Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาคที่ 1 ปี 64 Research Methodology สัปดาห์ที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปร (1)

ภาคที่ 1 ปี 64 Research Methodology สัปดาห์ที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปร (1)

Published by wa.zewana, 2021-09-10 16:58:07

Description: ภาคที่ 1 ปี 64 Research Methodology สัปดาห์ที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปร (1)

Search

Read the Text Version

สปั ดาหท์ ี่ 4 ▪ การกาหนดวตั ถุประสงค์วจิ ยั ▪ การกาหนดตัวแปร ▪ สมมตฐิ านการวิจยั ▪ ความสมั พันธข์ องตัวแปรและสมมตฐิ านการวจิ ัย ▪ การทดสอบสมมตฐิ านการวจิ ยั Research & Methodology in Agriculture Communication & Informatics ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางการสื่อสาร ผศ. ดร. ปฐมาพร เนตินันทน์ และวิทยาการสารสนเทศการเกษตร 1 รหัสวชิ า: 04117401 จานวนหนว่ ยกิต: 3(3:0:6) หนว่ ยกติ

ข้นั ตอนการทาวิจยั 2 1. กำหนดเรอ่ื งที่จะทำวจิ ัย (Topic Identification) 2. วำงแผนออกแบบงำนวิจยั (Research Design) 3. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู (Data Collection) 4. วิเครำะห์ข้อมลู (Data Analysis) 5. เขยี นรำยงำนกำรวจิ ัย (Research Report)

การต้ังหัวเร่ืองในการวิจัย 3 ▪ เกมา่อืรผวิจวู้ ยัิจยั ซก่งึ าหหวั นเรด่ือปงั ญกาหราวนิจายั วจิจะยักใานหทนีส่ดนจใาจกจคะาศถึกาษมาวแิจลัย้วซต่งึ ม่อาไปจาจกงึ คปัวญรหกาานหานกดาหรวัวเิจรัย่ือง ภำวกำรณ์จำเป็น ปัญหำนำกำรวจิ ัย คำถำมกำรวจิ ยั กำหนดหัวเรอ่ื งกำรวจิ ยั หรอื ตั้งชือ่ เร่อื งกำรวิจยั

การกาหนดปัญหานาการวิจัย (RESEARCH PROBLEM) กำรกำหนดปญั หำนำกำรวจิ ยั ▪ ขภอ้าพครววามมทขอีม่ งลี สกั งิ่ ษทณีก่ าะลเปงั ็นศกึกาษราตัง้ คาถาม เป็นประโยคเชิงซ้อน แสดงให้เห็นถึง กำรตง้ั คำถำมกำรวิจยั ▪ ขปอ้ระคเวดา็นมเทป็มี่นลีขักอ้ ษยอ่ณยะเๆป็นปกราะรเดต็นงั้ คคาาถถาามมลปะรขะอ้ โยคเชิงเดีย่ ว แยกคาถามแตล่ ะ ตวั แปร ตัวแปร X แล้ว ตน้ ตาม Then Y เสมอ (X) (Y) 4

การกาหนดคาถามการวิจัย (RESEARCH PROBLEM) ▪ ขคอ้าถคาวมามแตทล่มี่ ะีลปกั รษะณเดะ็นเปเป็น็นกขาอ้รยตอ่งั้ คยาๆถาปมรปะเรดะ็นโยคคาถเชางิมเลดะีย่ ขวอ้ แยก การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย (RESEARCH OBJECTIVE) ▪ สอดคลอ้ งกับปั ญหานาวจิ ัย สว่ นใหญจ่ ะข้ึนต้นด้วยคาวา่ “เพ่อื ” ▪ ตามดว้ ย สารวจ เปรียบเทยี บ หาความสมั พันธ์ หาผลกระทบ ฯลฯ 5

คำถำมกำรวิจยั ปัญหำกำรวจิ ัย ส่ือออนไลนก์ ับสื่อบุคคล ส่ือใดมีประสทิ ธภิ าพในการให้ความรู้ ด้านการเกษตรกับเกษตรกรมากกว่ากัน 1. เกษตรกรมีความรดู้ ้านการเกษตรจากการเปดิ รับสอ่ื ออนไลน์ในระดับใด 2. เกษตรกรมีความรดู้ ้านการเกษตรจากการเปดิ รับสอื่ บุคคลในระดับไหน 3. สื่อใดมีประสทิ ธภิ าพในการทาใหเ้ กษตรกรเกดิ ความรดู้ ้านการเกษตร มากกว่ากนั เม่ือเปรียบเทียบระดับความรู้ทไี่ ด้รับระหว่างสื่อออนไลนก์ ับ ส่ือบคุ คล 4. การใหค้ วามรู้ด้านการเกษตรกับเกษตรกรอย่างมปี ระสิทธิภาพ ควรมี รูปแบบอย่างไร เปรียบเทียบระหว่างสื่อออนไลน์กับสื่อบคุ คล 6

คำถำมกำรวจิ ยั ปญั หำกำรวิจยั ตัวอย่าง สื่อออนไลนก์ ับส่ือบคุ คล ส่ือใดมีประสิทธภิ าพในการให้ความรู้ ด้านการเกษตรกับเกษตรกรมากกว่ากัน วตั ถปุ ระสงค์ กำรวจิ ยั 1. เกษตรกรมีความรดู้ ้านการเกษตรจากการเปดิ รับสอื่ ออนไลนใ์ นระดับใด 2. เกษตรกรมีความรดู้ ้านการเกษตรจากการเปดิ รับสอ่ื บคุ คลในระดับใด 1. เพ่ือศึกษาระดับความรู้ด้านการเกษตรจากการเปดิ รับส่ือออนไลนข์ อง เกษตรกร 2. เพ่ือศกึ ษาระดับความรู้ด้านการเกษตรจากการเปดิ รับสื่อบุคคลของ เกษตรกร 7

คำถำมกำรวจิ ัย ปัญหำกำรวจิ ยั ตวั อย่าง สื่อออนไลน์กับส่ือบคุ คล ส่ือใดมีประสิทธภิ าพในการให้ความรู้ ด้านการเกษตรกับเกษตรกรมากกว่ากัน วัตถปุ ระสงค์ กำรวิจัย 3. สื่อใดมีประสทิ ธิภาพในการทาใหเ้ กษตรกรเกดิ ความรดู้ ้านการเกษตร มากกว่ากนั เม่ือเปรียบเทียบระดับความรู้ทไี่ ด้รับระหว่างสื่อออนไลนก์ ับ ส่ือบคุ คล 3. เพ่ือศกึ ษาเปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพในการทาใหเ้ กษตรกรเกิดความรู้ด้าน การเกษตร ระหว่างสื่อออนไลน์กับสื่อบคุ คล 8

คำถำมกำรวจิ ัย ปญั หำกำรวจิ ยั ตวั อยา่ ง ส่ือออนไลน์กับส่ือบุคคล ส่ือใดมีประสิทธภิ าพในการให้ความรู้ ด้านการเกษตรกับเกษตรกรมากกว่ากัน วตั ถุประสงค์ กำรวิจัย 4. การใหค้ วามรู้ด้านการเกษตรกับเกษตรกรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ควรมี รูปแบบอย่างไร เปรียบเทียบระหว่างส่ือออนไลน์กับสื่อบคุ คล 4. เพ่ือศกึ ษารูปแบบการส่ือสารที่มีประสิทธภิ าพในการให้ความรู้ด้าน การเกษตรกับเกษตรกร เม่ือเปรียบเทียบระหว่างสอ่ื ออนไลนก์ ับสื่อบคุ คล 9

การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 10 ▪ วัตถปุ ระสงค์กำรวิจยั เป็นกญุ แจสำคัญที่จะทำให้งำนวิจยั สำมำรถมีเกณฑ์ ในกำรหำคำตอบได้ ▪ วัตถุประสงคง์ ำนวจิ ยั เป็นกำรบอกใหท้ รำบว่ำ กำรวจิ ยั นัน้ มีจดุ มงุ่ หมำยท่ี ต้องกำรจะศกึ ษำในประเด็นใด แงม่ ุมใด ▪ ดงั นั้น กำรเขียนวัตถุประสงคก์ ำรวจิ ัยจะตอ้ งไมค่ ลมุ เครอื สำมำรถบ่งชถ้ี ึง สิ่งที่จะทำ ขอบเขต และคำตอบท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั ท้งั ในระยะสั้น ระยะยำว วตั ถุประสงค์กำรวจิ ัยจะต้องสอดคล้องกับปญั หำ และคำถำมนำวิจยั

การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 11 เทคนิคกำรเขียนวัตถุประสงคก์ ำรวิจยั ▪ เขยี นเป็นวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective) คอื สำมำรถ นำมำพฒั นำตอ่ เปน็ นยิ ำมศัพทท์ ่ีสำมำรถวัดค่ำพฤติกรรมนัน้ ไดอ้ ย่ำงเปน็ รูปธรรม ▪ แตล่ ะวัตถุประสงค์กำรวิจัยตอ้ งกระจ่ำงชดั แต่ละข้อมปี ระเด็นเดยี ว ▪ เขยี นเปน็ ประโยคบอกเล่ำ โดยใชภ้ ำษำท่อี ำ่ นงำ่ ย กระชบั ชดั เจน ไมก่ ำกวม

การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 12 เทคนคิ กำรเขียนวตั ถุประสงค์กำรวจิ ยั ▪ เขยี นเปน็ ประโยคบอกเล่ำ โดยใชภ้ ำษำที่อำ่ นงำ่ ย กระชับ ชัดเจน ไมก่ ำกวม ▪ ระบุพฤติกรรมที่ต้องกำรจะศึกษำใหช้ ัดเจน ถ้อยคำทนี่ ิยมใช้ เช่น กำรหำคำ่ กำรเปรียบเทียบ กำรศกึ ษำปจั จยั กำรประเมนิ กำรสำรวจ กำรหำควำมสัมพันธ์

การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 13 ตัวอย่าง ควำมสัมพนั ธข์ องกลยุทธ์กำรส่ือสำรตรำสนิ ค้ำทำงกำรเกษตรกบั พฤติกรรรมกำรตัดสินใจซอ้ื ใช้สนิ ค้ำทำงกำรเกษตรผำ่ นสอ่ื สังคมออนไลน์ เฟซบกุ๊ กรณศี กึ ษำ: ฮำซัน อำหำรทะเลตำกแห้ง จ.สตูล ▪ เพ่ือศกึ ษากลยุทธ์การส่ือสารตราสินคา้ ทางการเกษตร ▪ เพอื่ ศึกษาพฤตกิ รรรมการตัดสนิ ใจซ้ือใช้สินค้าทางการเกษตรผา่ นสื่อสังคมออนไลน์ เฟซบกุ๊ ▪ เพ่ือศึกษาความสัมพันธข์ องกลยุทธก์ ารส่ือสารตราสินค้าทางการเกษตรกบั พฤตกิ รรรมการ ตัดสินใจซ้อื ใช้สนิ ค้าทางการเกษตรผา่ นเฟซบกุ๊ ▪ เพื่อศกึ ษาแนวทางการการสื่อสารตราสนิ คา้ ทางการเกษตรอย่างมีกลยุทธ์ท่สี ง่ เสริมในการทา ตลาดสินคา้ ทางการเกษตรประสบความสาเร็จ

กระบวนการทาวิจัยเชิงปริมาณ 14 บคุ คล ปญั หำนำกำรวจิ ัย วรรณกรรม วรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ▪ผู้เช่ียวชาญ ▪แนวคิด ทฤษฎี ▪ประสบการณ์ของผวู้ ิจัย นิยำม / ตัวแปร ▪โมเดล กำรออกแบบกำรวิจัย ▪ผลการวิจัย ▪บทความวิชาการ / วจิ ยั ประชำกร สมมตฐิ ำน เทคนคิ กำรสุม่ ตัวแปรท่วี ัด กล่มุ ตัวอยำ่ ง เคร่อื งมอื / มำตรวัด กำรเกบ็ ขอ้ มูล วเิ ครำะหข์ อ้ มลู

การกาหนดเร่ืองที่จะทาวิจัย 15 ตอ้ งวิเคราะห์ว่า งานวิจยั เร่ืองนี.้ ... ▪ ไสดา้คัญและเป็นประโยชนห์ รอื ไม่ เขยี นบทที่ 1 บทนา ความสาคัญของปั ญหา ▪ เราต้องการอะไรจากการทาวิจัยชนิ้ นี้ กาหนดปั ญหา /วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ▪ รมขะอายกบะนเเขวอ้ ตลยากเกพาารียรวงทจิใัยดาวเรทจิ าายั กไววดา้ธิ ้จงกี รขางิ วรหาเรกงือ็บกไขนิมอ้ เ่ วมลลู ากไดามห้ ีขนอ้ ดจาตกวั ัดแหปรรอื ปไรมะ่ ชสางิ่ กทรีจ่ ะกศลึกุ่มษตาวั อเนย้อื า่ หง า ▪ สปัิง่ญไหหนาทออี่ ยยา่ างกไหร าคากตาอหบนนดา่ นจยิ ะาถมูกศกัพาหทนส์ ดาหขอรบับกเขาตรใวหจิ ยั้ชไัดดเจ้ น ลึกซ้ึง ครอบคลุม ▪ วคิจาัยตอแบนทวคีไ่ ดิดจ้ ทากฤกษาฎรี วงจิานยั นวจิา่ ัยจะทเีเ่ปก็นีย่ ไวปขใอ้ นงทไดศิ ้ ทางใด กาหนดสมมตฐิ านการ

การออกแบบงานวิจัย ตอ้ งวเิ คราะห์วา่ งานวจิ ยั เร่ืองนี.้ ... ▪ ระเบยี บวธิ ีวิจัยเป็นแบบใด (Research Methodology) (พฐ. บงั คับวา่ เป็นเชิงปริมาณ) ▪ เคร่ืองมอื วจิ ัยคอื อะไร (Research Tool) (แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง คือกล่มุ ไหนบา้ ง แบบสอบถามจะเป็นยงั ไง มกี ีต่ อน) ▪ วเริธากี อา่ารนเกใหบ็ ้ฟขัอ้งแมลูละเเปล็นอื ยกังตไองบ(Dใหat้ aตอ้ Cงoเกlleบ็ cขtอ้inมgลู ลMกั eษthณoะdย)ังไ(กง)ลุม่ ตัวอยา่ งเป็นใคร กล่มุ ตวั อยา่ งตอบเอง ▪ หจะรวือเิ ไคมร)่าะห์ขอ้ มูลยังไง (Data Analysis Method) (ใช้สถติ ิอะไรบา้ ง มีการทดสอบสมมติฐาน ▪ วางแผนทาวจิ ยั ยังไง (Research Planning) (วางแผนทาวจิ ยั ยงั ไง ตารางกาหนดการทาวิจยั เป็น ยงั ไง) ▪ จะเขียนบทที่ 1, 2, 3, 4, 5 ยังไง (Research Proposal) 16

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 17 ▪ตอ้ งระบุ ▪ ความหมายของตัวแปร วา่ หมายถงึ อะไร ขอบเขตแคไ่ หน นิยามศัพท์ ▪ ประเภทของตวั แปร ตัวแปรต้น (ตัวแปรทีม่ ากอ่ น - เหตุ) ตวั แปรตาม (ตวั แปรทีม่ าทหี ลงั - ผล) ▪ ระดบั การวัดตัวแปร การวัดตัวแปร มี 4 ระดับ เรียงจากระดับการวัดในระดบั หยาบไปละเอยี ด 1. ตวั แปร 2. ตัวแปรมาตร 3. ตวั แปรมาตร 4. ตวั แปร นามบญั ญัติ เรยี งลาดบั อ(IันnตteรrภvาaคlหSรcือaชle่ว)ง (RอatัตioราSสc่วaนle) (Nominal Scale) (Ordinal Scale)

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 18 ▪ ระดบั การวัดตวั แปร การวดั ตวั แปร มี 4 ระดับ เรียงจากระดบั การวดั ในระดับหยาบ ไปละเอียด วดั ระดับขอ้ มลู ไดล้ ะเอียดนอ้ ยไปมาก ละเอยี ดมากทสี่ ดุ 1. ตัวแปรนามบญั ญัติ 2. ตัวแปรมาตร 3. ตวั แปรมาตร 4. ตวั แปรอัตราส่วน (Nominal Scale) เรยี งลาดบั อนั ตรภาคหรอื ช่วง (Ratio Scale) (Interval Scale) ▪ เพศ อาชีพ เช้ือชาติ (Ordinal Scale) ▪ จัด วดั กลมุ่ และลงรหัสได้ ▪ ช่วงรายได้ ช่วงอายุ ▪ อายุ นา้ หนัก ความสงู รายได้ ระดับ ▪ ไมม่ ีคา่ มูลคา่ (เป็นตัวเลข) ▪ การศกึ ษา ตาแหนง่ ทางทางาน ▪ จดั วัดกลมุ่ และลงรหสั ได้ การรับรู้ ความรู้ ทัศนคติ พฤตกิ รรม ▪ จัด วดั กลุ่ม และลงรหัสได้ ▪ บอกคุณคา่ ได้วา่ อะไรทคี่ ณุ คา่ สงู ▪ จัด วัดกลมุ่ และลงรหสั ได้ ทแี่ ทจ้ ริง ▪ บอกคุณคา่ ได้วา่ อะไรทคี่ ุณคา่ กว่าอะไร มคี า่ ทตี่ ่างกันเป็นช่วง ๆ ▪ บอกคุณคา่ ได้วา่ อะไรทคี่ ุณคา่ สูง ▪ ใช้ตวั เลขแทนสัญลกั ษณไ์ ด้ แตล่ ะช่วงเทา่ ๆ กัน กว่าอะไร อะไรมากกวา่ อะไร เทา่ ไร สงู กวา่ อะไร แตไ่ มม่ ีคา่ เชิง ▪ ใช้ตัวเลขแทนสัญลกั ษณไ์ ด้ ▪ ใช้ตวั เลขแทนสญั ลกั ษณไ์ ด้ บอก ตวั เลขทีแ่ ทจ้ รงิ บอกคณุ คา่ จากการใช้ตวั เลข คุณคา่ ตัวเลขทกี่ าหนดคา่ อยา่ ง ▪ ใช้ตัวเลขแทนสญั ลักษณไ์ ด้ เรียงลาดบั ได้ แทจ้ รงิ ได้ บอกคณุ คา่ จากการใช้ตวั เลข เรียงลาดบั ได้

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 19 ▪ ระดับการวัดตัวแปร การวัดตวั แปร มี 4 ระดับ เรยี งจากระดบั การวดั ในระดับหยาบ ไปละเอยี ด วดั ระดบั ขอ้ มลู ไดล้ ะเอียดนอ้ ยไปมาก ละเอยี ดมากทีส่ ุด 3. ตวั แปรมาตร 4. ตวั แปรอัตราส่วน อ(IันnตteรrภvาaคlหSรcอื aชle่ว)ง (Ratio Scale) ▪ ช่วงรายได้ ช่วงอายุ ▪ อายุ นา้ หนัก ความสงู รายได้ ระดับการ ▪ จดั วดั กล่มุ และลงรหัสได้ รบั รู้ ความรู้ ทัศนคติ พฤตกิ รรม ▪ บอกคุณคา่ ได้วา่ อะไรทคี่ ณุ คา่ สูงกวา่ ▪ จัด วัดกลมุ่ และลงรหัสได้ อะไร มคี า่ ทตี่ า่ งกนั เป็นช่วง ๆ แต่ละช่วง ▪ บอกคณุ คา่ ไดว้ า่ อะไรทีค่ ุณคา่ สูงกวา่ เทา่ ๆ กนั ▪ ใช้ตวั เลขแทนสัญลักษณไ์ ด้ บอกคุณคา่ อะไร อะไรมากกว่าอะไร เทา่ ไร จากการใช้ตัวเลขเรยี งลาดับได้ ▪ ใช้ตวั เลขแทนสญั ลกั ษณไ์ ด้ บอกคณุ คา่ ตวั เลขทกี่ าหนดคา่ อยา่ งแทจ้ ริงได้

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 20 ▪ ระดับการวดั ตวั แปร การวดั ตวั แปร มี 4 ระดบั เรยี งจากระดบั การวดั ในระดบั หยาบ ไปละเอียด วัดระดบั ขอ้ มลู ไดล้ ะเอียดนอ้ ยไปมาก ละเอยี ดมากทีส่ ุด 1. ตวั แปรนามบญั ญัติ 2. ตวั แปรมาตรเรียงลาดับ (Nominal Scale) (Ordinal Scale) ▪ เพศ อาชพี เช้ือชาติ ▪ การศกึ ษา ตาแหนง่ ทางทางาน ▪ จัด วัดกลมุ่ และลงรหสั ได้ ▪ จดั วดั กลุ่ม และลงรหสั ได้ ▪ ไมม่ คี า่ มลู คา่ (เป็นตวั เลข) ทีแ่ ทจ้ รงิ ▪ บอกคุณคา่ ไดว้ า่ อะไรทีค่ ณุ คา่ สงู กว่าอะไร ▪ ใช้ตวั เลขแทนสญั ลกั ษณไ์ ด้ แตไ่ มม่ ีคา่ เชงิ ตวั เลขทแี่ ทจ้ ริง ▪ ใช้ตัวเลขแทนสญั ลกั ษณไ์ ด้ บอกคณุ คา่ จากการใช้ตวั เลขเรียงลาดบั ได้

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 21 ▪ ระดับการวดั ตวั แปร การวดั ตัวแปร มี 4 ระดับ เรียงจากระดบั การวัดในระดบั หยาบ ไปละเอยี ด วัดระดับขอ้ มูลไดล้ ะเอียดนอ้ ยไปมาก ละเอยี ดมากทสี่ ุด การวดั ตวั แปร แบบอัตราส่วน มีแบบทีน่ ยิ ม 3 แบบ 1. Likert’s Scale แบง่ เป็น 5 ช่วง 0 – 4 (0 – 1 – 2 – 3 – 4 การแปลคา่ คอื ไมเ่ ลย – นอ้ ย – ปานกลาง – มาก – มากทีส่ ดุ ) หรือ 1-5 (1 – 2 – 3 – 4 – 5 การแปลคา่ คอื นอ้ ยทีส่ ดุ – นอ้ ย – ปานกลาง – มาก - มากทีส่ ุด) 2. Thurstone แบง่ เป็น 11 ช่วง หาคา่ กลางกอ่ น แลว้ ไล่จากคา่ กลางไปซ้ายกบั ขวา ดา้ นซ้าย คือ ไมเ่ ลย – นอ้ ย ตรงกลาง คอื เฉยๆ ดา้ นขวา คอื มาก – มากทีส่ ดุ 3. Osgood แบง่ เป็น 2 ดา้ น เหมือดา้ นบวกกบั ดา้ นลบ เช่น เลว – ดี เท็จ – จรงิ เร็ว – ช้า ซ้อื – ไมซ่ ้อื ไมเ่ หน็ ดว้ ย – เหน็ ดว้ ย ไมช่ อบ - ชอบ

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 22 ▪ ระดับการวดั ตัวแปร การวดั ตวั แปร มี 4 ระดับ เรียงจากระดับการวดั ในระดบั หยาบ ไปละเอยี ด วัดระดบั ขอ้ มลู ไดล้ ะเอียดนอ้ ยไปมาก ละเอียดมากทสี่ ุด 4. ตัวแปร ทัศนคติ ความพึงพอใจ ความรู้ พฤตกิ รรม อตั ราส่วน • ไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ ง • ไมพ่ งึ พอใจ • รู้จกั – เขา้ ใจ – • ภายนอก: (Ratio Scale) ยงิ่ • ไล่ไปถงึ ระลึกกึงได้ ซ้ือ ใช้ ความถี่ • มากทีส่ ดุ • จดจาได้ ซ้อื ใช้ แนะนา • ไล่ไปถงึ •รจู้ กั คณุ ลกั ษณะ บอกตอ่ ปกป้ อง • เหน็ ดว้ ยอยา่ งยิง่ – คณุ ประโยชน์ – เชงิ กายภาพ – • ภายใน: ความรู้ อารมณ์ - สะทอ้ น ความเช่ือ ตัวตน แรงจงู ใจ ความ ตัง้ ใจซ้อื

การกาหนดตัวแปร (VARIABLE) 23 ▪ ระดบั การวัดตัวแปร การวัดตัวแปร มี 4 ระดบั เรยี งจากระดบั การวดั จากระดบั หยาบไปละเอียด 1. ตัวแปร 2. ตัวแปร นามบญั ญตั ิ มาตรเรียงลาดบั (Nominal Scale) (Ordinal Scale) 3. ตัวแปรมาตร 4. ตวั แปร อนั ตรภาคหรอื ช่วง อตั ราสว่ น (Ratio (Interval Scale) Scale)

กระบวนการทาวิจัยเชิงปริมาณ 24 บคุ คล ปญั หำนำกำรวจิ ัย วรรณกรรม วรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ▪ผู้เช่ียวชาญ ▪แนวคิด ทฤษฎี ▪ประสบการณ์ของผวู้ ิจัย นิยำม / ตัวแปร ▪โมเดล กำรออกแบบกำรวิจัย ▪ผลการวิจัย ▪บทความวิชาการ / วจิ ยั ประชำกร สมมตฐิ ำน เทคนคิ กำรสุม่ ตัวแปรท่วี ัด กล่มุ ตัวอยำ่ ง เคร่อื งมอื / มำตรวัด กำรเกบ็ ขอ้ มูล วเิ ครำะหข์ อ้ มลู

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) คือ ▪ กทาฤรษคฎาีดงาคนะเวนจิ คัยาทตเี่ กอยี่บวอขยอ้ า่ งงมเี หตุผล และรอบคอบ อ้างอิงจากแนวคิด ▪ เกปา็นรวกิจายัรหหารแือนสวิง่ ททีศ่างึกเษพา่อื วอิจธัยบิ โาดยยปกราารกเฏชก่ือามรโณยง์ เหอตุปกุมาารอณุปไ์ หมรยือปั ญหา ▪ ตเน้ป็แนลกะาตรกวั แาปหรนตดาขมอ้ ความแสดงความสัมพนั ธล์ ักษณะต่าง ๆ ของตัวแปร ▪ เป็นการกาหนดทิศทางขอ้ คน้ พบจากการวิจัย (What) ล่วงหนา้ ▪ ขอ้ คน้ พบจากงานวิจัยจะเป็นไปตามสมมตฐิ านหรือไมก่ ็ได้ 25

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) ประโยชน์ คือ ▪ ไไดด้ช้แดันเวจทนาขง้ึนอธิบายปรากฏการณ์ เหตกุ ารณ์ หรอื ปั ญหาการวจิ ัยของสิง่ ทีศ่ กึ ษาวิจัย ▪ ตช่วายมกทาที่ หดนสดอขบอ้ ไคดว้จาามกแกสาดรวงคิจยัวามสัมพันธล์ กั ษณะตา่ ง ๆ ของตัวแปรตน้ และตวั แปร ▪ ช่วยกาหนดทิศทางของการวิจยั ▪ ช่วยกาหนดกรอบในการเขียนและรายงานการวิจยั (บทที่ 4) ▪ ช่วยกาหนดขอบเขตในการทาวิจยั 26

ประเภทของสมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) สมมติฐำนกำรวจิ ยั ตำมทฤษฎี สมมตฐิ ำนทำงสถิติ (Research /Theoretical (Statistical Hypothesis) Hypothesis) • เขียนเป็นโครงสร้าง สญั ลกั ษณท์ าง คณติ ศาสตร์ 1.เขียนเป็นประโยคบอกเล่า แสดงการ คาดคะเนทศิ ทางขอ้ คน้ พบจากการ • สามารถทดสอบได้ดว้ ยวธิ กี ารทาง วิจัย (what) ลว่ งหนา้ สถิติ 2.บง่ บอกความสัมพันธล์ กั ษณะต่าง ๆ ของตวั แปรต้นและตัวแปรตาม 27

สมมติฐานการวิจัยที่ดี ▪ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั ▪ อธบิ ายหรือตอบคาถามได้ ในรปู แบบทสี่ ามารถลงสรุปได้วา่ จะสนบั สนนุ หรอื คดั คา้ น ▪ ตอบคาถามเพยี งขอ้ เดียวหรือประเดน็ เดยี ว ถ้ามีหลายตัวแปร หลายประเด็น ควร แยกเป็นสมมตฐิ านยอ่ ย ๆ ▪ สอดคลอ้ งกบั สภาพทีเ่ ป็นจริงทีเ่ ป็นทยี่ อมรบั กนั ทวั่ ไป ▪ ตอ้ งสมเหตสุ มผลตามทฤษฎีและความรพู้ ้ืนฐาน ▪ อ่านเขา้ ใจงา่ ยและมีความชดั เจนภายในตวั ของมันเอง ▪ ต้องสามารถตรวจสอบได้ มีขอ้ มูลหรอื หลักฐานทจี่ ะนามาสนบั สนนุ ▪ มีขอบเขตพอเหมาะไมแ่ คบหรือกวา้ งไป ▪ มอี านาจในการพยากรณส์ ูง 28

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) ▪ สทกางิ่ิศทรทคศี่ าาึกงดขษคอ้าะควเิจนน้ ัยพคาบแตสจอดาบกงคกแาวนราววมทจิ สยัามั งลพเว่ พนั ง่อืหธอล์นธกั า้ บิษาณยะปตรา่ างกๆฏกขาอรณงต์ วัเหแปตกุรตารน้ ณแล์ หะตรอืวั แปัปญรหตาากมารกวาจิหัยนหดรือ ▪ เขียนได้ 2 แบบ 1. สมมติฐานทีเ่ ป็นกลาง (Null Hypothesis) มักจะมีคาวา่ ไมแ่ ตกตา่ งกัน ไมส่ ัมพนั ธก์ ัน 2. สมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis) 2.1) แบบมีทิศทาง (Directional Alternative Hypothesis) มกั จะมคี าวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ ต่ากวา่ สูงกวา่ ดกี วา่ 292.2) แแบตกบตไมา่ งม่ กีทันศิ ทสัมางพัน(ธNก์ oนั n-Directional Alternative Hypothesis) มกั จะมีคาวา่

การพิจารณาตัวแปรจากสมมติฐาน การพจิ ารณาหวั ขอ้ ปั ญหาทจี่ ะวจิ ัยนัน้ ศกึ ษาตวั แปรอะไรบา้ ง และมตี วั แปรใด เป็นตัวแปรอสิ ระและ ตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากสมมติฐาน ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ สมมติฐำนกำรวิจัย 1. เกษตรกรผูช้ ายสนใจเปิดรบั ส่ือออนไลนม์ ากกวา่ มากกวา่ ผหู้ ญงิ ตัวแปรอสิ ระ คือ เพศ ตัวแปรตาม คือ เปดิ รบั ส่อื ออนไลน์ 30

การพิจารณาตัวแปรจากสมมติฐาน 31 การพิจารณาหวั ขอ้ ปั ญหาทจี่ ะวิจัยนนั้ ศกึ ษาตวั แปรอะไรบา้ ง และมตี วั แปรใด เป็นตัวแปรอิสระและ ตัวแปรใดเป็นตวั แปรตาม สามารถพจิ ารณาได้จากสมมตฐิ าน ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้ สมมตฐิ ำนกำรวจิ ัย 2. ผูท้ จี่ บการศกึ ษาจากคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มีความสามารถในรับรู้กลยุทธก์ าร ส่ือสารตราสนิ คา้ ประเภทการเกษตรมากกวา่ ผทู้ จี่ บการศึกษาจากคณะนเิ ทศศาสตร์ ตัวแปรอิสระ คือ สาขาทศ่ี ึกษา ตัวแปรตาม คอื ความสามารถในรบั ร้กู ลยุทธ์การส่ือสารตราสนิ คา้ ประเภทการเกษตร

การพิจารณาตัวแปรจากสมมติฐาน การพิจารณาหวั ขอ้ ปั ญหาทีจ่ ะวิจัยนัน้ ศกึ ษาตัวแปรอะไรบา้ ง และมีตวั แปรใด เป็นตวั แปรอิสระและ ตวั แปรใดเป็นตวั แปรตาม สามารถพิจารณาได้จากสมมติฐาน ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้ สมมติฐำนกำรวจิ ยั 3. พนักงานขายทฝี่ ึกอบรมตา่ งกันจะมพี ฤตกิ รรมการส่ือสารตราสินคา้ กับ ผบู้ รโิ ภคตา่ งกนั ตวั แปรอิสระ คอื วธิ กี ารฝกึ อบรม ตัวแปรตาม คือ พฤตกิ รรมการสื่อสารตราสินคา้ กับผบู้ รโิ ภค 32

การพิจารณาตัวแปรจากสมมติฐาน การพิจารณาหวั ขอ้ ปั ญหาทจี่ ะวิจัยนนั้ ศกึ ษาตัวแปรอะไรบา้ ง และมตี ัวแปรใด เป็นตัวแปรอิสระและ ตวั แปรใดเป็นตวั แปรตาม สามารถพิจารณาไดจ้ ากสมมติฐาน ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้ สมมติฐำนกำรวิจยั 4. ระดบั รายได้ต่อเดือนและการแสดงพฤติกรรมการซ้อื ใช้สนิ คา้ แบรนดเ์ นมมี ความสัมพนั ธก์ นั ทางบวก ตวั แปรอิสระ คือ ระดบั รายได้ ตัวแปรตาม คือ การแสดงพฤตกิ รรมการซ้อื ใชส้ นิ ค้าแบรนด์เนม 33

ประเภทของสมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) สมมตฐิ ำนกำรวจิ ยั ตำมทฤษฎี สมมตฐิ ำนทำงสถิติ (Research /Theoretical (Statistical Hypothesis) Hypothesis) 1.เขียนเป็นประโยคบอกเลา่ แสดง • เขยี นเป็นโครงสร้าง สญั ลักษณ์ การคาดคะเนทศิ ทางขอ้ คน้ พบ ทางคณติ ศาสตร์ จากการวจิ ัย (what) ลว่ งหนา้ • สามารถทดสอบไดด้ ว้ ยวธิ ีการ 2.บง่ บอกความสัมพนั ธล์ กั ษณะตา่ ง ทางสถติ ิ ๆ ของตวั แปรตน้ และตัวแปรตาม 34

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) สญั ลักษณท์ ีใ่ ช้บอ่ ยในการตงั้ สมมตฐิ านทางสถิติ ไดแ้ ก่ r แทนความสัมพนั ธข์ องตวั แปรในรปู คะแนนดบิ ρ แทนความสมั พันธข์ องตัวแปรในรปู อันดับที่ μ แทนคา่ ของประชากร 35

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การตงั้ สมมตฐิ านทางสถิติ r แทนความสัมพนั ธข์ องตวั แปรในรูปคะแนนดบิ ρ แทนความสมั พันธข์ องตวั แปรในรปู อันดบั ที่ 1. สมมติฐานทเี่ ป็นกลาง (Null Hypothesμisแ)ทนคา่ ของประชากร ตวั อยา่ งสมมตฐิ านทางสถติ แิ บบเป็นกลาง (H0) กรณกี ารหาความสัมพนั ธข์ องตัวแปร ������0: ������������������ = 0 กรณกี ารเปรยี บเทียบ ������0: ������1 = ������2 หรือ ������A = ������������ 36

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การตัง้ สมมตฐิ านทางสถิติ r แทนความสัมพันธข์ องตวั แปรในรูปคะแนนดิบ ρ แทนความสัมพนั ธข์ องตวั แปรในรปู อนั ดบั ที่ 2. สมมตฐิ านทางเลอื ก (Alternative Hypothesis) μ แทนคา่ ของประชากร ������2 แทนความแปรปรวนของประชากร ตวั อยา่ งการตัง้ สมมติฐานทางสถิตแิ บบไมเ่ ป็นกลาง (������1) กรณกี ารหาความสัมพนั ธข์ องตวั แปร กรณีเปรียบเทยี บ ������: ������ ≠ 0 หรือ ρ ≠ 0 หรอื ������: ������ > ������ ������: ������ ≠ 0 เป็น + หรอื ρ ABเป็น + หรือ ������: ������ < ������ ������: ������ ≠ 0 เป็น - หรอื ρ ABเป็น – 37

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การต้งั สมมตฐิ านทางสถิติ ตัวอยา่ งท่ี 1 จดุ มุง่ หมาย เพ่ือศึกษาวา่ การเปิดรับเคร่อื งมือส่อื สารการตลาดแบบตา่ ง ๆ กับพฤติกรรมการซ้ือใช้ตราสนิ คา้ จะสมั พันธก์ นั หรือไม่ กรณีท่ี 1 ตง้ั สมมติฐานทางวิจยั แบบมีทิศทาง กรณที ่ี 2 ตัง้ สมมตฐิ านทางวิจยั แบบไม่มที ศิ ทาง การเปดิ รับเคร่ืองมอื สอื่ สารการตลาดแบบต่าง ๆ กับ การเปดิ รบั เคร่ืองมอื สอ่ื สารการตลาดแบบต่าง ๆ กบั พฤติกรรมการซื้อใช้ตราสนิ ค้ามีความสมั พันธ์กนั พฤติกรรมการซือ้ ใชต้ ราสินค้ามีความสัมพันธก์ นั ทางบวก สมมตฐิ านทางสถติ ิ สมมตฐิ านทางสถิติ ������0: ������������������ = 0 ������������: ������������������ = ������ ������1: ������������������ # 0 เมอ่ื ������������������ เปน็ ความสมั พนั ธข์ องตวั แปรการเปิดรับเครื่องมอื ������������: ������������������ มคี า่ เปน็ + สอื่ สารการตลาดแบบต่าง ๆ กบั พฤติกรรมการซื้อใช้ตราสินคา้

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การต้ังสมมติฐานทางสถติ ิ ตวั อย่างท่ี 2 จดุ มุง่ หมาย เพ่อื ศึกษาวา่ ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ ตราสนิ คา้ ของผูท้ ีแ่ สดงพฤตกิ รรมการซ้อื ใช้ด้วยความภักดีในตราสนิ คา้ และผูท้ แี่ สดงพฤติกรรมการซ้อื ใช้ดว้ ยความเคยชนิ แตกต่างกนั หรือไม่ กรณที ่ี 1 ตง้ั สมมตฐิ านทางวิจัยแบบมที ศิ ทาง 1. ความคิดเห็นทีม่ ตี ่อตราสนิ ค้าของผูท้ ี่แสดงพฤติกรรมการซ้ือใชด้ ว้ ยความภักดใี นตราสินคา้ มีระดับมากกวา่ ของผทู้ แ่ี สดงพฤตกิ รรมการซือ้ ใช้ดว้ ยความเคยชิน สมมตฐิ านทางสถิติ ������0: μ 1 = μ 2 ������1: μ 1 < μ 2 39

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การต้ังสมมตฐิ านทางสถิติ ตวั อย่างที่ 2 จุดมุง่ หมาย เพ่ือศึกษาว่า ความคิดเหน็ ทีม่ ตี อ่ ตราสนิ คา้ ของผทู้ ีแ่ สดงพฤติกรรมการซ้อื ใช้ดว้ ยความภักดีในตราสินคา้ และผทู้ แี่ สดงพฤติกรรมการซ้อื ใช้ด้วยความเคยชนิ แตกต่างกนั หรือไม่ กรณีท่ี 1 ต้ังสมมตฐิ านทางวิจยั แบบมีทศิ ทาง 2. ความคดิ เหน็ ทม่ี ตี ่อตราสินคา้ ของผูท้ ่ีแสดงพฤตกิ รรมการซอื้ ใชด้ ้วยความภกั ดใี นตราสินค้า มีระดบั นอ้ ยกวา่ ของผ้ทู ีแ่ สดงพฤติกรรมการซ้ือใช้ด้วยความเคยชนิ สมมติฐานทางสถติ ิ ������0: μ 1 = μ 2 ������1: μ 1 < μ 2 40

สมมติฐานการวิจัย (RESEARCH HYPOTHESIS) การต้งั สมมติฐานทางสถติ ิ ตวั อย่างท่ี 2 จุดมงุ่ หมาย เพ่ือศกึ ษาว่า ความคดิ เห็นทมี่ ตี อ่ ตราสินคา้ ของผทู้ แี่ สดงพฤติกรรมการซ้ือ ใช้ดว้ ยความภกั ดใี นตราสินคา้ และผูท้ แี่ สดงพฤตกิ รรมการซ้ือใช้ด้วยความเคยชนิ แตกต่างกันหรือไม่ กรณีที่ 2 ตงั้ สมมติฐานทางวิจยั แบบไม่มีทศิ ทาง ความคิดเหน็ ท่มี ตี อ่ ตราสนิ คา้ ของผทู้ แ่ี สดงพฤตกิ รรมการซื้อใชด้ ว้ ยความภกั ดีในตราสินคา้ และ ผทู้ ี่แสดงพฤตกิ รรมการซื้อใชด้ ้วยความเคยชนิ แตกตา่ งกนั สมมตฐิ านทางสถิติ ������0: μ 1 = μ 2 ������1: μ 1 ≠ μ 2 41 เม่อื μ 1 หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ของความคิดเหน็ ของผปู้ ระกอบการ μ 2 หมายถึง คะแนนเฉลยี่ ของความคิดเหน็ ของพนักงาน

ข้ันตอนการทดสอบสมมติฐาน มี 6 ขัน้ ตอนดังนี้ ขนั้ ที่ 2 ขนั้ ที่ 3 ขัน้ ที่ 4 ขนั้ ที่ 5 ขัน้ ที่ 6 ขัน้ ที่ 1 กาหนดระดบั เลือกใช้สถิตทิ ี่ กาหนดคา่ เปรยี บเทยี บคา่ สรุปผลจากการ นัยสาคัญ เหมาะสม วิกฤติ (Critical ทไี่ ดก้ บั คา่ วกิ ฤติ ทดสอบ ตงั้ สมมตฐิ าน ทีก่ าหนดไว้ หา สมมตฐิ าน ประโยคบอกเล่า (∝ = 0.05) เพ่อื ใช้ทดสอบ Value)และ ขอ้ สรปู วา่ ปฏิเสธ และสมมติฐาน หรือ สมมตฐิ าน ทางสถิติ ทงั้ ที่ ขอบเขตวิกฤติ หรือยอมรบั เป็นกลางและ ความคลาด (Critical สมมตฐิ าน เคล่ือนที่ 95% Region) ทางเลอื ก 42 • Retain Hypothesis • X² • Correlation • Reject Hypothesis • Z-Test • Crosstab • T-Test • ANOVA • F-Test

ข้ันตอนการทดสอบสมมติฐาน ข้ันที่ 1 ▪ เป็นกระบวนการทมี รี ะบบและมกี ฎเกณฑส์ าหรับการตดั สนิ ใจวา่ จะยอมรับ ตงั้ สมมตฐิ าน หรอื ปฏเิ สธสมมตฐิ านทีต่ ัง้ ข้นึ เพ่ือการสรปุ อ้างองิ คา่ สถติ ิไปส่พู ารามเิ ตอร์ ประโยคบอกเลา่ ▪ เป็นขอ้ สมมตเิ กยี่ วกับคา่ พารามิเตอร์หน่งึ ตัวหรือมากกวา่ ของประชากร และสมมตฐิ านทาง หน่ึงกลุม่ หรือหลายประชากร ซ่ึงขอ้ สมมตดิ งั กลา่ วอาจเป็นจริงหรอื ไมก่ ็ได้ สถิติ ท้ังทีเ่ ป็นกลาง ▪ สมมติฐานทีจ่ ะทดสอบ จะเรียกว่า สมมติฐานเพ่อื การทดสอบ หรือ และทางเลือก สมมติฐานหลกั (null hypothesis) และแทนด้วย H0 ▪ สมมติฐานทแี่ ยง้ กับสมมติฐานหลกั เรยี กวา่ สมมตฐิ านแยง้ หรือ สมมตฐิ านรอง (alternative hypothesis) แทนดว้ ย H1 43

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน ข้ันท่ี 1 ▪ สมมติฐานทีจ่ ะทดสอบ จะเรียกวา่ สมมติฐานเพ่อื การทดสอบ หรอื ▪ สมมติฐานหลัก (null hypothesis) และแทนด้วย H0 เป็น ตงั้ สมมตฐิ าน ประโยคบอกเลา่ สมมติฐานทเี่ ป็นกลาง ตงั้ ไว้เพ่อื ทดสอบ กาหนดไวใ้ นลกั ษณะ และสมมติฐานทาง คา่ พารามิเตอร์ ไมม่ คี วามแตกตา่ งกบั คา่ ทตี่ อ้ งการ (เทา่ กบั ไมแ่ ตกตา่ ง สถติ ิ ทงั้ ทเ่ี ป็นกลาง ไมข่ ้ึนกับ ไมม่ ีความสมั พันธก์ ับ,ไมม่ ีผล) และทางเลือก สมมติฐานทแี่ ยง้ กบั สมมติฐานหลกั เรยี กว่า สมมตฐิ านแยง้ หรือ สมมตฐิ านรอง (alternative hypothesis) แทนดว้ ย H1 เป็น สมมตฐิ านทกี่ าหนดข้ึนมา เพ่ือรองรับการตดั สินใจยอมรบั (Accept) หรอื ปฏิเสธ (Reject) สมมติฐานหลัก (กาหนดในลักษณะตรงกนั ขา้ มกบั 44 สมมตฐิ านหลกั ) (ไมเ่ ทา่ กับ, แตกต่าง, ข้นึ กบั , มคี วามสมั พนั ธ,์ มผี ล)

ข้ันตอนการทดสอบสมมติฐาน ขั้นที่ 1 การทดสอบสมมตฐิ านแบบทางเดียว (One - tailed Test) ต้งั สมมตฐิ าน ประโยคบอกเล่า และสมมตฐิ านทาง สถิติ ทั้งทเ่ี ป็นกลาง และทางเลือก 45

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน ข้นั ที่ 1 การทดสอบสมมตฐิ านแบบทางเดยี ว (One - tailed Test) ตั้งสมมตฐิ าน ▪ จากสมมติฐานทตี่ ัง้ ข้นึ โดยอาศยั ตัวสถติ ิทดสอบ (Test Statistic) ซ่งึ อาจจะเป็น ประโยคบอกเล่า ������2, Z, T, หรือ F – Test และสมมติฐานทาง สถติ ิ ท้ังท่เี ป็นกลาง ▪ แลว้ นาขอ้ มูลหลกั ฐานทีเ่ ก็บรวบรวมไดจ้ ากตวั อยา่ งทีส่ ่มุ มาเป็นเกณฑใ์ นการ และทางเลือก ตดั สนิ ใจทจี่ ะยอมรับหรอื ปฏิเสธสมมตฐิ าน ������0 46 ▪ ดว้ ยเหตนุ จี้ ะเห็นวา่ มีการแบง่ การแจกแจงของตัวสถิตทิ ดสอบออกเป็น 2 ส่วน คือ บรเิ วณยอมรบั และปฏิเสธ โดยคา่ ทแี่ บง่ บรเิ วณทงั้ สองคา่ นี้ เรยี กวา่ คา่ วิกฤติ (critical value)

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน ข้นั ที่ 1 การทดสอบสมมติฐานแบบสองทาง (Tow - tailed Test) ตั้งสมมติฐาน ประโยคบอกเล่า และสมมตฐิ านทาง สถติ ิ ท้งั ที่เป็นกลาง และทางเลือก บรเิ วณยอมรับ (acceptance region) คอื บริเวณทที่ าให้เกิดการยอมรบั ������0 สว่ นบริเวณปฏเิ สธ (rejection region) หรือ 47 บริเวณวกิ ฤติ (critical region) คือบริเวณทีท่ าให้เกดิ การปฏเิ สธ ������0

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน ขัน้ ที่ 1 การทดสอบสมมตฐิ าน ตง้ั สมมติฐาน ขอบเขตสำหรับกำร ประโยคบอกเลา่ และสมมตฐิ านทาง ทดสอบแบบทำงเดียว สถติ ิ ทง้ั ทเี่ ป็นกลาง และทางเลือก (ขึ้นกับสมมติฐำนรอง) 48 -เขตปฏิเสธอย่ดู ้านซ้าย ������0: ������ ≥ ������1 ������1: ������ < ������1 -เขตปฏิเสธอยดู่ ้านขวา บรเิ วณยอมรบั (acceptance region) ������0: ������ ≤ ������1 ������1: ������ > ������1 คือ บรเิ วณทีท่ าให้เกิดการยอมรบั ������0 สว่ นบริเวณปฏิเสธ (rejection region) หรือ บริเวณวกิ ฤติ (critical region) คอื บริเวณทที่ าให้เกิดการปฏเิ สธ ������0

ข้ันตอนการทดสอบสมมติฐาน ขน้ั ที่ 2 ความคลาดเคลือ่ นในการตดั สินใจ กาหนดระดับ ▪ เน่อื งจากการตดั สนิ ใจทจี่ ะยอมรบั หรือปฏเิ สธสมมติฐาน นัยสาคญั ข้นึ อยกู่ ับขอ้ มูลทีเ่ กบ็ รวบรวมมาจากกลุม่ ตัวอยา่ ง (∝ = 0.05) จึงไมอ่ าจตัดสนิ ใจดว้ ยความมัน่ ใจได้ มโี อกาสทีจ่ ะตดั สนิ ใจ ผิดไดเ้ สมอ หรือ ความคลาด ▪ เช่น กาหนด ������ = 0.10 หมายความวา่ ยอมให้ เคลอ่ื นที่ 95% มโี อกาสปฏเิ สธสมมตฐิ านหลกั เทา่ กบั 10 % มโี อกาสยอมรบั สมมติฐานหลกั เทา่ กับ 90 % เป็นขอบเขตของการสมมตฐิ าน 49

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน ขัน้ ที่ 3 วดั ระดบั ขอ้ มูลไดล้ ะเอยี ดนอ้ ยไปมาก ละเอยี ดมากทีส่ ดุ เลอื กใช้ น1าม. ขบอ้ัญมญลู ัติ 2.เรขียอ้ งมลลู ามดาับตร อ(Iนั 3nต.teรขrภอ้ vามaคูลlหSมรcาือaตชlรe่ว)ง 4.(ขRอ้aมtiูลoอSตั cรaาlสe)่วน สถติ ทิ ี่ (Nominal Scale) (Ordinal Scale) เหมาะสม เพอ่ื ใช้ ▪ วัดคา่ ขอ้ มลู โดยใช้ ▪ วัดคา่ ขอ้ มูล โดยใช้กลมุ่ สถิติ ▪ วัดคา่ ขอ้ มูล โดยใช้กลุม่ ▪ วดั คา่ ขอ้ มลู โดยใช้กลุม่ ทดสอบ กลุม่ สถิติอยา่ งหน่ึง ▪ มัธยฐาน ฐานนิยม สถติ ิ สถิติ สมมติฐาน ▪ ความถี่ % ฐานนิยม เปอร์เซ็นตไ์ ทล์ ▪ ������ҧ / S.D ▪ ������ҧ / S.D / C.V 50 ▪ ������2 ▪ ������2 ▪ Crosstab ▪ Crosstab ▪ Z – Test / F – ▪ Crosstab ▪ Correlation ▪ Correlation ▪ Correlation ▪ Discriminant / ▪ Analysis of Variance Test ▪ Discriminant / ▪ Crosstab Regression Regression ▪ Factor Analysis