การบัรนหัสทวึิชกาบั3ญ02ช0ีก1-ร9ณ0ี0จ6ดทะเวิชบีายกนารภบัญาษชีีกมาูรลเงคิ่นาเพิ่ม 7%
แบบทดสอบก่อนเรียน 1.ภาษีมูลค่าเพิ่มที่กิจการต้องชำระคือข้อใด 6.ร้านไทยซื้อสินค้า 60,000 บาท ขายสินค้า ก. ภาษีซื้อ + ภาษีขาย 100,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ให้คำนวณภาษีซื้อ ข. ภาษีซื้อ - ภาษีขาย ก. 4,200 บาท ค. ภาษีขาย - ภาษีซื้อ ข. 7,000 บาท ง.ภาษีขาย + ภาษีซื้อ ค. 2,800 บาท ง. 40,00 บาท 2.ถ้าภาษีซื้อมากกว่าภาษีขายผู้ประกอบการต้องปฏิบัติ 7.จากข้อ 6 ให้คำนวณภาษีขาย อย่างไร ก. 4,200 บาท ก. ชำระตามปกติ ข. 7,000 บาท ข. ชำระเพิ่ม ค. 2,800 บาท ค. ขอคืนภาษี ง. 40,00 บาท ง.ไม่ต้องชำระภาษี 8.จากข้อ 6 ให้คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ/ขอคืน 3.ร้านรุ่งฟ้า ขายสินค้า 50,000 บาทและจ่ายค่าใช้จ่าย เงิน 30,000 บาท ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเท่าใด ก. ภาษีที่ต้องชำระ 4,200 บาท ก. 20,000 บาท ข. ภาษีที่ขอคืนเงิน 7,000 บาท ข. 3,500 บาท ค. ภาษีมี่ต้องชำระ 2,800 บาท ค. 2,100 บาท ง. ภาษีที่ขอคืนเงิน 4,200 บาท ง. 1,400 บาท 9.ร้านเจริญการค้าซื้อสินค้า 85,000 บาท และขายสินค้า 4.จากข้อ 3 ถ้าร้านรุ่งฟ้า ขายสินค้าเพียงอย่างเดียวต้อง ได้ 48,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ต้องชำระภาษี เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจำนวนเท่าใด มูลค่าเพิ่มหรือได้รับเงินคืนจำนวนเท่าใด ก. 20,000 บาท ก. ชำระภาษีเพิ่ม 5,950 บาท ข. 3,500 บาท ข. ขอคืนเงินภาษี 3,360 บาท ค. 2,100 บาท ค. จอคืนเงินภาษี 2,590 บาท ง. 1,400 บาท ง. ชำระภาษี 2,590 บาท 5.จากข้อ 3 ถ้าร้านรุ่งฟ้า ซื้อสินค้าเพียงอย่างเดียวต้อง 10.ร้านเทวาซื้อสินค้าเพิ่ม 40,00บาท และขายได้เงิน ปฏิบัติอย่างไร 60,000 บาทให้คำนวณภาษีภาษีมูลค่าเพิ่ม ก. ชำระเพิ่ม 2,100 บาท ก. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ชำระ 2,800 บาท ข. ชำระภาษี 3,500 บาท ข. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขอคืน 2,800 บาท ค. ขอคืนภาษี 2,100 บาท ค. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ชำระ 1,400 บาท ง ขอคืนภาษี 1,400 บาท ง.ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขอคืน 1,400 บาท
การคำนวณ และการบันทึกบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในบังคับภาษีมูลค่าเพิ่ม หากมี รายรับเกินกว่า 1.8 ล้านบาท ต่อปีหรือต่อรอบระยะเวลาบัญชีต้องจดทะเบียน เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และเมื่อขายสินค้าหรือให้บริการต้องออกใบ กำกับภาษีเพื่อเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ให้บริการ พร้อมทั้งส่งมอบใบ กำกับภาษีให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ให้บริการ ภาษีที่ต้องเสีย คำนวณจากการนำภาษีภาษีขายทั้งเดือนภาษีมาหักด้วยภาษีซื้อ ทั้งเดือนภาษี หากมีภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อให้ชำระภาษีส่วนต่างนั้น หากมีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขายจะขอคืนภาษีส่วนต่างเป็นเงินสดหรือยกไปเครดิต ภาษีในเดือนถัดไปก็ได้ดังนี้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ หากภาษีขาย > ภาษีซื้อ = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ หากภาษีขาย < ภาษีซื้อ = ภาษีที่มีสิทธิ์ขอคืนหรือขอเครดิต ภาษี
หลัภกาใษนีมกูลาคร่คาำเพนิ่มวณ การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มแยกเป็น 2 กรณี ดังนี้ 1.กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ให้คำนวณภาษีซื้อ และภาษีขายประจำเดือน โดยดูจากบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายหรือจากรายงานภาษีซื้อและ ภาษีขายและหาผลต่าง ถ้าภาษีซื้อ > ภาษีขาย จะได้รับคืน ถ้าภาษีซื้อ < ภาษีขาย จะต้องชำระเพิ่ม ตัวอย่าง ร้านรวมใจการค้า มียอดซื้อสินค้าในเดือนมิถุนายน 25x1 จำนวน 45,000 บาท ยอดขายสินค้ายอดขายสินค้าจำนวน 56,000 บาท อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% การคำนวณ ภาษีซื้อ (45,000 × 7%). = 3,150 บาท หัก ภาษีขาย (50,000 × 7%) = 3,920 บาท ร้านต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม (3,920 - 3,150) = 770 บาท
ตัวอย่าง ร้านน้ำใจการค้า จ่ายค่าวัสดุสิ้นเปลืองและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเงิน 65,400 บาทมียอดขายจำนวน 56,000 บาทอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% การคำนวณ ภาษีซื้อ (65,400 × 7%). = 4,578 บาท หัก ภาษีขาย (56,000 × 7%) = 3,920 บาท ร้านจะได้รับภาษีมูลค่าเพิ่มคืน = 658 บาท 2.กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ให้ให้คำนวณภาษี มูลค่าเพิ่มโดยคำนวณเป็นรายเดือน เช่นเดียวกันกับภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราร้อยละ 7 แต่ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราร้อยละ 0 ภาษีขายจะเป็น 0 ดังนั้น ภาษีซื้อจึงขอคืนได้ทั้งหมด
ตัวอย่าง ร้านฟ้าใสการค้ามียอดซื้อสินค้าจำนวน 25,000 บาท อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% มียอดขายจำนวน 17,000 บาท การคำนวณ ภาษีซื้อ ( 25,000 × 7% = 1,750 บาท หัก ภาษีขาย (17,000 × 0% ) = 0 บาท ร้านจะได้รับภาษีมูลค่าเพิ่มคืน = 1,750 บาท การบันทึกบัญชีเกี่ยว กับภาษีมูลค่าเพิ่ม การจะทำบัญชีของกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงต้องปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปเหมือนเดิมเพียงแต่จะบันทึกบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้องเท่านั้น ดังนั้นในกรณีที่มีภาษีมูลค่า เพิ่มกิจการก็จะใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าเมื่อสิ้นงวดในสมุดรายวันทั่วไปดังนี้
หลักการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า กรณีจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม รายการ การบันทึกบัญชี 1.เมื่อซื้อสินค้าเป็นเงินสด เดบิต ซื้อสินค้า XX ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ภาษีซื้อ XX 2.เมื่อส่งคืนสินค้าจากการซื้อ เครดิต เงินสด XX เงินสดภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เดบิต เงินสด XX เครดิต ส่งคืนสินค้า XX ภาษีซื้อ XX 3.เมื่อซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ ภาษี เดบิต ซื้อสินค้า XX มูลค่าเพิ่ม 7% ภาษีซื้อ XX เครดิต เจ้าหนี้การค้า XX 4.เมื่อส่งคืนสินค้าจากการซื้อ เดบิต เจ้าหนี้การค้า XX เงินเชื่อภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เครดิต ส่งคืนสินค้า XX 5.เมื่อชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ ภาษีซื้อ XX เดบิต เจ้าหนี้การค้า XX เครดิต เงินสด XX 6.เมื่อชำระหนี้และได้ส่วนลด เดบิต เจ้าหนี้การค้า XX เครดิต เงินสด XX ส่วนลดรับ XX 7.เมื่อจ่ายค่าขนส่งเข้า เดบิต ค่าขนส่งเข้า XX เครดิต เงินสด XX
รายการ การบันทึกบัญชี 8.เมื่อขายสินค้า เป็นเงินสด เดบิต เงินสด XX ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เครดิต ขายสินค้า XX 9.เมื่อรับคืนสินค้าเป็นเงินสด ไม่มีการบันภทาึษกีขต้านยทุนขาXยX ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เดบิต รับคืนสินค้า XX 10.รับคืนสินค้าเป็นเงินเชื่อ ภาษีขาย XX ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เครดิต เงินสด XX ไม่มีการบันทึกต้นทุนขาย 11.เมื่อรับชำระหนี้จากลูกหนี้ 12.เมื่อรับชำระหนี้เลยให้ เดบิต รับคืนสินค้า XX ส่วนลด ภาษีขาย XX 13.เมื่อจ่ายค่าขนส่งออก เครดิต ลูกหนี้การค้า XX ไม่มีการบันทึกต้นทุนขาย เดบิต เงินสด XX เครดิต ลูกหนี้การค้า XX เดบิต เงินสด XX ส่วนลด XX เครดิต ลูกหนี้การค้า XX เดบิต ค่าขนส่งออก XX เครดิต เงินสด XX 14.เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ/สินทรัพย์ที่ เดบิต ค่าใช้จ่ายต่างๆ/สินทรัพย์ XX มีภาษีมูลค่าเพิ่มและเครดิตภาษีซื้อได้ ภาษีซื้อ XX เครดิต เงินสด XX
รายการ การบันทึกบัญชี 15.เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ/สินทรัพย์ เดบิต ค่าใช้จ่ายต่างๆ/สินทรัพย์ XX ที่มีภาษีมูลค่าเพิ่มเเละเครดิตภาษีซื้อ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ไม่ได้ เครดิต เงินสด XX 16.เมื่อปิดบัญชีภาษีซื้อ เดบิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX เครดิต ภาษีซื้อ XX 17.เมื่อปิดบัญชีภาษีขาย เดบิต ภาษีขาย XX 18.เมื่อปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม-กรณี เครดิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX ภาษีซื้อ < ภาษีขาย (ชำระเพิ่มเติม) 19.เมื่อปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม-กรณี เดบิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX ภาษีซื้อ > ภาษีขาย (ขอคืนเป็น เครดิต เจ้าหนี้-กรมสรรพากร XX เงินสด) 20.เมื่อชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม เดบิต ลูกหนี้-กรมสรรพากร XX 21.เมื่อได้รับคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม เครดิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX เดบิต เจ้าหนี้-กรมสรรพากร XX เครดิต เงินสด XX เดบิต เงินสด XX เครดิต ลูกหนี้-กรมสรรพากร XX
หมายเหตุ : การปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายมีหลายวิธีแล้วแต่กิจการจะเลือกใช้ เช่น เดบิต ภาษีขาย XX ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX. (ถ้าภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย) เครดิต ภาษีซื้อ XX ภาษีมูลค่าเพิ่ม XX. (ถ้าภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ) กิจการอาจจะปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ปิดก็ได้ ถ้าไม่ปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มและมียอดอยู่ ด้านเดบิตแสดงว่ากิจการจะได้คืนภาษี ดังนั้นจะถือเสมือนบัญชีลูกหนี้-กรมสรรพากร แต่ถ้าบัญชี ภาษีมูลค่าเพิ่มมียอดอยู่ด้านเครดิตแสดงว่ากิจการจะต้องชำระเพิ่มถือเสมือนบัญชีเจ้าหนี้-กรม สรรพากร ตัวอย่าง รายการค้าของร้านอยู่สุขการค้า ในระหว่างในระหว่างเดือนมกราคม 25X1 ใช้ระบบ ภาษี7% ม.ค. 5 ซื้อสินค้าเป็นเงินสด 8,400 บาท ใบกำกับภาษีเลขที่ 11 7 ขายสินค้าเป็นเงินสด 21,500 บาท ใบกำกัใบกำกับภาษีเลขที่1/01 11 ขายสินค้าให้ขายสินค้าให้ร้านอยู่เย็น 16,500 บาท เงื่อนไข 2/10 ,n/30 ใบกำกับภาษี 1/02 13 รับคืนสินค้าจากร้านอยู่เย็นจำนวน 2500 บาทใบลดหนี้เลขที่ 001 18 ซื้อสินค้าจากร้านช้อนทอง 21,000 บาท เงื่อนไข 2/10 ,n/45 ใบกำกับภาษี 21 28 จ่ายชำระหนี้ให้ร้านช้อนทอง 7,490 บาท 31 รับชำระหนี้จากร้านอยู่เย็นทั้งหมด
แบบทดสอบหลังเรียน 1.ร้านไทยซื้อสินค้า 60,000 บาท ขายสินค้า 100,000 6.ภาษีมูลค่าเพิ่มที่กิจการต้องชำระคือข้อใด บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ให้คำนวณภาษีซื้อ ก. ภาษีซื้อ + ภาษีขาย ก. 4,200 บาท ข. ภาษีซื้อ - ภาษีขาย ข. 7,000 บาท ค. ภาษีขาย - ภาษีซื้อ ค. 2,800 บาท ง.ภาษีขาย + ภาษีซื้อ ง. 40,00 บาท 2.จากข้อ 1 ให้คำนวณภาษีขาย 7.ถ้าภาษีซื้อมากกว่าภาษีขายผู้ประกอบการต้องปฏิบัติ อย่างไร ก. 4,200 บาท ข. 7,000 บาท ก. ชำระตามปกติ ค. 2,800 บาท ข. ชำระเพิ่ม ง. 40,00 บาท ค. ขอคืนภาษี 3.จากข้อ 1 ให้คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ/ขอคืน ง.ไม่ต้องชำระภาษี เงิน 8.ร้านรุ่งฟ้า ขายสินค้า 50,000 บาทและจ่ายค่าใช้จ่าย ก. ภาษีที่ต้องชำระ 4,200 บาท 30,000 บาท ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเท่าใด ข. ภาษีที่ขอคืนเงิน 7,000 บาท ก. 20,000 บาท ค. ภาษีมี่ต้องชำระ 2,800 บาท ข. 3,500 บาท ง. ภาษีที่ขอคืนเงิน 4,200 บาท ค. 2,100 บาท 4.ร้านเจริญการค้าซื้อสินค้า 85,000 บาท และขายสินค้า ง. 1,400 บาท ได้ 48,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ต้องชำระภาษีมูลค่า 9.จากข้อ 8 ถ้าร้านรุ่งฟ้า ขายสินค้าเพียงอย่างเดียวต้อง เพิ่มหรือได้รับเงินคืนจำนวนเท่าใด เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจำนวนเท่าใด ก. ชำระภาษีเพิ่ม 5,950 บาท ก. 20,000 บาท ข. ขอคืนเงินภาษี 3,360 บาท ข. 3,500 บาท ค. จอคืนเงินภาษี 2,590 บาท ค. 2,100 บาท ง. ชำระภาษี 2,590 บาท ง. 1,400 บาท 5.ร้านเทวาซื้อสินค้าเพิ่ม 40,00บาท และขายได้เงิน 10.จากข้อ 8 ถ้าร้านรุ่งฟ้า ซื้อสินค้าเพียงอย่างเดียวต้อง 60,000 บาทให้คำนวณภาษีภาษีมูลค่าเพิ่ม ปฏิบัติอย่างไร ก. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ชำระ 2,800 บาท ก. ชำระเพิ่ม 2,100 บาท ข. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขอคืน 2,800 บาท ข. ชำระภาษี 3,500 บาท ค. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ชำระ 1,400 บาท ค. ขอคืนภาษี 2,100 บาท ง.ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขอคืน 1,400 บาท ง ขอคืนภาษี 1,400 บาท
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: