท่ีวางแผนไว้ และปรกึ ษากบั อาจารย์ ผู้สอนภาคปฏบิ ตั หิ รอื อาจารย์พิเศษภาคปฏิบัตเิ มอื่ มกี ารเปลี่ยนแปลง 5) ประเมนิ ผลการพยาบาลทุกครง้ั หลังให้การพยาบาล 6) บนั ทึกกจิ กรรมการพยาบาลในแบบบนั ทึกทางการพยาบาล 2. ฝึกทักษะการปฏิบัติการพยาบาลที่ไม่ซับซ้อนแก่ผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ระยะฉุกเฉิน เฉยี บพลนั วิกฤต และเรื้อรงั เช่น 2.1.2.1 ประเมนิ และจัดการกับอาการหรือปัญหาท่ีพบไดบ้ อ่ ย ได้แก่ 1) ความปวด 2) ความเครียด 3) การเกิดแผลและการติดเช้ือ 4) ความไมส่ มดลุ ของกรดดา่ งและอเิ ลคโตรไลท์
7 2.1.2.2 ปฏิบัติการพยาบาลผปู้ ว่ ยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ระยะฉุกเฉนิ เฉียบพลัน วกิ ฤต และเรื้อรงั ทม่ี คี วามผิดปกตแิ ละภาวะของโรค ดงั นี้ 1) ระบบทางเดินอาหาร 2) ระบบผวิ หนงั โครงรา่ งและกลา้ มเนอ้ื 3) ตา หู คอ จมกู 4) นรีเวชวทิ ยา 5) โรคมะเรง็ 6) ระบบเลอื ดและน้ำเหลือง 2.1.2.3 ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ ระยะฉกุ เฉนิ เฉียบพลนั วิกฤต และเรอ้ื รัง และครอบครวั 2.1.3 สาธติ ยอ้ นกลับการสอนทางคลินิก (Clinical teaching) เมือ่ อาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏิบัติได้ แนะนำและสาธิต ดงั นี้ 2.1.3.1. การพยาบาลผู้ปว่ ยศลั ยกรรม ไดแ้ ก่ หอผปู้ ่วยศลั ยกรรมหญิง ศลั ยกรรมชาย 1) การตดั ไหม หรอื off staple 2) การเตรียมผปู้ ่วยกอ่ นผา่ ตดั และการดูแลผปู้ ว่ ยหลังผา่ ตัด 3) การดูแลแผลผ่าตัดทีม่ ีท่อระบาย 2.1.3.2. การพยาบาลผปู้ ่วยอายุรกรรม ไดแ้ ก่ อายรุ กรรมหญงิ 1, 2 และอายรุ กรรมชาย 1, 2 1) การจดั ทา่ ระบายเสมหะ 2) การดูแลผ้ปู ว่ ยที่ได้รับออกซเิ จนวิถีทางต่างๆ 2.1.4 รว่ มประชมุ กอ่ นและหลังการปฏบิ ัติการพยาบาล 2.1.5 ศกึ ษาผปู้ ว่ ยเฉพาะกรณี และนำเสนอเป็นรายบคุ คล 2.1.6 ศึกษาดงู านสถานการณจ์ รงิ ที่หนว่ ยงานห้องผา่ ตดั หอ้ งพักฟน้ื นรเี วชกรรม ตาหูคอ จมูก และออรโ์ ธปิดิกส์ 2.1.7 ทำงานรว่ มกบั สหสาขาวิชาชีพ และนำเสนอกรณศี กึ ษารายบคุ คลโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทีท่ นั สมยั 3.4 รายงานหรอื งานทน่ี กั ศกึ ษาไดร้ ับมอบหมาย กำหนดส่ง สง่ ทุกเช้าวนั ที่มีการปฏบิ ตั ิงาน รายงานหรอื งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย การมีสว่ นร่วมของนักศึกษา และรวบรวมส่งทุกฉบบั ทกุ วันศุกร์ แผนการพยาบาลผูป้ ่วยประจำวัน นกั ศึกษาเลอื กดูแลผู้ปว่ ยเองตาม ขอบเขตของรายวชิ าภายใตก้ ารดูแล ของอาจารย์ประจำกลมุ่ /อาจารย์ พเิ ศษภาคปฏิบตั ิ
8 รายงานหรืองานที่ได้รบั มอบหมาย การมีส่วนรว่ มของนกั ศึกษา กำหนดส่ง รายงานกรณีศึกษาผู้ปว่ ยเฉพาะราย นักศึกษาเลือกดูแลผปู้ ่วยเองตาม กลมุ่ 1 (อายุรกรรมชาย 1) ในหอผูป้ ่วยทขี่ ้ึนฝกึ ปฏบิ ตั ิงานและ ขอบเขตของรายวิชาภายใต้การดูแล วนั ที่ 4 กันยายน 2566 นำเสนอตามวนั ท่ีกำหนด ของอาจารย์ประจำกลุ่ม/อาจารย์ กลมุ่ 2 (ศลั ยกรรมหญงิ ) พเิ ศษภาคปฏบิ ัติ วนั ที่ 4 กันยายน 2566 สอบ OSCE ที่คณะพยาบาลศาสตร์ กลมุ่ 3 (อายุรกรรมหญิง 2) นักศึกษาร่วมประเมนิ ผลและให้ วนั ท่ี 4 กันยายน 2566 นำเสนอ Case study ท่คี ณะ ขอ้ เสนอแนะสำหรับการจดั สอบคร้ัง กลุ่ม 4 (ศัลยกรรมหญงิ ) พยาบาลศาสตร์ ตอ่ ไป วนั ที่ 2 ตลุ าคม 2566 นกั ศึกษาเลือกนำเสนอกรณศี ึกษาเอง กลุ่ม 5 (อายุรกรรมชาย 1) Conference day ท่ีโรงพยาบาล ตามขอบเขตของรายวชิ าภายใตก้ าร วนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2566 นครปฐม ดแู ลของอาจารยป์ ระจำกลุ่ม/อาจารย์ กลุ่ม 6 (อายุรกรรมชาย 2) พเิ ศษภาคปฏบิ ตั ิ วนั ที่ 2 ตุลาคม 2566 ศกึ ษาดงู านสถานการณ์จรงิ นกั ศกึ ษาเลือกนำเสนอกรณีศึกษาเอง กลุ่ม 7 (ศัลยกรรมชาย) กลุ่ม 1,2 ตามขอบเขตของรายวชิ าภายใต้การ วันที่ 2 ตุลาคม 2566 กลมุ่ 3 ดแู ลของอาจารย์ประจำกลมุ่ /อาจารย์ กลุ่ม 1, 2, 3 วันที่ 1 กนั ยายน 2566 กลมุ่ 4, 5 พเิ ศษภาคปฏบิ ัติ กลุ่ม 4, 5, 6, 7 วนั ที่ 29 กันยายน กลุ่ม 6, 7 นักศกึ ษาร่วมประเมนิ ผลและให้ 2566 Simulation ข้อเสนอแนะสำหรับการจดั ครัง้ ต่อไป กลมุ่ 1, 2, 3 วันท่ี 1 กันยายน 2566 กลุ่ม 1, 2, 3 กลุ่ม 4, 5, 6, 7 วันท่ี 29 กนั ยายน กล่มุ 4, 5, 6, 7 นกั ศึกษาเลือกสถานการณ์จำลอง 2566 เสมือนจริงตามขอบเขตรายวิชาใน การฝึกปฏิบัติ กลุ่ม 1, 2, 3 วันท่ี 17, 30 สิงหาคม 2566 กลมุ่ 4, 5, 6, 7 วันท่ี 14, 27 กนั ยายน 2566 วันท่ี 31 สงิ หาคม 2566 วนั ที่ 24 สิงหาคม 2566 วนั ท่ี 11 กันยายน 2566 วันที่ 28 กนั ยายน 2566 วนั ที่ 7, 8, 11, 18, 25 สงิ หาคม 2566, 1 กันยายน 2566 วนั ท่ี 4, 5, 8, 15, 22, 29 กันยายน 2566
9 3.5 การติดตามผลการเรยี นร้กู ารฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศกึ ษา 1) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติตรวจบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย พร้อมท้ังสะท้อนให้นักศึกษา รบั ทราบขอ้ บกพรอ่ ง เพ่อื นำไปแกไ้ ข 2) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติตรวจแผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน พร้อมท้ังสะท้อนให้ นกั ศกึ ษารับทราบข้อบกพร่องและนำไปแกไ้ ขในวันถัดไป 3) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติรับฟังการนำเสนอกรณีศึกษา และตรวจรายงาน พร้อมให้ ขอ้ เสนอแนะ 4) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติฟังการนำเสนอ และตรวจรายงานกรณีศึกษาท่ีมีการอ้างอิง บทความวชิ าการหรอื บทความวิจยั ทั้งภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ 5) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติประเมินผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบประเมินผล การฝึกปฏบิ ัติการพยาบาล 3.5 หน้าทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของอาจารย์พิเศษภาคปฏบิ ตั ิ (Preceptor) 1) ปฐมนิเทศนกั ศึกษาเก่ยี วกับกฎระเบยี บ ข้อปฏิบตั ขิ องหนว่ ยงาน 2) แนะนำสถานที่ เคร่อื งมือ อปุ กรณข์ องหนว่ ยงานท่ีสามารถนำมาใช้เพ่ือการฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 3) แนะนำบคุ ลากรท่ีเก่ียวขอ้ งหรือท่ีตอ้ งทำงานร่วมกัน 4) ตดิ ตามความก้าวหน้า ประเมนิ การทำงานของนกั ศึกษาฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 5) ประสานงาน ประชุมกับอาจารย์ท่ีรับผิดชอบวชิ า อาจารย์นิเทศเพ่ือใหเ้ หน็ สิ่งที่ควรปรบั ปรุง ในการฝกึ ประสบการณภ์ าคสนาม 6) ร่วมประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของนักศกึ ษา 3.6 หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของอาจารย์สอนภาคปฏบิ ัติ 1) จดั ตารางการฝกึ ปฏบิ ัติงาน 2) ปฐมนิเทศรายวิชา กฎระเบียบ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ว่าด้วยการฝึก ปฏิบตั งิ าน 3) ประสานงานกับแหล่งฝึก ชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับรายวิชาและความต้องการการพัฒนา นักศึกษาของรายวิชา 4) มอบหมายกรณีศึกษาและผู้ป่วยเป็นรายบุคคลให้นักศึกษาดูแลร่วมกับพยาบาลประจำหอ ผปู้ ่วย 5) ฝึกประสบการณภ์ าคสนามใหน้ ักศกึ ษาไดม้ ีทกั ษะ ประสบการณใ์ นการดูแลผปู้ ่วยผใู้ หญแ่ ละ ผู้สูงอายุในหอผู้ป่วย/หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น สาธิต ให้คำแนะนำปรึกษา การ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล การประชุมก่อนและหลังการปฏิบัติการพยาบาล การอภิปรายประเด็นจริยธรรมใน การปฏิบตั ิการพยาบาล 6) รว่ มกิจกรรมกบั นกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ การรบั สง่ เวร การตรวจเยยี่ มทางการพยาบาล
10 7) ประเมินผลการปฏบิ ัติงานของนักศกึ ษา และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นกั ศึกษา เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษา ได้พฒั นาตนเอง 8) อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษาในการปฏิบัติการพยาบาลและการ ดแู ลผ้ปู ่วยรวมทั้งการตดิ ตอ่ สอื่ สารและการทำงานรว่ มกบั ทมี 9) ใหก้ ารพยาบาลแก่ผรู้ บั บรกิ ารตามสถานการณ์ 3.7 การเตรียมการในการแนะแนวและชว่ ยเหลือนักศึกษา 1) ปฐมนิเทศรายวชิ ากอ่ นการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน จดั เตรียมหอผูป้ ว่ ย/ หนว่ ยงาน และประสานงาน กบั แหลง่ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 2) เตรียมความพร้อมของนักศกึ ษากอ่ นฝึกประสบการณว์ ิชาชพี 3) ปฐมนเิ ทศแหล่งฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 3.8 ส่ิงอำนวยความสะดวกและการสนบั สนนุ ทต่ี ้องการจากสถานทที่ ่ีจดั ประสบการณ์ภาคสนาม / สถานประกอบการ 1) มีห้องสมุดสำหรบั การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 2) มหี อ้ ง/สถานที่สำหรบั การประชมุ กอ่ นและหลังการปฏิบัติการการพยาบาล 3) มีหนังสือ วารสารทางการพยาบาล-แพทย์ในหอผปู้ ว่ ย หมวดที่ 4 การวางแผนและการเตรยี มการสำหรบั การฝกึ ประสบการณ์ภาคสนาม 4.1 การกำหนดสถานทฝี่ ึกประสบการณภ์ าคสนาม สถานที่ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม คือ โรงพยาบาลนครปฐม ประกอบด้วย หอผู้ป่วยอายุรกรรม ชาย 2 หอผ้ปู ่วยอายรุ กรรมหญิง 1,2 หอผูป้ ว่ ยศัลยกรรมชาย หอผปู้ ่วยศัลยกรรมหญงิ สถานท่ีศึกษาดูงาน คือ หน่วยงานห้องผ่าตัดและพักฟื้น หน่วยงานตาหูคอจมูก หน่วยงานนรี เวช และหอผู้ป่วยศลั ยกรรมกระดูก 4.2 การเตรยี มนักศึกษา 1) ปฐมนเิ ทศรายวิชาเพ่อื ช้แี จงรายละเอียด รวมท้งั เตรยี มความพรอ้ มก่อนขึ้นฝกึ ปฏบิ ัติ 2) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการพยาบาลในห้องปฏิบัติการทางการพยาบาล และ Simulation กอ่ นเรม่ิ ตน้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
11 กำหนดการการปฐมนิเทศและการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการฝึกปฏิบัติ (Preclinic) วนั ท่ี 7-8 สงิ หาคม 2566 สำหรบั กลมุ่ ท่ี 1-3 และวนั ท่ี 4-5 กนั ยายน 2566 สำหรบั กลมุ่ ท่ี 4-7 สถานที่ หอ้ ง 311 และหอ้ ง Simulation วันเวลา หวั ขอ้ ผ้รู ับผิดชอบ วันที่ 7 สงิ หาคม 2566 และวนั ที่ 4 กนั ยายน 2566 08.00-08.30 น ลงทะเบยี น นางสาวอนั ธกิ า 08.30-09.00 น. ปฐมนิเทศรายวิชาการฝกึ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และผ้สู ูงอายุ 1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยว์ รางคณา - กฎระเบยี บการฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาล และการปฏบิ ตั ติ ัว สายสทิ ธ์ิ - รายละเอียดรายวิชา ประสบการณก์ ารฝึกปฏบิ ตั ิ อาจารย์จฑุ าทิพย์ เทพสุวรรณ์ - งานที่มอบหมาย และการประเมนิ ผล อาจารย์อ้อฤทยั ธนะคำมา แนะนำอาจารย์พิเศษภาคปฏบิ ัติ 09.00-10.00 น. แนะนำหอผู้ป่วยและทบทวนสิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมในการฝึก ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาล ปฏบิ ตั กิ ารในสถานการณจ์ ริง นครปฐม 10.00-11.00 น การเตรียมฝึกปฏิบัติด้วยการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา 11.00-12.00 น (Simulation Based Learning: SBL) สายสิทธิ์ 12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น. -รปู แบบการฝกึ ปฏิบัติ 16.00-16.30 น. -การเตรยี มและการแบง่ กลุ่มยอ่ ยเตรียมฝกึ ปฏบิ ัติ ศกึ ษาสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ ในการฝึกปฏิบตั ิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงนุ ช เชาวนศ์ ลิ ป์ อาจารย์ ดร.กรวรรณ สวุ รรณสาร อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา อาจารย์อนัญญา โสภณนาค ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาล นครปฐม พกั รับประทานอาหารกลางวัน ฝึกปฏบิ ตั ดิ ้วยการใช้ simulation ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงนุ ช สรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้และต้องพัฒนาต่อไปจากการฝึกปฏิบัติด้วยการใช้ เชาวนศ์ ลิ ป์ simulatiom อาจารย์ ดร.กรวรรณ สุวรรณสาร อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ เทพสวุ รรณ์ อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา อาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค
12 วนั เวลา หวั ขอ้ ผู้รับผดิ ชอบ ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาล วนั ท่ี 8 สงิ หาคม 2566 และวนั ท่ี 5 กนั ยายน 2566 นครปฐม 08.30-09.00 น ลงทะเบียน นางสาวอันธกิ า 09.00-12.00 น. ฝกึ ปฏบิ ัตดิ ้วยการใช้ simulation ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงนุ ช เชาวน์ศิลป์ อาจารย์ ดร.กรวรรณ สวุ รรณสาร อาจารยจ์ ฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ อาจารยอ์ อ้ ฤทัย ธนะคำมา อาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาล นครปฐม 12.00-13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ทบทวนฝึกปฏิบัติทักษะทางการพยาบาล (ตามความต้องการฝึกและ 16.00-16.30 น. การไดร้ ับขอ้ มูลย้อนกลับจากการทำ Simulation) (แบ่งนกั ศกึ ษา 4 กล่มุ เข้าฐานละ 1 กลุ่ม ๆ ละ 40 นาท)ี ฐาน 1 การทำความสะอาดแผล (แผลปดิ แผลเปิด แผลทอ่ ระบาย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธิ์ อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค ฐาน 2 การพ่นยาและการดูดเสมหะ อาจารยอ์ อ้ ฤทยั ธนะคำมา อาจารยจ์ ุฑาทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ ฐาน 3 การเจาะเลือดและให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ อาจารย์ ดร.กรวรรณ สุวรรณสาร ฐาน 4 การประเมนิ คลนื่ ไฟฟ้าหัวใจ 12 leads และการแปลผล ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์นงนุช เชาวนศ์ ิลป์ พบอาจารย์ประจำกลุ่ม อาจารย์ประจำกลุ่ม
13 กำหนดการศกึ ษาดงู านโครงการจดั การเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล กจิ กรรมศกึ ษาดูงานรายวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญ่และผสู้ ูงอายุ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม กลุ่มท่ี 3 (นกั ศกึ ษา 7 คน) วนั ท่ี 24 สิงหาคม 2566 กลมุ่ ที่ 1, 2 (นกั ศึกษา 14 คน) วนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2566 กลุม่ ที่ 6, 7 (นักศึกษา 14 คน) วันที่ 11 กนั ยายน 2566 กลุ่มที่ 4, 5 (นกั ศึกษา 14 คน) วนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2566 เวลา หัวขอ้ การศึกษาดูงาน วทิ ยากร หน่วยงาน 08.00-09.00 ลงทะเบียน นางวารุณี นาสุรนิ ทร์ หนว่ ยงานหอ้ งผา่ ตัด ศกึ ษาสถานการณ์จริงบทบาทของ นางสาวสุดาวดี พงษ์ศกั ด์ิ น. พยาบาลทมี่ ีหน้าท่ีในห้องผ่าตัด หน่วยงานห้องพกั ฟ้นื เพ่ิมขนึ้ เช่น พยาบาลวิสญั ญี นางอัญญช์ ิสา หอผปู้ ว่ ยศัลยกรรม 09.00-10.00 พยาบาลประจำห้องผา่ ตดั ฉัตรมหาวีรภัทร กระดูก น. (Operating room nurse) พยาบาล นางสาวสณุ ภิ า ชยั ศรี สง่ เครื่องมือ (Scrub nurse / Sterile ประเสรฐิ หอผปู้ ่วยนรีเวช 10.30-11.30 น nurse) พยาบาลช่วยทีมผา่ ตัดหรือ พยาบาลชว่ ยรอบนอก Circulating นางสาวสนุ ิสา คำมะเมอื ง 11.30-12.30 nurse) ศึกษาสถานการณ์จริงใน นางสาววนศิ า เมฆอรุณ น. หน่วยงานผา่ ตัด ศึกษาสถานการณจ์ รงิ บทบาทของ 12.30-13.30 พยาบาลวสิ ัญญีและศึกษา น. สถานการณจ์ ริงในหนว่ ยงานห้อง พักฟนื้ ศกึ ษาสถานการณ์จริงบทบาทของ พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยหรอื ผ้บู าดเจบ็ ท่มี ปี ัญหาของระบบกระดูก เช่น การดแู ลผ้ปู ่วยท่ี on skeletal / skin traction, on cast / splint การฟ้นื ฟูสภาพ การดูแลผปู้ ่วยท่ี เปลย่ี นข้อสะโพก/ขอ้ เขา่ เป็นต้น พักรับประทานอาหารกลางวนั ศกึ ษาสถานการณจ์ ริงการพยาบาล ผู้ป่วยทีม่ ีปญั หาระบบนรเี วช
14 เวลา หวั ขอ้ การศกึ ษาดูงาน วทิ ยากร หน่วยงาน 14.00-15.00 น ศกึ ษาสถานการณจ์ รงิ การพยาบาล นางนิภาวรรณ ทบั ทิม หอผปู้ ว่ ยหู คอ ตา จมูก นางสุกัญญา ศริ ิชยั ผปู้ ่วยท่ีมปี ญั หาระบบตาหูคอจมูก นางศุภสิ รา ไสยาศรี นางธัญภา วรกุลศภุ ภัค กำหนด Conference Day ณ โรงพยาบาลนครปฐม กลมุ่ ที่ 1-3 วันที่ 17, 30 สงิ หาคม 2566 กลมุ่ ท่ี 4-7 วนั ท่ี 14, 27 กนั ยายน 2566 วันท่ี 17 สงิ หาคม 2566 กำหนดการ ผู้รบั ผดิ ชอบ อาจารยอ์ นญั ญา โสภณนาค เวลา 08.00-08.30 น. ลงทะเบยี น 08.30-09.30 น นำเสนอกรณีศกึ ษาหอผูป้ ว่ ยศลั ยกรรมหญิง นักศกึ ษากลมุ่ 1 ใหข้ ้อเสนอแนะโดย นกั ศกึ ษากลุ่ม 2 09.30-10.30 น อาจารย์อนัญญา โสภณนาค นกั ศึกษากลมุ่ 3 นางสาววลั ลภา วิวัตรสติ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10.30-11.30 น นำเสนอกรณีศึกษาหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 ให้ข้อเสนอแนะโดย 11.30-13.00 น. อาจารย์ ดร.กรวรรณ สุวรรณสาร 13.00-15.00 น นางกมลพรรณ นาคซ่ือตรง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมชาย ให้ข้อเสนอแนะโดย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์นงนุช เชาวนศ์ ิลป์ นางลลติ า ทองเสมอ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ รับประทานอาหาร ประเมินผลการฝึกปฏบิ ัตงิ าน และให้ขอ้ เสนอแนะ
15 วันที่ 30 สิงหาคม 2566 กำหนดการ ผรู้ ับผิดชอบ อาจารย์อนัญญา โสภณนาค เวลา 08.00-08.30 น. ลงทะเบยี น 08.30-09.30 น นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผปู้ ว่ ยอายุรกรรมชาย 1 นักศึกษากลุม่ 1 ใหข้ ้อเสนอแนะโดย นักศกึ ษากลมุ่ 2 09.30-10.30 น อาจารย์ ดร.กรวรรณ สุวรรณสาร นกั ศกึ ษากลุ่ม 3 นางกมลพรรณ นาคซอ่ื ตรง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ 10.30-11.30 น นำเสนอกรณศี ึกษาหอผูป้ ว่ ยศัลยกรรมหญงิ ใหข้ ้อเสนอแนะโดย 11.30-13.00 น. อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 13.00-15.00 น นางสาววัลลภา วิวัตรสติ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ นำเสนอกรณีศึกษาหอผู้ปว่ ยอายุรกรรมหญงิ 2 ให้ข้อเสนอแนะโดย ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ งนุช เชาวน์ศลิ ป์ นางนพรตั น์ ศรีสุวภิ า พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ รบั ประทานอาหาร ประเมนิ ผลการฝึกปฏิบัตงิ าน และให้ขอ้ เสนอแนะ วันที่ 14 กันยายน 2566 กำหนดการ ผู้รับผิดชอบ อาจารย์อนัญญา โสภณนาค เวลา 08.00-08.30 น. ลงทะเบียน 08.30-09.30 น นำเสนอกรณีศกึ ษาหอผู้ปว่ ยอายุรกรรมชาย 2 นกั ศึกษากลมุ่ 4 09.30-10.30 น ใหข้ ้อเสนอแนะโดย นักศึกษากลุ่ม 5 10.30-11.30 น อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค นกั ศึกษากลุ่ม 6 นางสาวนุชจรนิ ทร์ ดอนจอมไพร พยาบาลวชิ าชีพชำนาญ การ นำเสนอกรณีศกึ ษาหอผู้ปว่ ยศัลยกรรมหญิง ให้ข้อเสนอแนะโดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ นางสาววัลลภา วิวตั รสติ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผู้ปว่ ยศลั ยกรรมชาย ใหข้ ้อเสนอแนะโดย อาจารยอ์ ้อฤทัย ธนะคำมา นางลลิตา ทองเสมอ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
16 เวลา กำหนดการ ผู้รับผิดชอบ 11.30-12.30 น นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผปู้ ่วยอายุรกรรมหญิง 2 นกั ศึกษากลุม่ 7 ให้ข้อเสนอแนะโดย 12.30-13.30 น. อาจารย์จุฑาทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ 13.30-15.00 น นางสาวพรพมิ ล ทว้ มอ้น พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ รบั ประทานอาหาร ประเมินผลการฝึกปฏิบตั งิ าน และให้ข้อเสนอแนะ วันท่ี 27 กันยายน 2566 เวลา กำหนดการ ผู้รับผดิ ชอบ 08.00-08.30 น. ลงทะเบียน อาจารย์อนญั ญา โสภณนาค 08.30-09.30 น นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผู้ป่วยศัลยกรรมหญงิ นกั ศึกษากล่มุ 4 09.30-10.30 น ใหข้ ้อเสนอแนะโดย นกั ศกึ ษากลมุ่ 5 10.30-11.30 น อาจารยอ์ นัญญา โสภณนาค นกั ศึกษากลุ่ม 6 นางสาววัลลภา วิวัตรสติ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ นักศึกษากลุ่ม 7 11.30-12.30 น นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 12.30-13.30 น. ใหข้ ้อเสนอแนะโดย 13.30-15.00 น ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ นางกมลพรรณ นาคซื่อตรง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นำเสนอกรณีศึกษาหอผูป้ ว่ ยอายุรกรรมชาย 2 ให้ข้อเสนอแนะโดย อาจารยอ์ ้อฤทัย ธนะคำมา นางสาวนชุ จรินทร์ ดอนจอมไพร พยาบาลวชิ าชีพชำนาญ การ นำเสนอกรณศี กึ ษาหอผูป้ ่วยศัลยกรรมชาย ใหข้ ้อเสนอแนะโดย อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสุวรรณ์ นางลลิตา ทองเสมอ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ รบั ประทานอาหาร ประเมนิ ผลการฝึกปฏิบัติงาน และให้ขอ้ เสนอแนะ
17 4.3 การเตรียมอาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ัติ จัดประชุมช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการฝึกปฏิบัติ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน การมอบหมายงาน การประเมินผลการเรียนรู้ ตารางการนิเทศ พร้อมคู่มือการนิเทศของ รายวชิ าก่อนการฝกึ ปฏิบตั ิ อยา่ งนอ้ ย 1 สัปดาห์ 4.4 การเตรียมอาจารยิเศษภาคปฏบิ ตั ใิ นสถานทฝ่ี ึก ประสานงานกับหอผู้ป่วย/หน่วยงาน ในการแต่งต้ังอาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติแก่นักศึกษา ในหอ ผู้ป่วย/หน่วยงานอ่ืน ๆ ในกรณีที่อาจารย์ติดภารกิจ หรือมีเหตุการณ์ท่ีไม่สามารถสอนภาคปฏิบัติได้ตาม แผนการฝกึ 4.5 การจดั การความเสย่ี ง 1) จัดรถรับ-ส่งนักศึกษาไปกลับจากแหล่งฝึก – หอพัก (ระเบียบปฏิบัติตามคู่มือการฝึกปฏิบัติ ของรายวชิ า) 2) อาจารย์ให้คำแนะนำ/ สอนระหวา่ งการฝึกปฏิบัติอย่างใกล้ชิด อตั ราส่วนอาจารย:์ นกั ศกึ ษา ไม่เกิน 1: 8 3) ประสานงานกับแหลง่ ฝึกอยา่ งต่อเนือ่ ง 4) จดั ให้มีตวั แทนนกั ศึกษาท่ที ำหน้าทตี่ ดิ ตอ่ ประสานงานกับอาจารยส์ อนภาคปฏิบัติตลอดการฝึกงาน 5) ติดตามความก้าวหน้าระหว่างการฝึกอย่างใกล้ชิด เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคในการฝึก ปฏิบตั งิ านและหาแนวทางแก้ไข 6) จัดเตรียมอาจารย์ให้คำแนะนำ สอน การฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติม ให้แก่นักศึกษา ในกรณี ประเมินผลแล้วนักศึกษาไม่ผ่านเกณฑ์การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ก่อนรายงานผลการศึกษาต่อ มหาวทิ ยาลัย 7) กรณีอาจารย์ผู้สอนมีเหตุจำเป็น ไม่สามารถสอนภาคปฏิบัติในวันท่ีกำหนดได้ ให้จัดวันสอน ชดเชย หรอื ประสานกับพยาบาลพีเ่ ล้ียงในการสอนประสบการณภ์ าคสนามต่อไป 8) จดั หาอปุ กรณ์ป้องกันการติดเชอ้ื ใหน้ กั ศึกษาและอาจารย์ประจำกลมุ่ หมวดที่ 5 การพัฒนานกั ศกึ ษาตามผลลัพธก์ ารเรียนรู้ทคี่ าดหวัง ผลลัพธ์การเรียนรู้ทีค่ าดหวัง กลยทุ ธใ์ นการฝึก กลยทุ ธ์สำหรบั วธิ ีการวัด ของรายวชิ าฝกึ ประสบการณ์ภาคสนาม (CLOs) ประสบการณภ์ าคสนาม และประเมนิ ผล ตาม CLOs ตาม CLOs - การสังเกตพฤติกรรม CLO1: ประยกุ ต์ใช้ความรู้ทางการพยาบาล การ - การฝกึ ปฏบิ ตั ิ (Practice) - การประเมนิ แผนการ พยาบาลและกรณศี ึกษา ผดุงครรภ์ และศาสตรอ์ ่ืนที่เกี่ยวข้อง - การเรียนจากผปู้ ่วย - การ conference
18 ผลลพั ธก์ ารเรียนรูท้ คี่ าดหวงั กลยทุ ธ์ในการฝึก กลยทุ ธส์ ำหรบั วิธีการวัด ของรายวชิ าฝกึ ประสบการณภ์ าคสนาม (CLOs) ประสบการณ์ภาคสนาม และประเมนิ ผล ตาม CLOs ตาม CLOs - การสอบ OSCE - การฝึกปฏิบตั โิ ดยการใช้ - การสงั เกตพฤติกรรม simulation - การประเมนิ แผนการ พยาบาลและกรณศี กึ ษา CLO2: ปฏิ บั ติ การพยาบาลในประเด็นท่ี - การฝกึ ปฏิบตั ิ (Practice) - การสอบ OSCE - การประเมินการปฏิบัติ เกยี่ วขอ้ ง - การเรียนจากผู้ป่วย - การ conference - การฝึกปฏิบตั โิ ดยการใช้ simulation CLO3: แสดงออกถึงถึงความซ่อื สัตย์ และมีวินัย - การสะท้อนความคิด - การสงั เกตพฤติกรรม - การประเมนิ การปฏิบัติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ัตติ าม (Reflective thinking) - การสังเกตพฤติกรรม มาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชีพ - การฝึกปฏิบตั ิ (Practice) - การประเมินการปฏิบตั ิ - การเรียนจากผปู้ ่วย - การสงั เกตพฤติกรรม - การประเมนิ แผนการ - การฝกึ ปฏิบตั ิโดยการใช้ พยาบาลและกรณีศึกษา - การสอบ OSCE simulation - การประเมนิ การปฏิบตั ิ - การประเมนิ การนำเสนอ CLO4:แสดงออกถงึ การคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ และ - การสะท้อนความคิด - การสงั เกตพฤติกรรม - การประเมินแผนการ มีทักษะแกไ้ ขปัญหาอยา่ งเป็นระบบ (Reflective thinking) พยาบาลและกรณศี กึ ษา - การสอบ OSCE - การฝึกปฏิบตั ิ (Practice) - การประเมินการปฏิบตั ิ - การประเมนิ การนำเสนอ - การเรียนจากผปู้ ่วย - การสังเกตพฤติกรรม - การประเมินการปฏิบตั ิ - การฝึกปฏบิ ตั ิโดยการใช้ simulation CLO5:เลือกใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ - การฝึกปฏบิ ัติ (Practice) งานวจิ ัย นวัตกรรมทางดา้ นสขุ ภาพ และ - การเรียนจากผปู้ ว่ ย สื่อสารได้ - การฝกึ ปฏบิ ัตโิ ดยการใช้ simulation - การ conference และ นำเสนอ CLO7: ส่ือสารด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - การฝึกปฏิบัติ (Practice) ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ - การเรียนจากผปู้ ่วย - การฝึกปฏบิ ัตโิ ดยการใช้ simulation - การ conference และ นำเสนอ CLO9: แสดงออกถึงการมีภาวะผู้นำ การทำงาน - การฝกึ ปฏิบตั ิ (Practice) เป็นทมี และมมี นุษยสัมพันธ์ - การเรียนจากผปู้ ่วย
19 ผลลัพธ์การเรียนรู้ทค่ี าดหวัง กลยุทธใ์ นการฝกึ กลยทุ ธ์สำหรบั วิธีการวดั ของรายวชิ าฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (CLOs) ประสบการณ์ภาคสนาม และประเมนิ ผล ตาม CLOs ตาม CLOs - การสงั เกตพฤติกรรม - การฝึกปฏบิ ัติโดยการใช้ - การประเมินการปฏิบัติ simulation CLO10: แสดงออกถึงความมีจิตอาสาในการ - การสะท้อนความคิด ให้บริการ (Reflective thinking) - การฝึกปฏิบตั ิ (Practice) - การเรียนจากผูป้ ่วย หมวด 6 แผนการฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามและการประเมนิ ผล ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ท่คี าดหวงั กิจกรรมการประเมินผลการ สดั ส่วนของการ ผู้ประเมนิ ประเมินผล ของรายวิชา (CLOs) เรยี นรู้ของผู้เรยี น 60% อาจารยป์ ระจำ 15% กลมุ่ / อาจารย์ CLO1: ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ทางการ ประเมนิ การปฏิบัติ พเิ ศษ 15% ภาคปฏบิ ัติ พยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตร์ แบบประเมินรายงาน 10% อ่นื ท่ีเก่ียวข้อง แผนการพยาบาล CLO2: ป ฏิ บั ติ การพ ยาบ าลใน แบบประเมนิ รายงาน ประเด็นทเ่ี กี่ยวข้อง กรณีศึกษา CLO3: แสดงออกถึงถึงความซ่ือสัตย์ แบบประเมินการสอบ OSCE และมีวินัยมีคุณธรรม จริยธรรม และ ปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณ วชิ าชีพ CLO4:แสดงออกถงึ การคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ และมีทักษะแก้ไขปัญหา อย่างเปน็ ระบบ CLO5:เลือกใช้เทคโนโลยีในการ สร้างสรรคง์ านวิจยั นวัตกรรม ทางดา้ นสุขภาพ และสื่อสารได้ CLO7: ส่ือสารด้วยภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
20 ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ทค่ี าดหวัง กจิ กรรมการประเมินผลการ สดั ส่วนของการ ผ้ปู ระเมนิ ของรายวิชา (CLOs) เรียนร้ขู องผเู้ รยี น ประเมินผล CLO9: แสดงออกถึงการมีภาวะผู้นำ การท ำงาน เป็ น ที ม และมี ม นุ ษ ย สมั พนั ธ์ CLO10: แสดงออกถึงความมีจิต อาสาในการให้บรกิ าร หมายเหตุ 1. นกั ศึกษาตอ้ งฝึกภาคปฏิบตั ิใหไ้ ดค้ รบตามเวลาของหนว่ ยกติ 2. นกั ศกึ ษาตอ้ งทำรายงานทกุ ฉบบั และสอบ OSCE (ถา้ ขาดอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ถือวา่ ไมผ่ ่าน) 3. กรณนี กั ศกึ ษามผี ลการเรยี นตำ่ กว่า C ตอ้ งลงทะเบียนเรียนใหม่ เนอ่ื งจากเปน็ รายวชิ าชีพ ท่ีตอ้ งมีผลการเรยี นมากกวา่ C 4. กรณีพบนักศกึ ษากระทำผดิ วนิ ัยในระหวา่ งการฝกึ ปฏบิ ัตขิ องรายวชิ า จะได้รับการสอบสวน จากกรรมการทีเ่ กยี่ วข้อง และไดร้ ับผลการเรียนไมเ่ กนิ C หรือตามมตขิ องกรรมการสอบสวนวินัย หรอื ตามระเบียบทเี่ กี่ยวขอ้ ง 5. นักศกึ ษาตอ้ งปฏิบตั ิตนตามมาตรการปอ้ งกนั และควบคุมการแพรก่ ระจายเชื้อ COVID-19 อย่างเคร่งครดั และมใี บยินยอมในการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลจากผ้ปู กครอง 6. ห้ามนำของมีคา่ ไปในแหลง่ ฝกึ หากนำไปถือว่าผิดข้อกำหนดของคณะฯ และหากเกดิ การ สญู หาย ทางคณะฯจะไม่รบั ผิดชอบใดๆทั้งส้นิ กระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของนกั ศกึ ษา 1) ประเมินผลการปฏบิ ตั ิการพยาบาลตามแบบประเมิน โดยนกั ศึกษาจะได้รบั การประเมิน ในระหว่างการฝึกเพื่อให้มีการพัฒนา ปรับปรุงตนเองก่อนท่ีจะประเมินเพ่ือตัดสินคะแนน โดยให้ คะแนนตาม Rubric 2)ประเมินจากรายงานการวางแผนการพยาบาลผู้ปว่ ยเฉพาะราย โดยให้คะแนนตาม Rubric 3)ประเมินจากรายงานการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย และการนำเสนอ โดยใหค้ ะแนนตาม Rubric 4)ประเมินความรู้ และทักษะหลงั ฝึกปฏิบตั ิ โดยใชก้ ารสอบ OSCE โดยใหค้ ะแนนตาม Rubric 5)ประเมนิ ผลการทำงานรว่ มกันเปน็ ทีมโดยกลุ่มเพ่ือนและอาจารย์พยาบาล จากแบบ ประเมินของรายวิชา
21 หมวดที่ 7 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดำเนนิ การของการฝึกประสบการณภ์ าคสนาม 7.1 กระบวนการประเมินการฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามโดยผู้เกี่ยวขอ้ งตอ่ ไปนี้ 7.1.1 นักศกึ ษา 1) ประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์การฝึกในแง่ของผลการเรียนรู้ ความเพียงพอของแหล่ง สนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสม ของผปู้ ่วย คุณภาพการดูแลจากอาจารย์ผ้สู อนภาคปฏบิ ตั ิ 2) ใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละความต้องการฝึกเพม่ิ 7.1.2 อาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏิบตั ิ 1) ประเมินสมรรถนะของนักศึกษาในภาพรวม เก่ียวกับการบรรลุตามผลลัพธ์การเรียนรู้ ของ การฝึกปฏิบัติ 2) ประเมินผลการจัดประสบการณ์เก่ียวกับความเพียงพอของแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสมของผู้ป่วย คุณภาพ ของอาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ตั ิ 3) ประเมินการทำหน้าท่ขี องตนเอง และอาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ัติ 7.2 กระบวนการทบทวนผลการประเมนิ และการวางแผนปรับปรุง กลุ่มวิชามอบหมายอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาสรุปผลการประเมินการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษา ถึงการบรรลุผลการเรียนรู้ของรายวิชา ประเมินผลการจัดประสบการณ์เก่ียวกับความเพียงพอของแหล่ง สนับสนุนการเรียนรู้ ความพร้อมของแหล่งฝึก ความร่วมมือของทีมสุขภาพ จำนวนและความเหมาะสมของ ผู้ป่วย ประเมินการทำหน้าที่ของตนเอง ของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติภายใน 1 สัปดาห์ หลังส้ินสุดการ ประเมิน นำเสนอกลุ่มวิชาเพ่ือตรวจสอบ และวางแผนปรับปรุงการฝึกปฏิบัติในวิชานี้ให้แล้วเสร็จภายใน 2 สัปดาห์ เพอื่ จัดทำรายงาน (มคอ. 6) ให้เสร็จสน้ิ ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุดภาคการศกึ ษา 7.3 การทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของการฝกึ ปฏิบตั กิ ารพยาบาล/ ภาคสนาม อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบจัดเตรียมคะแนนและเกรดของนกั ศกึ ษาทุกคนในกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่กำหนด ในรายวิชา คะแนนการปฏิบัติการพยาบาล รายงานการวางแผนการพยาบาล รายงานกรณีศึกษาผู้ป่วย เฉพาะราย การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกรณีศึกษา การแปลภาษาอังกฤษ และคะแนนการประเมิน ความรู้ และทักษะหลังการฝึกปฏิบัติ พร้อมกับ มคอ. 6 ตลอดจนเอกสารทุกช้ินที่เกี่ยวข้องกับการ ประเมิน ส่งให้คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของคณะ เพ่ือตรวจสอบ และนำผลการทวนสอบมา ปรับปรุงการประเมินผลสัมฤทธ์ิของนกั ศึกษาต่อไป
22 หมวด 8 ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน หนังสอื /ตำราหลักภาษาไทย 1. ขวัญฤทัย พนั ธ.ุ (บรรณาธิการ). (2562). การพยาบาลผปู้ ่วยที่ไดร้ บั หตั ถการทางการแพทยท์ าง อายรุ กรรม. กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 2. ดนยั ดสุ รกั ษ์. (บรรณาธิการ). (2560). การพยาบาลผ้ปู ว่ ยมะเรง็ (Nursing care for patients with cancer). ราชบรุ ี : วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั . 3. ดำเนนิ สนั ต์ พฤกษากร, จงกลณี เศรษฐกร และบุษยามาส ชวี สกุลยง. (บรรณาธิการ). (2559). การ ดูแลรกั ษามะเร็งระยะลุกลามมาทกี่ ระดูก (Clinical approach for bone metastasis). เชยี งใหม่ : โครงการตำรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. 4. นงณภทั ร ร่งุ เนย. (บรรณาธิการ). (2560). การประเมนิ สุขภาพแบบองค์รวม (Health assessment : A holistic approach). นนทบุรี : โครงการสวัสดกิ ารวชิ าการ สถาบันพระบรมราช ชนก กระทรวงสาธารณสขุ . 5. ประทมุ สร้อยวงศ์. (บรรณาธกิ าร). (2560). การพยาบาลอายุรศาสตร์. เชียงใหม่ : มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ 6. ไพรสดุ า บัวลอย และคณะ. (บรรณาธิการ). (2560). การพยาบาลศลั ยศาสตร์และห้องผ่าตดั ทนั ยุค 3 (Update surgical and perioperative nursing). สงขลา : ภาควิชาศลั ยศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. 7. ผอ่ งพรรณ อรณุ แสง. (บรรณาธกิ าร). (2561). การประเมินภาวะสขุ ภาพผใู้ หญแ่ ละผสู้ ูงอายุ : การ ประยุกต์ใชใ้ นการพยาบาล. ขอนแก่น : คณะพยาบาลศาสตร์. 8. วิจิตรา กุสมุ ภ.์ (บรรณาธกิ าร). (2560). การพยาบาลผปู้ ่วยภาวะวกิ ฤตแบบองคร์ วม (Critical care nursing : A holistic approach). กรุงเทพฯ : สามญั นิตบิ ุคคล สหประชาพาณิชย.์ 9. วภิ า แซ่เซยี้ . (บรรณาธกิ าร). (2561). การจดั การแผลเรือ้ รงั บทบาทท่ีท้ายทายของพยาบาล. กรงุ เทพฯ : สหมติ รพัฒนาการพมิ พ์ (1992). 10. ศริ ริ ตั น์ ปานอุทัย และทพิ าพร วงศห์ งษ์กลุ . (บรรณาธิการ). (2562). การปฏิบัตกิ ารพยาบาลทาง อายรุ กรรม. เชียงใหม่ : โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ 11. ศรีเวียงแกว้ เตง็ เกยี รตต์ิ ระกูล และเบญจมาภรณ์ บุตรศรภี ูมิ. (บรรณาธิการ). (2559). การ พยาบาล ปริศัลยกรรม (Perioperative Nursing). กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาล รามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล. 12. สมพร ชินโนรส. (บรรณาธกิ าร). (2561). การพยาบาลทางศัลยศาสตร์ เลม่ 2. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ด.ี
23 13. อนงค์ ภบิ าล. (บรรณาธิการ). (2561). การจดั การความปวดทา่ มกลางความหลากหลาย วัฒนธรรมสองภาษา. สงขลา : สมศกั ดกิ์ ารพมิ พ.์ 14. อภิชัย อังสพทั ธ์. (บรรณาธิการ). (2560). Wound care 2017 : Go together for best practice in wound and burn care. กรงุ เทพฯ : กรงุ เทพเวชสาร. หนงั สอื /ตำราหลักภาษาตา่ งประเทศ 1. Beth B. Hogans. (ed.) (2022). Pain medicine at a glance. Hoboken,NJ : Wiley Blackwel. 2. Carol Fordham-Clarke and Sarah Curr. (Eds). (2022). Clinical nursing skills at a glance. Wiley-Blackwell: Oxford. 3. Claire Boyd. (Ed). (2022). Medicine management skills for nursesOxford ; Wiley- Blackwel. 4. Dianne Burns. (Ed). (2019). Foundations of adult nursing. Los Angeles : SAGE. 5. Donna D. Ignatavicius, M. Linda Workman, Cherie R. Rebar. (Eds). (2018). Medical- surgical nursing : concepts for interprofessional collaborative care. Missouri : Elsevier 6. Ian Peate and Helen Dutton. (Eds). (2021). Acute nursing care : Recognizing and responding to medical emergencies. London : Routledge. 7. John Paley. (Ed). (2022). Concept analysis in nursing : A new approach. Milton Park, Abingdon: Routledge 8. Karen Elcock, et al. (2019). Essentials of nursing adults. Los Angeles : SAGE. 9. Neal Cook. (Ed). (2019). Essentials of pathophysiology for nursing practice. Los Angeles : SAGE. 10. Neal Cook, Andrea Shepherd, and Jennifer Boore. (Eds). (2021). Essentials of anatomy and physiology for nursing practice. Los Angeles : SAGE Publications Ltd. 11. Peter Ellis. Ed). (2019). Evidence-based practice in nursing. London : SAGE Publications Ltd. เอกสารแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม 1. วรางคณา สายสทิ ธ.์ิ (2564). เอกสารประกอบคำสอน การพยาบาลผู้ใหญ่ 1. นครปฐม: คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม.
24 2. วรางคณา สายสิทธ.ิ์ (2564). เอกสารประกอบคำสอน การพยาบาลผใู้ หญ่ 2. นครปฐม: คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. 3. วรางคณา สายสทิ ธิ์, อ้อฤทยั ธนะคำมา, จุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ,์ นงนุช เชาวนศ์ ิลป์, อนญั ญา โสภณนาคและ องั คณา จงเจริญ. (2566). ผลของการใชส้ ถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ ฝึกปฏิบตั กิ าร พยาบาลผใู้ หญ่และผสู้ งู อายตุ อ่ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิพยาบาลของนกั ศึกษาช้ันปีที่ 3 หลักสูตรพยาบาลศา สตรบัณฑติ . วารสารศูนย์การแพทย์ศาสตรศ์ กึ ษาชัน้ คลนิ กิ โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 40(2), 222-231 ฐานข้อมูลสาขาพยาบาลศาสตร์ ฐานข้อมูลสำหรับการสืบคน้ ทางสาขาพยาบาลศาสตร์ ไดแ้ ก่ CHNAL, Science Direct, PubMed, EBSCO, Scopus หนงั สืออเิ ลคทรอนคิ ส์ (E-Book) E-Books สาขาพยาบาลศาสตร์ ไดแ้ ก่ eBook Nursing Collection, Clinical Key for Nursing, McGraw-Hill eBook Library, E-Book EBSCO HOST วารสาร 1. วารสารภาษาไทย ได้แก่ 1.1 วารสารการพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 1.2 รามาธิบดีพยาบาลสาร 1.3 สภาการพยาบาล 2. วารสารภาษาตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ 2.1 Journal of Cardiovascular Nursing 2.2 Intensive and Critical Care Nursing Journal 2.3 Journal of Emergency Nursing 2.4 Nursing & Health Science Journal 2.5 Nursing Research
25
26
27 ระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการฝึกปฏบิ ตั งิ านบนหอผู้ป่วยของนักศกึ ษา 1. การฝกึ ปฏิบัตกิ ารพยาบาล 1.1 ระเบยี บการปฏิบัติในวันฝึกปฏิบตั ิการพยาบาล มดี ังน้ี 1.1.1 นกั ศกึ ษาตอ้ งมาขึ้นรถรับ-สง่ ตามเวลาทกี่ ำหนด ดังนี้ 1) กรณีไปศกึ ษาข้อมูลผปู้ ่วยทไี่ ดร้ บั มอบหมายในวนั อาทิตย์ มีรถออกจาก มหาวทิ ยาลัย เวลา 12.30 น. และมีรถรับกลับจากโรงพยาบาลนครปฐมเวลา 16.00 น. 2) กรณไี ปฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามตารางการฝึกฯ ณ โรงพยาบาล นครปฐม มีรถออกจากมหาวิทยาลัย เวลา 07.00 น. และมีรถรับกลับจากโรงพยาบาลนครปฐมเวลา 16.30 น. 1.1.2 นกั ศกึ ษาต้องเดนิ ทางไปโรงพยาบาลโดยรถยนตท์ ่ีคณะพยาบาลศาสตร์จัดให้ เท่านนั้ (ไมอ่ นุญาตใหน้ กั ศึกษาเดินทางด้วยตนเอง) 1.1.3 นักศกึ ษาต้องไปฝกึ ปฏบิ ตั งิ านบนหอผปู้ ่วยก่อนเวลารบั เวรประมาณ 30 นาที เพ่ือ ประเมินผู้ป่วยอีกครั้ง และเตรียมพร้อมในการรับเวร โดยนักศึกษาจะอยู่ในความดูแลของอาจารย์ ประจำหอผ้ปู ่วย / อาจารย์พเิ ศษภาคปฏิบตั ิ (preceptor) 2. การออกจากหอผปู้ ่วย 2.1 นักศึกษาจะออกจากหอผู้ป่วยได้ เม่ือปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จ และส่งเวรกับ พยาบาลหัวหน้าทีม หรือพยาบาลหัวหน้าเวร / อาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติ เรียบร้อยแล้วตามเวลาท่ีฝึก ปฏิบัติ และตอ้ งแจง้ กับอาจารย์ประจำหอผปู้ ่วยก่อนทกุ ครงั้ 2.2 ในกรณีท่ีนักศึกษามีความจำเป็นเร่งด่วนต้องออกจากหอผู้ป่วยก่อนเวลา ต้องแจ้งอาจารย์ ประจำหอผปู้ ว่ ย / อาจารยพ์ เิ ศษภาคปฏบิ ัติ และจะออกจากหอผู้ป่วยได้เมอ่ื ได้รับอนุญาตแล้วเท่าน้นั 2.3 การพักรับประทานอาหารกลางวัน นักศึกษาจะพักได้รอบละ 1 ช่ัวโมง และก่อนลงไป รับประทานอาหารจะต้องส่งเวรหรือส่งต่องานไว้กับพยาบาลหัวหน้าทีม หรือพยาบาลหัวหน้าเวร / อาจารย์พเิ ศษภาคปฏิบตั ิ 2.4 เพือ่ ป้องกนั การติดเชอ้ื และส่งเสรมิ สุขภาพ หา้ มนกั ศกึ ษานำอาหาร ขนมและอ่นื ๆ ไป รบั ประทานบนหอผู้ป่วย (ทม่ี ผี ู้ปว่ ยพกั อย่)ู นอกจากในห้องพักท่ีหอผปู้ ว่ ย/หน่วยงานจัดเตรยี มไวใ้ ห้ 3. การลาป่วยและลากิจ การฝึกปฏิบัติงานในวิชาการฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 เป็นการจัดการฝึก ประสบการณ์การพยาบาลตามความสำคญั ท่ีนักศึกษาควรจะไดร้ ับจากการเรียนรายวิชาน้ี โดยเวลาทีจ่ ัด ให้นักศึกษาขึ้นฝึกนั้น มีระยะเวลาที่จำกัด นักศึกษาจึงไม่ควรขาด (วันรับมอบหมายการดูแลและวัน
28 ปฏิบัติงาน) ยกเว้นมีความจำเป็นที่ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ นักศึกษาต้องแจ้งให้อาจารย์ประจำหอ ผู้ป่วย/หน่วยงานทราบล่วงหน้าด้วยตนเอง ทางโทรศัพท์ หรือหาช่องทางติดต่ออื่นๆ ให้อาจารย์ทราบ โดยเร็วที่สุด และต้องได้รับอนุญาตจากอาจารย์ก่อน จึงสามารถท่ีจะลาป่วยและลากิจได้ โดยปฏิบัติ ตามเงอื่ นไขดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 การลาปว่ ย 3.1.1 นกั ศึกษาตอ้ งแจง้ การลาป่วยกับอาจารย์ประจำหอผปู้ ว่ ยด้วยตนเอง 3.1.2 ส่งใบรับรองแพทย์ให้อาจารย์ประจำหอผูป้ ่วยโดยเรว็ เท่าทเ่ี ป็นไปได้ 3.2 การลากจิ 3.2.1 แจง้ การลาพรอ้ มสง่ ใบลาใหอ้ าจารย์ประจำหอผูป้ ่วย ลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 3 วนั ยกเว้น ในกรณีรบี ด่วน ใหแ้ จ้งอาจารย์ประจำหอผปู้ ว่ ยทันทีท่ที ราบและส่งจดหมายลาภายใน 24 ชั่วโมง 4. การฝึกปฏบิ ัตพิ ยาบาลชดเชย 4.1 การลาทกุ ชนดิ (วันรบั มอบหมายการดูแลและวันปฏบิ ตั งิ าน) นกั ศึกษาต้องข้ึนฝกึ ปฏิบตั งิ านชดเชย อย่างนอ้ ยตามจำนวนวนั ทข่ี าดการฝึก ท้ังน้ีอยใู่ นดลุ ยพินิจของอาจารย์ประจำหอ ผปู้ ว่ ย/หนว่ ยงาน และอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวชิ า 4.2 กรณี นักศึกษาขาดการปฏบิ ตั ิงาน (วันรบั มอบหมายการดูแลและวนั ปฏิบตั ิงาน) โดยไม่ แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหน้า แตม่ าแจง้ ภายหลัง จะถือวา่ นักศึกษาขาดการฝกึ ปฏิบตั งิ าน และต้องขึ้นฝกึ ปฏิบัติงานชดเชย อยา่ งน้อย จำนวน 2 เท่า ของวนั ทขี่ าดการฝึก 5. การแต่งกาย 5.1 แต่งชุดนักศึกษาพยาบาลในการไปศึกษาข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมาย เพื่อวางแผนการ พยาบาลตามแบบวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน ในแบบบันทึกการใชก้ ระบวนการพยาบาล 5.2 ในวนั ฝึกปฏิบัติงาน ให้แต่งชุดนักศึกษาพยาบาลไป แล้วเปล่ียนชุดฝึกปฏิบัติงานในวันที่ข้ึน ปฏบิ ตั ิงานจรงิ เพือ่ ลดการแพร่กระจายเชอื้ โรค 6. การปอ้ งกนั การตดิ เชือ้ โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019; COVID-19) 6.1 ล้างมือทุกครง้ั ท้งั ก่อนและหลังสมั ผสั กับผปู้ ่วย โดยล้างมือแบบล้างมือทั่วไป (normal hand washing) หรือการใช้แอลกอฮอล์เจล ซ่ึงการล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ควรใช้แอลกอฮอล์ เจลประมาณ 10 มิลลิลิตร ล้างมือโดยใช้เวลา 15-25 วนิ าที ซง่ึ ไม่ตอ้ งล้างดว้ ยน้ำหรือไม่ตอ้ งเช็ดซ้ำด้วย ผา้ เชด็ มือ
29 6.2 สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกตอ้ ง โดยหันด้านสีเข้มออกดา้ นนอกเสมอ คลุมหน้ากากให้ปิด จมูก ปาก คาง และคล้องหูให้พอดีกับใบหน้า หลังจากนั้นกดขดลวดขอบบนให้แนบสนิทกับสันจมูก นอกจากนี้ตอ้ งเปลยี่ นหนา้ กากทุกวนั 7. การใช้เคร่อื งมือสอ่ื สาร ห้ามใช้เครื่องมือสื่อสารขณะปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล เนื่องจากอุปกรณ์ทางการแพทย์บาง ชนิดท่ีมีสญั ญาณโทรศพั ท์ อาจรบกวนการทำงานของอปุ กรณด์ งั กล่าว 8. กรณนี ักศึกษาเกิดความผิดพลาดในการปฏบิ ตั งิ าน (Malpractice) ต้องแจ้งอาจารย์ประจำหอผู้ป่วย/ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบทันที และต้องส่งรายงาน ภายใน 24 ชั่วโมง หมายเหตุ 1. นกั ศกึ ษาตอ้ งฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิให้ได้ครบตามเวลาของหนว่ ยกิต 2. นกั ศึกษาตอ้ งทำรายงานทุกฉบบั และสอบ OSCE, MEQ (ถา้ ขาดอย่างใดอย่างหนึง่ ถือวา่ ไมผ่ ่าน) 3. กรณนี กั ศกึ ษามผี ลการเรยี นตำ่ กว่า C ตอ้ งลงทะเบียนเรียนใหม่ เนอ่ื งจากเป็นรายวชิ าชพี ท่ตี อ้ งมผี ลการเรียนมากกว่า C 4. กรณพี บนกั ศึกษากระทำผดิ วนิ ัยในระหวา่ งการฝึกปฏบิ ัติของรายวิชา จะไดร้ ับการสอบสวน จากกรรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และได้รบั ผลการเรยี นไมเ่ กนิ C หรอื ตามมตขิ องกรรมการสอบสวนวนิ ยั หรือ ตามระเบียบทเี่ กยี่ วขอ้ ง 5. นกั ศกึ ษาตอ้ งปฏิบตั ติ นตามมาตรการป้องกนั และควบคุมการแพรก่ ระจายเชือ้ COVID-19 อยา่ งเคร่งครัด และมใี บยนิ ยอมในการฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาลจากผปู้ กครอง 6. หา้ มนำของมีคา่ ไปในแหลง่ ฝกึ หากนำไปถอื ว่าผดิ ข้อกำหนดของคณะฯ และหากเกิดการ สูญหาย ทางคณะฯจะไม่รบั ผิดชอบใดๆท้ังส้นิ
30 แนวทางการทำรายงานหรืองานทน่ี ักศึกษาได้รับมอบหมาย การทำรายงานนักศกึ ษาทุกคนตอ้ งสง่ รายงานทุกฉบบั ตามวันเวลาทีก่ ำหนด ดังนี้ 1. รายงานหรอื งานท่ีนกั ศกึ ษาไดร้ บั มอบหมาย 1.1 แผนการพยาบาลผู้ป่วยประจำวัน เป็นการเขียนแผนการพยาบาลตามแบบบันทึกการใช้ กระบวนการพยาบาล รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ โดยส่งอาจารย์ประจำหอผู้ป่วยทุก เช้าวันที่มีการปฏิบัติงาน หลังจากน้ันรวบรวมทุกฉบับส่งทุกวันศุกร์ โดยต้องมีข้อมูลท่ีสมบูรณ์ ทั้งใน ส่วนการประเมินสภาพผู้ป่วย การวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล วัตถุประสงค์และเกณฑ์การ ประเมินผล การพยาบาลและเหตุผล และการประเมนิ ผลการพยาบาล 1.2 รายงานกรณีศึกษาผู้ปว่ ยเฉพาะราย ตามตารางทกี่ ำหนด โดยทำรายงานการศึกษาผูป้ ว่ ยเฉพาะกรณี ดงั นี้ 1) ขณะฝึกปฏบิ ตั ใิ นหอผปู้ ่วย ให้นกั ศกึ ษาเลือกกรณศี กึ ษาทน่ี ่าสนใจ 1 ราย โดยเป็นผ้ปู ่วยที่ นกั ศกึ ษาได้รับมอบหมายดูแลไม่น้อยกว่า 2-3 วัน หรอื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารย์ทีป่ รึกษา 2) ปรกึ ษาอาจารย์ประจำหอผู้ปว่ ยทีร่ บั ผิดชอบ เม่อื ผ่านการเห็นชอบจากอาจารยแ์ ลว้ นำไป ศกึ ษาค้นควา้ เพิ่มเติม 3) ให้นกั ศกึ ษาคน้ ขอ้ มลู จากตำรา เอกสารประกอบการสอน หนังสอื วารสาร หรือจาก ฐานขอั มลู e- journal ของมหาวทิ ยาลัย 4) รปู เล่ม ลักษณะรายงานตามขอ้ กำหนดของรายงาน คณะพยาบาลศาสตร์ 5) สอดแทรกบทความวิจยั หรอื บทความวชิ าการภาษาอังกฤษ ให้นกั ศกึ ษาเลอื กคน้ คว้า บทความวิชาการหรือบทความวิจัย คนละ 1 บทความท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยกรณีศึกษา หรือรายวชิ า การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ จากวารสารภาษาอังกฤษในห้องสมุดของมหาวิทยาลัย หรือ e- journal ท่ี ตีพิมพ์มาแล้วไม่เกิน 5 ปี (นับจากปีปัจจุบัน) และแปลบทความ พร้อมท้ังสรุป วิเคราะห์บทความที่แปล และนำความรทู้ ีไ่ ด้รับมาแลกเปลย่ี น อภิปรายรว่ มกนั พรอ้ มกับกรณีศึกษา
31 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม แบบบนั ทึกการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล รายวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ ูงอายุ 1 ชอ่ื นกั ศึกษา.................................................... รหสั นกั ศึกษา.........................................ช้ันปีท่ี ........... ภาคการศึกษาที่ .............. ปีการศกึ ษา .......................อาจารย์ ............................................................ หอผู้ปว่ ย ..................................................... โรงพยาบาล ............................................................... ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไป ช่อื -สกุลผ้ปู ว่ ย.............................................. HN ………………………………….. AN ………………………. เตยี ง .................. หอผูป้ ่วย ................................... โรงพยาบาล .......................................................... เพศ..........อายุ............... สถานภาพสมรส ................... เช้ือชาติ ...........................สญั ชาติ.................. ศาสนา...................... การศกึ ษา...................................... อาชพี .......................................................... รายได้ครอบครวั /เดือน ................... ภูมิลำเนา ............................ ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน ............................ .................................................................................................................................................................. สิทธกิ ารรกั ษา ………………………..……………วันทเ่ี ข้ารับการรักษา ............................................................. วันที่เร่ิมดแู ล ................................................... แหลง่ ข้อมูล........................................................................................................................ สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเก่ียวกับสขุ ภาพ การวินจิ ฉัยแรกรับ………………………………….……………. การวนิ จิ ฉยั ปจั จุบนั ……………………..……..……………..... การผ่าตัด..................................................................... วนั ที่………………………………….…………………………....... อาการสำคญั นำส่ง (Chief Complaint: C.C.)…………………………………… ……….... ………………………………………………………………………………………………………………………………...... ประวตั กิ ารเจ็บป่วยปจั จุบนั (Present Illness: P.I.) ………………………………….…………..... ………………………………………………………….…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ประวัตกิ ารเจบ็ ป่วยในอดตี (Past History: P.H.)………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………….…………………………………....... ประวตั ิสุขภาพครอบครวั (Family History: F.H.) ………………………………………………………………………………
32 สว่ นที่ 3 การประเมนิ ตามแบบแผนสุขภาพ การซกั ประวัติ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย 1. แบบแผนการรับรสู้ ขุ ภาพและการจัดการสขุ ภาพ 1.1 การรับรสู้ ุขภาพโดยท่ัวไปในปัจจบุ ัน 1.1 ลักษณะโดยทวั่ ไป (รปู ร่าง ความสะอาดของ ร่างกาย เครอ่ื งแตง่ กาย ความพิการ ฯลฯ) 1.2 ประวตั กิ ารตรวจรา่ งกาย, การรับภูมิคมุ้ กนั 1.2 สภาพจติ ใจโดยท่ัวไป 1.3 การดูแลความสะอาดของรา่ งกาย (อาบน้ำ 1.3 ความร่วมมอื ในการรักษาพยาบาล แปรงฟนั ) 1.4 ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย และความสะอาด ของสิ่งแวดล้อม 1.4 พฤติกรรมเส่ียง - สบู บรุ ่ี (ปรมิ าณ/วนั ) ระยะเวลา - ด่ืมสรุ า (ปรมิ าณ/วัน) ระยะเวลา - ส่ิงเสพติดอ่นื ๆ (ระบ)ุ - ยาทร่ี บั ประทานเป็นประจำและเหตผุ ล 1.5 การแพส้ ารตา่ งๆ (อาหาร ยา สารเคมฯี ) อาการและการแก้ไข 1.6 การดแู ลสขุ ภาพตนเอง (กอ่ นป่วย ขณะปว่ ย) 1.7 ความรเู้ กี่ยวกบั โรคและการรกั ษาพยาบาล สรุปผลการประเมิน
33 การซกั ประวตั ิ การสังเกต/การตรวจรา่ งกาย 2. แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร 2.1 ชนดิ และปริมาณอาหารทรี่ บั ประทาน 2.1 พฤตกิ รรมการรับประทานอาหารทส่ี ังเกตได้ 2.2 ชนิดและปริมาณน้ำที่ได้รบั 2.2 ปรมิ าณนำ้ ทไ่ี ดร้ ับต่อวัน 2.3 อาหารที่ไมร่ ับประทาน และเหตผุ ล 2.4 อาหารเสรมิ อาหารบำรุง อาหารระหวา่ งม้ือ 2.3 อาหารเฉพาะโรค 2.4 การตรวจร่างกาย 1) นำ้ หนกั ส่วนสงู BMI 2) ผิวหนงั (ความยืดหยนุ่ ความชื้น บวม บาดแผล ฯ) 2.5 อาการผิดปกตเิ ช่น ท้องอืด เบอ่ื อาหาร 3) ผม คล่ืนไส้ อาเจียน ปญั หาการเคีย้ ว กลนื และการแก้ไข 4) เล็บ 5) ตา 2.6 ความรเู้ ก่ยี วกับอาหารและโภชนาการที่ 6) ช่องปาก คอ ฟัน เก่ยี วขอ้ งกับการเจบ็ ป่วยในคร้งั น้ี 5) ลักษณะท้อง ทอ้ งอืด 2.7 ประวตั ิการตดิ เชอ้ื / แผลเรื้อรงั เสียงลำไส้ กอ้ นในทอ้ ง 6) ตอ่ มน้ำเหลอื ง 7) ต่อมธยั รอยด์ 2.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกย่ี วขอ้ ง (เชน่ , CBC, Electrolytes, BS, LFT, lipid profile, อ่ืนๆ) 2.5 การตรวจพิเศษท่ีเก่ียวข้อง (เชน่ Ultrasound, Gastro scope, และอน่ื ๆ)
การซักประวตั ิ 34 สรุปผลการประเมิน การสังเกต/การตรวจรา่ งกาย 3. แบบแผนการขับถา่ ย 3.1 ปสั สาวะ 3.1 การใชถ้ งุ / สายสวนปัสสาวะ(ระบ)ุ 3.2 ลักษณะสี จำนวนปสั สาวะ 1) ปกตปิ สั สาวะกลางวัน ครั้ง 3.3 Colostomy, Ileostomy, Jejunostomy, กลางคนื คร้ัง gastrostomy 3.4 ลกั ษณะสี จำนวนอุจจาระ ลกั ษณะสี จำนวนปัสสาวะ 3.5 จำนวนของเหลวท่ีออกจากร่างกาย (ปสั สาวะ, อาการผิดปกติและการแกไ้ ข ท่อ ระบาย และอนื่ ๆ) 2) ขณะปว่ ยปสั สาวะกลางวนั ครง้ั 3.6 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการและการตรวจ กลางคืน ครง้ั พเิ ศษ (เชน่ U/A, U/C, Stool exam และอน่ื ๆ) อาการผิดปกติและการแกไ้ ข 3.2 อจุ จาระ ครงั้ 1) ปกติอจุ จาระวันละ อาการผดิ ปกตแิ ละการแกไ้ ข ลักษณะสี จำนวนอจุ จาระ 2) ขณะปว่ ยอจุ จาระวันละ ครั้ง อาการผิดปกตแิ ละการแก้ไข 3.3 การฝึกการขับถา่ ย สรุปผลการประเมนิ 4. แบบแผนกจิ วัตรประจำวนั และการออกกำลงั กาย 4.1 ความสามารถในการชว่ ยเหลอื ตนเองในการ 4.1 การช่วยเหลอื ตนเอง ปฏิบัตกิ จิ วตั รประจำวนั (ก่อนป่วย/ ขณะปว่ ย) - การอาบนำ้ 4.2 ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ (Muscle power)
35 การซักประวตั ิ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย - การแต่งตวั - การรับประทานอาหาร 4.3 การเคลื่อนไหวของขอ้ /อาการบวม (Range of - การขับถ่าย motion/ edema) - การเคลอื่ นไหว 4.4 ระบบหายใจ - อตั ราการหายใจ ครงั้ /นาที 4.2 การดแู ลที่พักอาศยั - จงั หวะ -ลกั ษณะ (เชน่ tachypnea, bradypnea) 4.3 กจิ กรรมในงานอาชีพ/ ลกั ษณะงานที่ทำอยู่ - เสยี งปอด ใน 4.5 หัตถการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (เชน่ ICD) ปจั จบุ ัน 4.4 การออกกำลังกาย กีฬา 4.6 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ีเกี่ยวข้อง (เชน่ Hct., blood gas, sputum AFB และอนื่ ๆ) 4.5 งานอดิเรก การใช้เวลาว่าง และนันทนาการ 4.7 ชนิด/ประเภทของการได้รบั ออกซิเจน 4.6 ประวัตกิ ารเปน็ ลม หายใจขดั เจ็บหน้าอก 4.8 ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด หอบเหน่อื ย ความดันโลหติ สูง - ชีพจร ครง้ั /นาที จังหวะการเตน้ (regular, irregular) - ความแรงของชีพจร ครงั้ / - อตั ราการเต้นของหวั ใจ นาที จงั หวะการเตน้ เสียงหวั ใจ - ความดันโลหติ mmHg. - การตรวจพิเศษอน่ื ๆ (เช่น EKG, Echo, Cardiogram และอน่ื ๆ)
การซักประวตั ิ 36 สรปุ ผลการประเมนิ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย 5. แบบแผนการนอนหลับและพักผอ่ น 5.1 การนอนหลบั 5.1 ก่อนป่วยนอนกลางวนั วันละ 1) ลักษณะทวั่ ไป ความสดชน่ื งว่ ง อ่อนเพลยี ช่ัวโมง 5.2 พฤติกรรมกอ่ นการนอน (เช่นอ่านหนังสอื , นอนกลางคนื คนื ละ สวดมนต์ ดทู วี )ี ชวั่ โมง 5.3 พฤติกรรมการนอน - ปญั หาเกีย่ วกับการนอน สาเหตุ และการแกไ้ ข 5.4 การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการและการตรวจ 5.2 ขณะปว่ ยนอนกลางวนั วนั ละ พเิ ศษ ชั่วโมง (เชน่ Sleep apnea) นอนกลางคนื คนื ละ ช่วั โมง - ปญั หาเก่ยี วกบั การนอน สาเหตุ และการแก้ไข 5.3 การผอ่ นคลาย/การปฏบิ ัติตนใหร้ ูส้ กึ ผ่อน 5.5 อาการที่แสดงถงึ การพักผอ่ นไมเ่ พยี งพอ คลาย 5.4 ความเพยี งพอของการพักผอ่ นในปัจจบุ นั สรุปผลการประเมนิ 6. แบบแผนดา้ นสติปญั ญาและการรับรู้ 6.1 ระดบั ความรสู้ ึกตวั 6.1 ความผดิ ปกตขิ องสายตา/ การแก้ไข
37 การซักประวัติ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย 6.2 ความผดิ ปกติของการได้ยิน/ การแก้ไข Neuro signs 6.3 ความผิดปกตขิ องการได้กลิ่น/ การแก้ไข Reflex 6.4 ความผดิ ปกตใิ นการรับรส/ การแกไ้ ข Signs of Meningeal Irritation 6.5 ความผิดปกตใิ นการสัมผัส/ การแก้ไข 6.2 ตรวจการมองเหน็ 6.6 มอี าการปวดเฉพาะที่/ การแก้ไข 6.3 ตรวจการไดย้ นิ 6.7 มีอาการเหนบ็ ชาท/ี่ การแกไ้ ข 6.4 ตรวจการรับรส 6.8 การรับรูบ้ คุ คล เวลา สถานที่ 6.5 ตรวจการสมั ผสั 6.6 ตรวจอาการเจบ็ ปวด, ชา 6.7 การประเมนิ ความจำ 6.8 ลกั ษณะการโต้ตอบ/การใชภ้ าษา 6.9 การตรวจพิเศษอน่ื ๆ (เชน่ CSF, IICP และอ่ืนๆ) สรุปผลการประเมนิ 7. แบบแผนการรบั รู้เก่ยี วกบั ตนเองและอตั มโนทัศน์ 7.1 ความรสู้ ึกตอ่ รูปร่างหน้าตาของตนเอง 7.1 พฤตกิ รรมทแี่ สดงถงึ ความสนใจในรูปรา่ ง หน้าตา ของตนเอง 7.2 การปิดบังอวยั วะบางสว่ น 7.2 ความรสู้ กึ ต่อความสามารถของตนเอง 7.3 การเปรียบเทยี บตนเองก่อนและหลงั เจบ็ ปว่ ย หรือ กบั ผอู้ ืน่ 7.3 ความรสู้ ึกผดิ ปกตทิ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับความ 7.พฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความภาคภมู ใิ จ/ปมด้อย
การซกั ประวัติ 38 เจบ็ ป่วย การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย 7.5 การยอมรับกบั ความเจ็บปว่ ย 7.4 ส่งิ ทที่ ำให้เกดิ ความภมู ใิ จในตนเอง 7.5 ส่งิ ท่ที ำใหค้ วามภูมิใจในตนเองลดลง สรปุ ผลการประเมิน 8. แบบแผนการมีบทบาทและสัมพนั ธภาพ 8.1 การมาเยีย่ มของบคุ คลในครอบครวั / บคุ คลอน่ื 8.1 จำนวนสมาชกิ ในครอบครัว 8.2 ปฏิสัมพนั ธก์ บั ผ้มู าเยยี่ ม 8.2 บทบาทและสมั พนั ธภาพกบั สมาชิกใน ครอบครวั 8.3 บทบาทและสมั พันธภาพในสังคม 8.4 การเปลย่ี นแปลงบทบาทหนา้ ท่ี สมั พนั ธภาพ 8.3 อปุ สรรคของการสือ่ สาร เช่น การใส่ท่อชว่ ย กบั คนในครอบครัวขณะป่วย หายใจ การผา่ ตดั กลอ่ งเสยี ง 8.5 การเปลี่ยนแปลงบทบาทหนา้ ที่ สมั พนั ธภาพ 8.4 สมั พันธภาพของผู้ป่วยและบุคลากรในทีม สขุ ภาพ ในสังคมขณะปว่ ย 8.6 ผู้มีอำนาจในการตดั สนิ ใจ 8.7 ผ้มู าเย่ยี ม สรุปผลการประเมิน 9. แบบแผนเกย่ี วกับเพศและการเจริญพันธุ์ 9.1 พฤติกรรมตามเพศชาย/ หญงิ 9.1 การพฒั นาการตามเพศและการเจริญพนั ธุ์ การแตง่ กาย (เฉพาะรายทีม่ ขี อ้ บ่งชีว้ า่ อาจผิดปกติ)
39 การซักประวตั ิ การสงั เกต/การตรวจรา่ งกาย การแสดงออกทางสหี น้า ท่าทางคำพดู เพศหญงิ - มีประจำเดอื นครงั้ แรกอายุ ปี ปฏิสัมพันธ์กบั บคุ คลเพศเดียวกนั และตา่ งเพศ -จำนวนวนั วัน - อาการผิดปกติ 9.2 การตรวจรา่ งกาย (เฉพาะรายที่มีข้อบง่ ชี้วา่ อาจ มี ความผดิ ปกติ) - ประจำเดอื นครง้ั สดุ ทา้ ย (LMP/ Menopause) - เต้านม (เฉพาะเพศหญงิ ) 9.2 การรับรใู้ นบทบาททางเพศ -อวยั วะเพศ (ท้ังเพศหญงิ และเพศชาย) ลกั ษณะ สี กล่นิ จำนวนของสงิ่ คดั หล่ังทอ่ี อกมา (Discharge) 9.3 เพศสมั พันธ์ คน - จำนวนบตุ ร 9.3 การตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารและการตรวจ - วธิ กี ารคมุ กำเนิด พเิ ศษ (เช่น Mammogram, Tumor marker) - อาการข้างเคยี ง - ความถ่ีของการมเี พศสัมพันธ์ ปัญหาเรือ่ งเพศสมั พนั ธ์ขณะปว่ ย การปอ้ งกนั โรคทางเพศสัมพนั ธ์ สรปุ ผลการประเมิน 10. แบบแผนการเผชญิ ปญั หา และความทนทานตอ่ ความเครยี ด 10.1 ลกั ษณะพน้ื ฐานของอารมณ์ 10.1 ลกั ษณะท่วั ไป/ สีหนา้ ท่าทางที่แสดงออกถงึ ความเครียด 10.2 สง่ิ ทท่ี ำให้ไมส่ บายใจ กงั วล กลวั ในปจั จุบัน 10.2 พฤติกรรมท่ีแสดงถึงการปรบั ตัวต่อ ความเครยี ด
40 การซักประวตั ิ การสังเกต/การตรวจรา่ งกาย 10.3 ผู้ให้คำปรกึ ษา ชว่ ยเหลอื ให้กำลงั ใจ 10.3 การตรวจพเิ ศษ / การตรวจทาง 10.4 ผลกระทบของการเจบ็ ป่วยในปัจจุบันต่อ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ตนเอง ครอบครวั และ สงั คม (งาน เพอ่ื น รว่ มงาน) 10.5 วธิ กี ารระบายความเครียด สรปุ ผลการประเมิน 11. แบบแผนค่านิยมและความเช่ือ 11.1 ส่งิ ท่ีนับถอื บชู า/ สิ่งทย่ี ึดเหนยี่ ว เชน่ หอ้ ยพระ 11.1 สงิ่ ท่มี คี ่า/ มคี วามสำคญั ที่สดุ ในชีวิต 11.2 คณุ ค่า และสิ่งยดึ เหนยี่ วดา้ นจติ ใจ 11.2 การปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนาหรอื พฤติกรรม ที่ 11.3 ความตอ้ งการปฏิบัตกิ ิจกรรมทางศาสนา/ ปฏบิ ตั ติ ามความเชอื่ ความเช่อื ขณะอยใู่ นโรงพยาบาล 11.4 ความเช่อื เก่ยี วกบั สขุ ภาพและการเจ็บป่วย 11.3 การกล่าวถึงศาสนา/ ความเช่ือ 11.5 ความขดั แย้งระหว่างความเชือ่ เกี่ยวกบั การ เจ็บปว่ ยและการรักษาพยาบาล สรุปผลการประเมนิ
41 ส่วนที่ 4 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการและการตรวจพเิ ศษ (ระบวุ ันที่ ชนดิ ของการตรวจที่ เก่ียวขอ้ งกับการเจ็บปว่ ยปจั จุบนั โดยระบผุ ลการตรวจลา่ สดุ พร้อมทัง้ ค่าปกติ และการวเิ คราะห์ แปล ผลการตรวจ) ชนดิ ของการตรวจ ค่าปกติ (หน่วย) ผลการตรวจ วเิ คราะห์ผลการตรวจ (วันที่ เวลา ทต่ี รวจ)
42 ชนดิ ของการตรวจ คา่ ปกติ (หน่วย) ผลการตรวจ วเิ คราะห์ผลการตรวจ (วนั ที่ เวลา ทต่ี รวจ) สว่ นท่ี 5 อาหาร การรกั ษา ยาและสารน้ำท่ผี ้ปู ว่ ยไดร้ บั ในปจั จุบนั (ระบวุ ันที่ให้การรกั ษา/ ยา ช่ือยา ขนาด เวลา ทางที่ให้ ข้อบ่งชี้ กลไกการออกฤทธ์ิ อาการข้างเคยี ง และการพยาบาล) สว่ นที่ 6 สรุปปัญหา อาการ และการรักษา (ตงั้ แต่แรกรบั ถึงปจั จุบัน)
43 ส่วนท่ี 7 พยาธสิ ภาพของโรค (ระบสุ าเหตกุ ารเกดิ อาการและอาการแสดง ปจั จยั การเกิดโรค พฤติกรรมและส่ิงแวดลอ้ มที่มผี ลเกีย่ วขอ้ ง และกลไกการเกดิ โรค)
44
ส่วนที่ 8 การวางแผนการพยาบาล กลไกการเกดิ ปญั หา วัตถ ข้อวนิ จิ ฉัยทางการพยาบาล และเกณ และขอ้ มูลสนบั สนนุ
45 ถปุ ระสงค์ กิจกรรมการพยาบาลและเหตผุ ล การประเมินผลและข้อมลู ณฑ์การประเมิน สนับสนุนการประเมนิ ผล
Search