ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศึกษา 5 (ภมู ิศาสตร)์ รหสั วชิ า ส33101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลกและภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ตดี้ เู มน 2 ชอ่ งเมก็ อาเภอสริ ินธร จงั หวดั อุบลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง นาไปใชใ้ นการเรียนการสอน ซ่อมเสรมิ ได้ หรือใชใ้ นการสอนแทนได้เปน็ อย่างดี เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจและพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ทม่ี ุ่งเน้นให้ผเู้ รียนได้รับการ พัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร การตดั สินใจ การนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั ตลอดจนสง่ เสริม ให้ผเู้ รยี นมีจติ สงั คมศกึ ษาคณุ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีถูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ทาให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติได้เป็นอย่างดี และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองเป็นสื่อท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของหลกั สูตรได้ รมยร์ วินท์ เชดิ ชู โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ก
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค สำรบญั เร่อื ง หนำ้ คำนำ ก สำรบญั ข คำชีแ้ จงเกย่ี วกบั กำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ค แผนภมู ิลำดบั ขน้ั ตอนกำรใชช้ ดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ง คำช้แี จงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้สำหรบั ครู จ คำชีแ้ จงกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้สำหรับนักเรียน ฉ 1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สตู่ ัวชีว้ ัด 2 สาระสาคัญ 3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 5 บัตรเนอื้ หา ชุดที่ 6 เร่ือง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 25 บัตรกจิ กรรมท่ี 6.1 เรอื่ ง ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 27 บัตรกิจกรรมที่ 6.2 เรือ่ ง การปฏบิ ัติตนเมอื่ เกิดภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 29 บตั รกจิ กรรมท่ี 6.3 ผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค 30 แบบทดสอบหลงั เรียน 32 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 33 บรรณำนกุ รม 35 ภำคผนวก 36 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 6.1 เรอ่ื ง ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค 38 เฉลยบัตรกจิ กรรมท่ี 6.2 เรื่อง การปฏิบตั ติ นเมอ่ื เกิดภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ 41 ทางบรรยากาศภาค 42 เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 6.3 ผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ประวตั ยิ อ่ ผู้จัดทำ 43 โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ข
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค คำช้แี จงเก่ียวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของ โลกและภัยพิบัติทางธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 โดยสอดคล้องตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศกึ ษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกทเ่ี หมาะสมกับระดับ และวัย เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ ส่งเสริมเจตคติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ซง่ึ ประกอบด้วยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จานวน 8 ชดุ ดงั น้ี ชุดที่ 1 เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาค ชดุ ท่ี 2 เรื่อง การเปลีย่ นแปลงทางบรรยากาศภาค ชดุ ท่ี 3 เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงทางอุทกภาค ชดุ ท่ี 4 เรื่อง การเปลย่ี นแปลงทางชวี ภาค ชดุ ที่ 5 เรื่อง ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางธรณภี าค ชุดท่ี 6 เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ชุดที่ 7 เรื่อง ภัยพบิ ัติธรรมชาตทิ างอุทกภาค ชดุ ที่ 8 เรือ่ ง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชีวภาค 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดนี้เป็น ชุดที่ 6 เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงบรรยำกำศภำค ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง 3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ควรศึกษาข้ันตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง ละเอียดก่อนใช้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อนักเรียนและ ผู้สนใจท่ีจะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีคุณภาพมาก ย่งิ ขน้ึ ต่อไป โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ ค
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค แผนภูมลิ ำดับขนั้ ตอนกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ อา่ นคาช้ีแจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ศึกษาตัวช้วี ดั และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ เสรมิ พืน้ ฐำน ทดสอบกอ่ นเรียน ผู้มพี ้ืนฐำนตำ่ ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน ประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรจู้ ากชุดกจิ กรรม ไมผ่ ำ่ น ทดสอบหลงั เรยี น กำรทดสอบ ผำ่ นกำรทดสอบ ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ งต่อไป แผนภมู ิลำดบั ขนั้ ตอนกำรเรียนโดยใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ชดุ ที่ 6 เรือ่ ง เรือ่ ง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงบรรยำกำศภำค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ง
ชดุ ที่ 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค คำชี้แจงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรสู้ ำหรับครู ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดท่ี 6 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชำติ ทำงบรรยำกำศภำค เวลำทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทาง สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การ ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรบู้ รรลจุ ดุ ประสงค์และมีประสิทธภิ าพ ครูผสู้ อนควรดาเนินการดังนี้ 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับครู และแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ท่ีครูผู้สอนสามารถนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ไปใช้ในการ จัดกจิ กรรมการเรียนร้ไู ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. ครผู ้สู อนเตรียมสือ่ การเรียนการสอนให้พร้อม 3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด ยกเว้นส่ือการสอนทต่ี ้องใช้ร่วมกัน 4. ครูต้องชี้แจงใหน้ ักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 4.1 ศึกษาบทบาทของนกั เรียนจากการปฏิบัติกจิ กรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ ว่าจะปฏบิ ัติกิจกรรมอะไร อยา่ งไร 4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ไมร่ บกวนผอู้ ่ืน และไม่ชกั ชวนเพอื่ นใหอ้ อกนอกลู่นอกทาง 4.4 หลังจากปฏบิ ัตกิ จิ กรรมแล้ว นักเรยี นจะตอ้ งจดั เก็บอปุ กรณ์ทกุ ช้นิ ใหเ้ รยี บร้อย 4.5 เมื่อมกี ารประเมินผลนักเรยี นต้องปฏบิ ตั ติ นอย่างตัง้ ใจและรอบคอบ 5. ขณะที่นกั เรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ตอ้ งไมร่ บกวนกจิ กรรมของนักเรยี นกลุม่ อื่น 6. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน ใดหรือกลุ่มใดมปี ญั หาควรเข้าไปใหค้ วามช่วยเหลอื จนปญั หานนั้ คล่คี ลายลง 7. การสรุปผลท่ีได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ ตวั แทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากท่ีสุด 8. ประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องนกั เรยี น เพือ่ ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนกั เรียน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ จ
ชดุ ท่ี 6 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรสู้ ำหรับนกั เรยี น ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทน่ี ักเรียนไดศ้ ึกษาต่อไปน้คี ือ ชุดท่ี 6 เรื่อง ภัยพิบัตธิ รรมชำติทำง บรรยำกำศภำค ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรปุ เปน็ องค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางสังคม ศึกษา กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิด ประโยชนส์ ูงสดุ นักเรยี นควรปฏบิ ตั ติ ามคาชี้แจง ดังต่อไปนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา ชุดท่ี 6 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชำติทำง บรรยำกำศภำค ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ช่วั โมง 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ขอ้ 3. นกั เรียนทากจิ กรรมเปน็ รายกลุ่มและศึกษาวธิ ดี าเนินกิจกรรมให้เขา้ ใจ 4. นักเรียนปฏิบตั ิกิจกรรมในชุดกจิ กรรมการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา 5. นักเรยี นทากิจกรรมในชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ใู หค้ รบ 6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ขอ้ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ฉ
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัด จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตวั ช้ีวดั / สาระสาคัญ ชุดท่ี 6 เรื่อง ภยั พิบตั ิธรรมชาตทิ างบรรยากาศภาค สาระ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด ม.4 – 6/2 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก มาตรฐานการเรยี นรู้ 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพอ่ื การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน ตัวชว้ี ัด ม.4 – 6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ียนแปลงด้าน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก จุดประสงค์การเรียนรู้สตู่ วั ช้ีวัด 1. วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพท่ที าใหเ้ กดิ ปัญหาหรือภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศ ภาคในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลกได้ (K) 2. วเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กดิ จากภยั พบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาคได้ (K) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 1
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 3. เสนอแนวทางในการป้องกันตนเองและระวังภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาคได้ (P) 4. สนใจศึกษาเก่ียวกับภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาคเพื่อนามาปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันเพมิ่ มากข้ึน (A) 5. มีความสนใจใฝ่เรียนรูห้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ ทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นอย่างสรา้ งสรรค์ ยอมรับ ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ได้ (A) สาระสาคญั ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติเปน็ ปรากฏการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติบนเปลือกโลก มีการเกิด แบบช้า ๆ ทาให้มีเวลาเตรียมรับมือได้ แต่บางภัยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่มีเวลาเตรียมการรองรับ และมีทัง้ ระดับที่ไมร่ ุนแรงจนถึงระดับที่เป็นอนั ตรายจนทาใหเ้ กิดการบาดเจบ็ และสูญเสียชวี ติ อาคาร บ้านเรือนและทรัพย์สินเสียหายจานวนมาก เม่ือเกิดขึ้นแล้วย่อมส่งผลต่อการดาเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และเศรษฐกจิ ในพ้ืนที่ทป่ี ระสบภยั ท้ังในระยะสน้ั และระยะยาว ภยั พิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค วาตภัยหรือภัยจากพายุ(Storm) 1) ความหมาย ของวาตภัย วาตภัย คือ ภัยหรืออันตรายที่เกิดจากลมพายุรุนแรง ท่ีก่อให้ เกิดอันตรายต่อชีวิต และสร้างความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือน มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะการเกิด ขนาด และความรุนแรง ไดแ้ ก่ พายฝุ นฟ้าคะนอง พายหุ มุนเขตร้อน พายทุ อรน์ าโด โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 2
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ฯ รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวชิ า ส33101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที 2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องทส่ี ุด แลว้ เขยี นเครื่องหมาย ลงในกระดาษคาตอบ 1. ภาคใตฝ้ ่งั ตะวนั ตกของประเทศไทยอาจจะไดร้ ับผลกระทบจากพายุที่มีความรนุ แรงพายุใด ก. พายุไตฝ้ นุ่ ข. พายโุ ซนร้อน ค. พายุไซโคลน ง. พายดุ เี ปรสชั่น 2. เพราะเหตุใดเม่ือพายุสงบแล้ว จงึ ไม่ควรรบี เดนิ ทาง ควรรอเวลาอีกอย่างนอ้ ย 3 ชั่วโมง ก. มกั มลี มแรงและมฝี นตกหนักได้อกี ข. รอฟังประกาศจากหน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง ค. ต้องวางแผนการเดินทางเพ่ือความปลอดภัย ง. รอใหร้ ะดบั นา้ ลดลงและความเรว็ ของลมคงทเ่ี สยี ก่อน 3. ภยั พิบตั ิทางธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก เกดิ จากปจั จยั ทาง กายภาพข้อใด ก. ลม ดนิ นา้ ข. บรรยากาศภาค ค. ธรณภี าค อทุ กภาค ง. ลกั ษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภูมิอากาศ 4. ขอ้ ใดกลา่ วผดิ เก่ยี วกบั พายุหมุนเขตร้อน ก. มชี ่ือเรยี กตา่ งกนั ตามแหล่งกาเนดิ ข. หมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ ค. มเี ส้นผ่าศูนย์กลางต้งั แต่ 100 กิโลเมตรข้ึนไป ง. เกดิ เหนอื มหาสมุทรในเขตรอ้ นแถบละตจิ ดู ต่า โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 3
ชดุ ท่ี 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 5. สภาพภมู ิประเทศแบบใดเอื้อต่อการก่อใหเ้ กิดพายุทอร์นาโดในประเทศสหรัฐอเมริกา ก. ภูเขาสูง ข. เนินเขาเตย้ี ค. ทรี่ าบกว้างใหญ่ ง. ทร่ี าบสงู ระหว่างภูเขา 6. บคุ คลใดปฏิบัตติ นเหมาะสมเมื่อเกิดวาตภัย ก. นุ้ยผกู เรือแพไว้ทเ่ี สาบ้าน ข. ก๊ฟิ เก็บของมีค่าไว้บนทีส่ ูง ค. ผ้ึงเปดิ วทิ ยแุ ละอปุ กรณ์ส่ือสารทกุ ชนิด ง. ปลาเตรยี มตะเกยี งไฟฉายและไมข้ ดี ไฟไวใ้ หพ้ ร้อม 7. แหล่งกาเนิดพายุหมุนเขตรอ้ น ไม่ เกิดข้ึนในบริเวณใด ก. ในเขตละตจิ ดู กลางหรือกง่ึ เขตร้อนข้นึ ไป ข. ระหวา่ งเขตเสน้ ทรอปกิ ออฟแคปริคอร์นกบั เส้นศูนย์สตู ร ค. ระหว่างเขตเสน้ ทรอปิกออฟแคนเซอร์กับเส้นศนู ย์สูตร ง. บนพนื้ ผิวทะเลท่มี ีอณุ หภูมิเฉลีย่ ประมาณ 26 - 28 C 8. พายุใดตอ่ ไปนีไ้ มใ่ ชพ่ ายุหมนุ เขตร้อน ก. พายไุ ต้ฝุน่ ข. พายงุ วงชา้ ง ค. พายไุ ซโคลน ง. พายเุ ฮอร์รเิ คน 9. ขณะเกิดพายุทอร์นาโดไม่ควรปฏบิ ตั ติ ามข้อใด ก. หลบในรถยนตข์ นาดใหญ่ ข. หลบใตส้ ะพาน ทอ่ ลอดถนน ค. หลบในสถานท่หี ลบภัยใต้ดิน ง. หลบในอาคารแข็งแรงขนาดใหญ่ 10. ขอ้ ใดกลา่ วถึงการเกดิ พายุทอรน์ าโดถูกตอ้ ง ก. ก่อตวั ในระดบั ฐานเมฆ ข. กอ่ ตวั จากมวลอากาศเย็น ค. กอ่ ตัวแตใ่ นเขตละตจิ ดู ตา่ ง. กอ่ ตัวในมหาสมุทรอย่างเดียว โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 4
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค บตั รเนื้อหา ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค วาตภยั หรือภัยจากพายุ (Storm) 1) ความหมายของวาตภัย วาตภัย คือ ภยั หรอื อันตรายท่เี กิดจากลมพายุรุนแรง ท่ี ก่อให้ เกิดอันตรายต่อชีวิตและสร้างความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือน มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับ ลักษณะการเกิด ขนาด และความรนุ แรง ได้แก่ พายฝุ นฟ้าคะนอง พายหุ มุนเขตรอ้ น พายุทอรน์ าโด 2) ประเภทและกระบวนการเกิดวาตภัย วาตภัยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ พายุฝนฟ้าคะนอง พายหุ มนุ เขตร้อน และพายุทอรน์ าโด มกี ระบวนการเกิด ดงั นี้ 1. พายุฝนฟา้ คะนอง เป็นพายุระดับท้องถิน่ บริเวณใกลเ้ ส้นศูนย์สูตรมีโอกาส เกิดพายุฝนฟ้า คะนองมาก เน่ืองจากมีอากาศร้อนช้ืน พายุฝนฟ้าคะนองเกิดจากการที่อากาศร้อน ลอยตัวข้ึน และมีแรง กระทาทาให้อากาศยกตัวข้ึนไปสู่ความสูงระดับหนึ่ง โดยมวลอากาศจะเย็นลง เมอ่ื ลอยสูงขึน้ และกลน่ั ตัวเปน็ ละอองน้าเลก็ ๆ เปน็ การก่อตวั ของเมฆคิวมลู ัส และพัฒนามาเป็นเมฆ คิวมูโลนิมบัส อากาศจะเคล่ือนท่ีลงอย่างรวดเร็ว เกิดลมกระโชกรุนแรงและเกิดเป็นพายุฝนฟ้า คะนอง บางครง้ั อาจเกดิ ลูกเหบ็ ตก 2. พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุขนาดใหญ่ท่ีก่อตัวเหนือทะเลหรือมหาสมุทร ในเขตรอ้ น เน่ืองจากน้าในมหาสมุทรได้รับความร้อนจากดวงอาทิตยร์ ะเหยข้ึนเป็นไอน้า ต่อมาไอน้า กลั่นตัวเป็นหยดน้าเลก็ จานวนมากแล้วกลายเป็นเมฆและฝนตอ่ ไป ซงึ่ กระบวนการกล่ันตัวของไอน้า จะมีการคายพลังงานแฝงออกมา พลังงานน้ัน เม่ือรวมกับแรงจากการหมุนของโลกจะทาให้เกิดการ เคล่อื นตัวของพายหุ มุนเขตรอ้ น พายุหมุนเขตร้อน เรยี กชื่อตามความเร็วลมรอบศูนย์กลาง คือ พายุ ดีเปรสชัน มีความเร็วลมไม่เกิน 63 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง, พายุโซนร้อน มีความเร็วลมตั้งแต่ 63-117 กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง, พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคลน พายุเฮอริเคน มคี วามเร็วลมใกล้ศูนย์กลางมากกวา่ 117 กิโลเมตร ต่อชว่ั โมงข้ึนไป 3. พายุทอร์นาโด คือ พายุหมุนรุนแรงซ่ึง เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนอง เป็น ปรากฏการณ์ทางอากาศ ที่มคี วามรุนแรงท่ีสุด โดยภายในพายเุ มฆขนาดใหญ่อากาศอุน่ และความช้ืน กาลังลอยตัวสูงข้ึน ขณะท่ีอากาศเย็นกาลังตกลงพร้อมกับฝน สภาวะ ดังกล่าวจึงทาให้เกิดการ หมุนเวียนของอากาศภายในเมฆ ซง่ึ อากาศหมุนนี้มีรูปร่างเปน็ แท่ง เคล่ือนที่เป็นแนวตั้ง ออกจากเมฆ แล้วสัมผัสลงบนพื้นผิวโลก โดยทั่วไป พายุทอร์นาโดสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกภูมิภาค แต่เกิดขึ้นบ่อย ในประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะมีสภาวะอากาศท่ี เออื้ ตอ่ การเกิดภาวะลมรอ้ นและไอเยน็ ปะทะกัน เป็นภยั ธรรมชาตทิ ่เี กิดลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 5
ชดุ ที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค - ภัยแล้ง เกิดข้ึนชั่วคราว จากการขาดแคลนน้าครอบคลุมพื้นที่กว้าง มีสาเหตุมา จากฝนไม่ตกตามฤดกู าล ฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง กระทบต่อการขาดแคลนนา้ อุปโภคบริโภค และปรมิ าณ น้าในการทาการเกษตรกรรม 6.1 พายุฝนฟ้าคะนอง (thunderstorm) พายุฝนฟ้าคะนองเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดจากการก่อตัวของเมฆขนาดใหญ่ในแนวดิ่ง เน่ืองจากการยกตัวของอากาศท่ีมีความร้อนมากให้สูงขึ้นจนเข้าสู่ช้ันอากาศท่ีมีความเย็น จนมีการ กล่ันตัวเป็นหยดน้าและน้าแข็ง เกิดสภาพอากาศทแี่ ปรปรวน เช่น ลมกระโชก ฟา้ แลบ ฟ้าผ่า ฝนตก หนัก อาจมลี กู เหบ็ ตก 1) สาเหตแุ ละกระบวนการเกิดพายฝุ นฟา้ คะนอง มดี ังนี้ ㆍ อากาศร้อนชนื้ ปกคลมุ พ้นื ผิว ㆍ เกดิ กระแสอากาศร้อนช้ืนใกล้พ้ืนผิวพดั ขึ้นสูห่ ย่อมความแปรปรวนภายในเมฆกอ้ น ทก่ี อ่ ตัวอย่ดู า้ นบน ㆍ เกิดกระบวนการลดอุณหภูมิตามความสูงอย่างรวดเร็ว และเกิดการกลั่นตัวเป็น หยดน้า พร้อมทั้งปลดปล่อยความร้อนแฝงออกมา พัฒนาเป็นเมฆก้อนท่ีใหญ่ข้ึน และเกิดเป็นเมฆ พายฝุ นฟา้ คะนอง กระบวนการเกิดพายฝุ นฟา้ คะนองแบ่งออกเปน็ 3 ขน้ั ตอน ดังน้ี รปู ท่ี 6.1 การเกดิ พายุฝนฟา้ คะนอง ทีม่ า : หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 181) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 6
ชุดท่ี 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 1.1) ขั้นก่อตัว (cumulus stage) เป็นขั้นตอนของกระแสอากาศไหลขึ้น เกิดข้ึน เมอ่ื อากาศร้อนชื้นลอยตวั และลดอณุ หภมู ิลงกอ่ ตวั เป็นเมฆควิ มลู ัส ความรอ้ นแฝงจากการกลนั่ ตวั ของ ไอนา้ ทาให้การลอยตวั ของกระแสอากาศภายในก้อนเมฆเรว็ มากขน้ึ จนเมฆควิ มูลัสมขี นาดใหญ่ขนึ้ 1.2) ข้นั เติบโตเต็มที่ (mature stage) ภายในเมฆพายุหรอื เมฆคิวมโู ลนมิ บัสจะเกิด ความแปรปรวนจากกระแสอากาศพัดข้ึนลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทาให้เกิดการกลั่นตัว การคาย ความร้อนแฝงและเกิดการชนปะทะรวมตวั กันของหยดนา้ หยดนา้ แขง็ และเสียดสีกนั เกิดเป็นเม็ดฝน ลูกเห็บ พายุ ลม และประจุไฟฟ้า เกิดกระแสลมเย็นพัดลงจากฐานเมฆ ทาให้เกิดลมกระโชกแรงฝน ตกหนัก หรอื ลูกเหบ็ ตก ใช้เวลา 15- 30 นาที 1.3) ข้นั สลายตัว (dissipating stage) เปน็ ระยะทไี่ ม่มีกระแสอากาศเคลื่อนท่ีข้ึนลง ปริมาณฝนตกลดลงและสลายตัว 2) การกระจายการเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองของโลก รปู ที่ 6.2 แผนที่แสดงการกระจายของพายุฝนฟ้าคะนองในโลก ทม่ี า : หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ิศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด (หน้า 182) โดยปกติทั่วโลกมีการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองทุกวัน แต่ค่าเฉลี่ยจานวนวันที่เกิดจะแตกต่าง กันไปในแต่ปี โดยจะเกิดข้ึนเกือบทุกวันในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ที่มีพายุฝนฟ้าคะนอง ประมาณ ปีละ 140 - 200 วัน ซึ่งเป็นพื้นท่ีมีอากาศร้อนมากในช่วงเวลาบ่ายของฤดูร้อน ส่วนเขตท่ีมีอากาศ หนาวเยน็ หรือไม่มคี วามแตกต่างระหว่างอณุ หภมู อิ ากาศ จะเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองนอ้ ยมาก โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 7
ชุดที่ 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค สาหรับประเทศไทย ในช่วงฤดูร้อนนับจากกลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงช่วงต้น ฤดูฝน มกั มีพายุฤดูร้อนเกดิ ขน้ึ อันเนอ่ื งมาจากลมตะวันออกเฉียงใต้พัดพาความช้ืนจากทะเลในขณะที่ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือปกคลุมด้วยอากาศร้อน ความกดอากาศต่า เกิดเปน็ เมฆคิวมูลสั และควิ มโู ลนมิ บัส และเกิดพายฝุ นฟ้าคะนอง มีลมกระโชกแรงเกิดฝนตกหนักบาง พน้ื ที่ และอาจมลี ูกเห็บตก ในรอบหนึ่งปีท่ัวโลกจะมีพายุฝนฟ้าคะนองประมาณ 16 ล้านครั้ง โดยเฉพาะในเขต ร้อนพบได้มากกว่าในเขตละติจูดสูง ในเมืองร้อนท่ีมีอากาคขึ้นจะมีจานวนวันที่มีพายุฝนฟ้าคะนอง แบบอากาศรอ้ นเกิดขนึ้ ไดม้ ากถงึ 80 - 160 วันตอ่ ปี เมอื งทปี่ ระสบกับพายุฝนฟา้ คะนองมากทส่ี ดุ คือ เมืองบยุ เตน็ ซอรด์ (Buitenzorg) ในจังหวดั ชวาตะวนั ตก ประเทศอินโดนีเซีย 3) ภัยต่าง ๆ ที่เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองรุนแรง ส่งผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตและ สง่ิ ก่อสรา้ ง เชน่ 1. ลมกระโชกแรง ทาความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้าง ต้นไม้ ป้าย ขนาดใหญ่จนพงั ทลายได้ 2. ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เมื่อเกิดฟ้าแลบและฟ้าร้อง ถ้าขณะนั้นมีประจุไฟฟ้าออกมา จากก้อนเมฆลงไปส่พู ้นื ดินจะทาให้เกิดฟ้าผ่า ถา้ ถกู ส่ิงมีชีวิตกอ็ าจนาไปสู่ความตายได้ 3. ลูกเห็บหรือพายุลูกเห็บ จะเกิดข้ึนในช่วงที่มีพายุฝนฟ้าคะนองในฤดูร้อนหาก ลูกเห็บที่ตกลงมามีจานวนมาก และมีขนาดใหญ่ก็สามารถทาอันตรายให้แก่ผู้คน หรือทาให้อาคาร บ้านเรือนเสยี หายได้ 4. ฝนตกหนัก พายุฝนฟ้าคะนองอาจทาให้ฝนตกหนัก เกิดน้าท่วมฉับพลันได้ บริเวณพ้นื ทส่ี งู ชนั อาจเกิดดินถล่มได้ การระวงั ฟ้าผ่าจากการคานวณระยะห่าง เมื่อเกิดฝนฟา้ คะนองอย่างรุนแรง สิ่งหนึ่งท่ีต้องระมัดระวงั คือ ภัยจากฟ้าผ่า ซ่ึงเกิดขึ้นได้ ทุกที่และอาจสร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเกิดฟ้าร้อง ฟ้าแลบ เราจะรู้ได้อย่างไร วา่ เราอยู่ห่าง หรอื อยใู่ กลบั รเิ วณทเี่ กิดฟ้ารอ้ ง ฟา้ แลบ วิธงี า่ ย ๆ คือ ใช้ \"กฏ 30/30\" ซง่ึ เป็นขอ้ ปฏบิ ัติ ทางทหารที่ใชก้ ันมานานแล้ว เลข 30 ตัวแรก คือ หน่วยวินาที หมายถึง เม่ือเราเห็นแสงฟ้าแลบ แล้วได้ยินเสียงฟ้าร้อง ตามมาภายในเวลาไม่เกิน 30 วนิ าที แสดงว่าเราอยูใ่ กลับริเวณฝนฟา้ คะนองมาก และมคี วามเส่ียงสูง ต่อการถูกฟ้าผา่ ใหพ้ ยายามหาท่หี ลบที่ปลอดภยั (ตัวเลขนไ้ี ด้มาจากการคานวณ โดยเสยี งจะเดนิ ทาง ดว้ ยความเร็ว 346/วนิ าที ทอี่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 8
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค เลข 30 ตัวหลัง มีหน่วยเป็นนาที หมายถึง เมื่อฝนหยุดตกและไม่มีเสียงฟ้าร้องแล้ว เราควรหลบอยู่ในทปี่ ลอดภัยอย่างน้อย 30 นาที เพื่อความม่ันใจว่าฝนฟ้าคะนองได้เคล่ือนตัวผ่านไป ความรุนแรงและความเสียหายจากการเกิดฟา้ ผ่าจนปลอดภยั จากฟ้าผ่าแล้ว รูปที่ 6.3 ความรนุ แรงแความเสียหายจากการเกิดฟา้ ผา่ ท่ีมา : หนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 184) 4) เหตกุ ารณ์พายุฝนฟ้าคะนองที่รนุ แรง ครง้ั สาคัญ เชน่ รปู ท่ี 6.4 พายุฝนฟ้าคะนองในประเทศญป่ี ุ่น พ.ศ. 2561 ท่มี า : หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากัด (หนา้ 185) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 9
ชุดท่ี 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค รูปที่ 6.5 พายฤุ ดูร้อนในประเทศไทย พ.ศ. 2560 ทม่ี า : หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 185) 5) การจดั การภยั พบิ ตั ิพายฝุ นฟา้ คะนอง มีดงั น้ี 5.1) มาตรการ เช่น มีระบบเตือนภัยตามฤดูกาลที่มีการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองสารวจ ที่อยู่อาศัย ซ่อมแซมให้มีความแข็งแรง โดยเฉพาะหลังคาบ้าน ตัดแต่งกิ่งไม้ หรือโค่นต้นไม้ท่ีไม่ แขง็ แรงลง 5.2) วิธีป้องกัน เช่น ตรวจสอบเสาไฟฟ้าแรงสูง ควรติดต้ังสายล่อฟ้า รวมทั้งบน อาคารสูง เพ่ือป้องกันอันตรายจากฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เตรียมความพรอ้ มระบบป้องกันน้าท่วมหากอยู่ใน พืน้ ทเ่ี สยี่ งภัย ไมค่ วรอยู่ในท่ีโล่งแจ้ง โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 10
ชุดที่ 6 ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 5.3) การปฏบิ ตั ติ น สามารถทาได้ ดงั น้ี รูปที่ 6.6 การปฏิบตั ิเมื่อเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ที่มา : หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 186) 6.2 พายหุ มุนเขตรอ้ น (tropical cyclone) พายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นในมหาสมุทรเขตร้อน ซ่ึงมีอากาศร้อนและมีความช้ืนสูง ส่วนใหญ่มักเกิดบริเวณละติจูด 8 - 15 องศาเหนือและใต้ พายุนี้กาเนิดข้ึนเหนือพ้ืนมหาสมุทรท่ีมี อุณหภูมิพื้นผิวนา้ ทะเล 27 องศาเซลเซียสขึน้ ไป 1) สาเหตุและกระบวนการเกิดพายุหมุนเขตร้อน โดยทั่วไปพายุหมุนเขตร้อน มีแนวเกิดอยู่ระหว่างละติจูด 8 - 15 องศาเหนือและใต้ เม่ือน้าทะเลได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ จนมีอุณหภูมิที่พื้นผิวน้าทะเลสูงกว่า 27 องศาเซลเซียส ทาให้การระเหยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 11
ชุดที่ 6 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค โดยเฉพาะในฤดูร้อนท้ังซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ เม่ืออากาศเหนือพ้ืนน้าบริเวณดังกล่าวไม่เสถียร จะเกดิ การลอยตัวสูงข้ึนพฒั นาเป็นหย่อมความกดอากาศต่าเหนือพื้นทะเล และเม่ือรวมกับแรงที่เกิด จากการหมุนรอบตัวเองของโลก หรือแรงคอริออลิสที่เหมาะสมจะทาให้เกิดลมเฉือนในแนวด่ิงท้ัง ทิศทางและความเรว็ กอ่ ตวั เปน็ พายุหมุนเขตร้อน รูปท่ี 6.7 การเกิดพายุหมุนเขตรอ้ น ทีม่ า : หนงั สือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ศิ าสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 187) พายุหมุนเขตร้อนเม่ือเติบโตเต็มท่ีจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางต้ังแต่ 100 กิโลเมตรข้ึนไป บริเวณท่ีอยู่ใกล้จุดศูนย์กลางพายุมากจะเป็นบริเวณท่ีมีความเร็วลมสูง ในขณะที่จุดศูนย์กลาง ของพายุ เรียกว่า ตาพายุ จะเป็นบริเวณท่ีลมสงบที่สุด ไม่มีฝน แต่เม่ือพายุเคล่ือนเข้าสู่แผ่นดินพายุ จะอ่อนกาลงั ลง 2) ประเภทของพายุหมุนเขตร้อน แบ่งตามความเร็วลมใกล้จุดศูนย์กลางเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 2.1) พายุดีเปรสชัน (tropical depression) เป็นพายุหมุนเขตร้อนกาลังอ่อน มีความเรว็ ลมสงู สุดใกลัศนู ย์กลางไม่เกิน 61 กิโลเมตร/ช่ัวโมง โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 12
ชดุ ท่ี 6 ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 2.2) พายุโซนรอ้ น (tropical storm) เป็นพายหุ มุนเขตรอ้ นกาลังปานกลางมีความเรว็ ลมใกลจั ดุ ศูนยก์ ลาง 62 - 117 กิโลเมตร/ช่ัวโมง 2.3) พายุได้ฝุ่น (typhoon) เป็นพายุหมุนเขตร้อนกาลังแรงมากท่ีสุด มีความเร็วลม ใกล้จุดศูนย์กลางมากกว่า 118 กิโลเมตร/ช่ัวโมงข้ึนไป มีช่ือเรียกแตกต่างกันไปตามสถานที่เกิดเช่น พายุไซโคลน เกิดในบริเวณมหาสมุทรอินเดียด้านทะเลอันดามัน อ่าวเบงกอล และชายฝั่งทวีป ออสเตรเลีย พายุเฮอร์ริเคน เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริการวมถึง มหาสมทุ รแปซฟิ ิกบริเวณชายฝงั่ ประเทศเมก็ ซโิ ก รูปที่ 6.8 ความรนุ แรงของพายุหมุนเขตรอ้ น ทีม่ า : หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 188) 3) การกระจายการเกดิ พายุหมนุ เขตรอ้ นของโลก พายุหมุนเกดิ จากศูนย์กลางความกดอากาศต่า ทาใหบ้ ริเวณโดยรอบศนู ยก์ ลางความกด อากาศต่า ซง่ึ กค็ ือ ความกดอากาศสูงโดยรอบจะพัดเข้าหาศนู ยก์ ลางความกดอากาศต่า ขณะเดยี วกัน ศูนย์กลางความกดอากาศต่าจะลอยตัวสูงข้ึน และเย็นลงด้วยอัตราอะเดียเบติก (อุณหภูมิลดลงเม่ือ ความสูงเพมิ่ ขึ้น) ทาให้เกิดเมฆและหยาดน้าฟ้า พายุหมุนจะมีความรุนแรงหรือไม่ข้นึ อยู่กบั อัตราการ ลดลงของความกดอากาศ ถา้ อตั ราการลดลงของความกดอากาศมีมากจะเกิดพายรุ ุนแรง เราสามารถ แบ่งพายหุ มุนออกเป็น 3 กลมุ่ ดังนี้ โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 13
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค พายุหมุนนอกเขตร้อน ได้แก่ พายุหมุนท่ีเกิดข้ึนในเขตละติจูดกลางและเขตละติจูดสูง ซึ่งในเขตละติจูดดังกล่าวจะ มีแนวมวลอากาศเย็นจากข้ัวโลกหรือมหาสมุทรอาร์กติก เคลื่อนตัวมา พบกับมวลอากาศอุ่นจากเขตกึ่งโซนร้อน มวลอากาศดังกล่าวมีคุณสมบัติต่างกัน แนวอากาศจะเกิด การเปลี่ยนโดยเริ่มมีลักษณะโค้งเป็นรูปคลื่น อากาศอุ่นจะลอยตัวสูงขึ้นเหนืออากาศเย็น ซึ่งเช่นเดียวกับแนวอากาศเย็นซึ่งจะเคลื่อนที่เข้าแทนท่ีแนวอากาศอุ่น ทาให้มวลอากาศอุ่นลอยตัว สูงข้ึน และจากคุณสมบัติการเคล่ือนที่ของมวลอากาศเย็นที่เคลื่อนตัวไดเ้ ร็วกว่า แนวอากาศ อย่างไร ก็ตามเวลาท่ีเกิดพายุหมุนนั้นจะเกิดลักษณะของศูนย์กลางความกดอากาศข้ึน ซึ่งก็คือ ศูนย์กลาง ความกดอากาศต่า ลมจะพัดเข้าหาศูนย์กลาง (ความกดอากาศสูงเคล่ือนท่ีเข้าหาศูนย์กลางความกด อากาศต่า) ซึ่งลมพัดเข้าหาศูนย์กลางดังกล่าวในซีกโลกเหนือ มีทิศทางการพัดวนทวนเข็มนาฬิกา สว่ นในซีกโลกใต้มที ิศทางตามเข็มนาฬิกา ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการหมุนของโลกนน่ั เอง พายุทอร์นาโด (Tornado) เป็นพายุขนาดเล็กแต่มีความรุนแรงมากท่ีสุด มักเกิดใน ประเทศสหรัฐอเมริกา และนอกน้ันเกิดที่แถบประเทศออสเตรเลีย พายุดังกล่าวเกิดจากอากาศ เคล่ือนท่ีเข้าหาศูน์กลางความกดอากาศต่าอย่างรวดเร็ว ลักษณะพายุคล้ายปล่องไฟสีดาห้อยลงมา จากเมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) ในมวลพายุมีไอน้าและฝุ่นละออง ตลอดจนวัตถุต่าง ๆ ที่ถูกลมพัดลอยขึ้นไปด้วยความเร็วลมกว่า 400 กิโลเมตร / ชั่วโมง เม่ือพายุเคล่ือนท่ีไปในทิศทางใด ฐานของมันจะกวาดทุกอย่างบนพ้ืนดินข้ึนไปด้วย ก่อให้เกิดความเสียหายมาก พายุทอร์นาโดจะเกิด ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูร้อน เนื่องจากมวลอากาศข้ัวโลกภาคพ้ืนสมุทรมาเคลื่อนที่พบกับมวล อากาศเขตร้อนภาคพ้ืนสมุทร และถ้าเกิดขึ้นเหนือพ้ืนน้าเราเรียกว่า \"นาคเล่นน้า\" (Waterspout) พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดข้ึนในเขตร้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตรระหว่าง 8 - 12 องศา เหนือและใต้ โดยมากมักเกิดบริเวณพื้นทะเลและมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิของน้าสูงกว่า 27 องศาเซลเซียส พายุหมุนเขตร้อนเป็นลักษณะของบริเวณความกดอากาศต่า ศูนย์กลางพายุเป็น บริเวณที่มีความกดอากาศต่ามากท่ีสุด เรยี กว่า \"ตาพายุ\" (Eye of Storm) มีลักษณะกลม และกลมรี มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 50 - 200 กิโลเมตร บริเวณตาพายุจะเงียบสงบ ไม่มีลม ท้องฟ้าโปร่ง ไม่มีฝนตก ส่วนรอบๆ ตาพายุจะเป็นบริเวณที่มีลมพัดแรงจัด มีเมฆครึ้ม มีฝนตกพายุรุนแรง พายุ หมุนเขตร้อนจัดเป็นพายุท่ีมีความรุนแรงมาก เกิดจากศูนย์กลางความกดอากาศต่า ท่ีมีลมพัดเข้าหา ศูนย์กลาง ในซีกโลกเหนือทิศทางการหมุนของลมมีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ส่วนซีกโลกใต้มีทิศทาง ตามเข็มนาฬิกา ความเร็วลมเข้าสู่ศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 120 - 200 กิโลเมตร/ชั่วโมง พายุในเขตนี้ จะมีฝนตกหนัก องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกแบ่งประเภทพายุหมุนตามความเร็วใกล้ศูนย์กลางพายุ โดยแบง่ ตามระดับความรนุ แรง ได้ดงั นี้ พายดุ เี ปรสชัน่ (Depression) ความเร็วลมน้อยกวา่ 63 กโิ ลเมตร / ชว่ั โมง เป็นพายุ ออ่ นๆ มี ฝนตกบาง ถงึ หนัก โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 14
ชุดท่ี 6 ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค พายโุ ซนร้อน (Tropical Storm) ความเรว็ ลม 64 - 115 กโิ ลเมตร / ชว่ั โมง มีกาลัง ปานกลาง มฝี นตกหนกั พายุหมุนเขตร้อน หรือพายุไซโคลนเขตร้อน (Tropical Cyclone) ความเร็วลม มากกว่า 115 กิโลเมตร / ช่ัวโมง เป็นพายุท่ีมีกาลังแรงสูงสุดมีฝนตกหนักมาก บางคร้ังจะมีพายุฝน ฟ้าคะนอง รูปท่ี 6.9 แผนท่ีแสดงแหล่งเกดิ พายหุ มนุ เขตร้อนของโลก ท่ีมา : หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 188) จากแผนที่จะเห็นได้ว่า มีพายุหมุนเขตร้อนกระจายระหว่างละติจูด 5- 30 องศา เหนือและใต้ ได้แก่บริวณตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันออกและตะวันตก บริเวณตอนเหนือและตอนใต้มหาสมุทรอินเดีย และบริเวณตะวันตก-เฉียง เหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย โดยแหล่งเกิดพายุหมุนเขตร้อนท่ีมีความถ่ี มากท่ีสุด พบในบริเวณด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกรวมถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นบริเวณท่ีมีพายุหมุนเขตร้อนเกิดถ่ีมากท่ีสุด ประมาณ 30 ลูกต่อปี ในขณะท่ีบริเวณมหาสมุทร แอตแลนติกในซกี โลกใต้ ไม่พบการเกิดพายุหมนุ เขตรอ้ น โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 15
ชุดท่ี 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค สาหรับประเทศไทยมีพายุหมุนเขตร้อนพัดเข้าสู่ประเทศทั้งจากด้านตะวันออก และตะวันตกของประเทศ โดยด้านตะวันออกมีพายุหมนุ เขตรอ้ นที่เกิดจากบรเิ วณมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันตก รวมท้งั จากทะเลจีนใตแ้ ละอ่าวไทยมพี ายุหมนุ เขตร้อนท่ีมีความรนุ แรงถึงระดับพายไุ ด้ฝุ่นใน บางปี ส่วนด้านตะวันตกในทะเลอันดามันมีพายุไซโคลน บางคร้ังเคล่ือนตัวเข้าสู่ประเทศไทยด้าน ตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งจานวนพายุหมุนเขตร้อนท่ีเข้าสู่ประเทศไทยมีความสาคัญต่อ การกักเก็บน้าในแหล่งเก็บน้าขนาดใหญข่ องประเทศเป็นอย่างยงิ่ 4) ภยั ต่าง ๆ ท่ีเกดิ จากพายหุ มุนเขตร้อนรุนแรง เชน่ 1. พายุเคล่ือนที่ขึ้นฝ่ัง ก่อให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง ทาให้ต้นไม้ถอนรากถอนโดนอาดาร บ้านเรือนท่ีไม่แข็งแรงพังทลาย ช้ินส่วนของบ้านเรือนถูกพัดปลิวเป็นอันตรายต่อผู้ท่ีอยู่ในที่โล่งแจ้ง เรอื กสวนไรน่ าเสยี หาย สายไฟฟา้ ขาด เสาไฟฟ้าล้ม ทาใหเ้ กดิ ไฟไหมห้ รือไฟดูด 2. พายเุ คลื่อนอย่ใู นทะเล ทาให้เกิดลมแรงจดั เกิดคลน่ื ขนาดใหญ่ ซึ่งเปน็ อันตรายต่อ การเดนิ เรอื โดยเฉพาะเรอื ขนาดเลก็ 3. เกิดฝนตกหนัก ทาให้เกิดนา้ ท่วม ท้ังน้าป่าไหลหลาก น้าเอ่อลันจากแมน่ ้าลาคลอง เข้าท่วมพ้ืนทรี่ ิมฝ่ังน้า และน้าฝนที่ท่วมขังอยู่พื้นที่ลุ่มตา่ เมอื่ ระบายออกไม่ทันจะสร้างความเสียหาย ต่อพืชผลทางการเกษตร เส้นทางคมนาคม รวมท้ังการกัดเซาะตล่ิงและชายฝั่ง ทาให้พ้ืนที่ชายหาด บางสว่ นหายไป นอกจากน้ี ฝนทีต่ กหนกั บรเิ วณภูเขากอ็ าจทาใหเ้ กิดดินถลม่ ได้ การต้งั ชอื่ พายุหมนุ เขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุท่ีก่อตัวขึ้นในทะเลเขตร้อนทางทะเลจีนใต้ และทางด้าน ตะวนั ตกตอนบนของทะเลแปซิฟกิ ดงั น้นั ประเทศที่อยูใ่ นบรเิ วณท่ดี ้รับอิทธิพลจากพายุหมนุ เขตรอ้ น 14 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา จีน เกาหลีเหนือ ฮ่องกง ญี่ปุ่น ลาว มาเก๊า มาเลเซี่ย ไมโครนีเซีย ฟลิ ิปปินส์ เกาหลีใต้ ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม ได้มีการประชุมร่วมกันเพื่อต้ังช่ือใช้เรยี กพายุ ทจี่ ะเกิดขนึ้ แตล่ ะลูก โดยแตล่ ะประเทศจะเสนอชือ่ พายุในภาษาของตนประเทศละ 10 ชอ่ื จัดทาเป็น บญั ชีรายช่ือ รวมท้ังหมด 140 ช่ือ (ซึ่งพายลุ ูกน้ันต้องมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางพายุมากกว่า 34 นอด หรือ 63 กม./ชม. ถึงจะมีชื่อเป็นของตนเอง) และจะใช้ซื่อเรียงลาดับตามชื่อประเทศของ ลาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยช่ือพายุท่ีไทยเสนอ 10 ชื่อ ได้แก่ พระพิรุณ ทุเรียน วิภา รามสูร เมขลา นดิ า มรกต ชบา กหุ ลาบ และขนนุ นอกจากน้ี หากพายุลูกใดทม่ี ีความรนุ แรงและสรา้ งความเสียหายอยา่ งมาก ก็จะมีการ พิจารณาถอดถอนชอื่ พายุลูกน้ันไป แล้วทาการเลือกชื่อใหม่ใส่แทนลงในบญั ชีรายช่อื เช่น พายไุ ต้ฝุ่น ทเุ รียน ท่ีเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2549 ประเทศท่ีได้รับความเสียหายอย่างหนัก คือ ฟิลิปปินส์ มีผู้เสียชีวิต กว่า 1,000 คน ในภายหลังจึงได้มกี ารพิจารณาถอดถอนชื่อพายุทเุ รียนออกจากบัญชีรายชื่อ และหา ชอื่ ใหม่เข้ามาแทน คอื พายุมงั คุด โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 16
ชดุ ที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 5) เหตุการณ์พายหุ มนุ เขตรอ้ นทรี่ นุ แรง คร้ังสาคญั เชน่ รูปท่ี 6.10 แผนทีแ่ สดงแหล่งเกิดพายุหมนุ เขตร้อนของโลก ที่มา : หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 191) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 17
ชุดท่ี 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 6) การจดั การภัยพิบัตพิ ายุหมุนเขตรอ้ น มีดังนี้ 6.1) มาตรการ เช่น มีระบบเตือนภัยลมแรงและพายุ มีการวางแผนในระยะยาวเพ่ือ ป้องกันภัยจากพายุ มีการกาหนดพ้ืนที่เสี่ยงภัยและมีเคร่ืองหมายเตือนภัย ควรมีการฝึกซ้อมป้องกัน ภัยพบิ ัติ เตรียมพรอ้ มรับมือ และวางแผนการอพยพหากจาเป็น มีมาตรการกระจายขา่ วสารและการ แจง้ เตือนประชาชนอยา่ งมีประสิทธิภาพ 6.2) วิธีป้องกัน เช่น ซ่อมแซมประตู หน้าต่างให้มั่นคงแข็งแรง ตัดตันไม้ท่ีมีโอกาสหัก ลงมาทับบ้านเรือน หรือเสาไฟฟ้า เตรียมชุดอุปกรณ์ฉุกเฉินให้พร้อม และเตรียมพร้อมรับมือกับน้า ท่วมฉับพลนั 6.3) การปฏิบัตติ น ทาได้ ดงั นี้ รปู ท่ี 6.11 ท่ีมา : หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ิศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 192) โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 18
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 6.3 พายทุ อรน์ าโด (tornado) พา ยุ ท อร์ น า โ ด ห รื อ พ า ยุ ง ว ง ช้ า ง เ ป็ น พ า ยุ ห มุ น ข น า ด เ ล็ กท่ี มี พลั ง ท า ล า ย รุ น แ ร ง ศนู ย์กลางพายุน้จี ะมีความกดอากาศต่ามาก ความรุนแรงและอานาจการทาลายของพายุข้ึนอยู่กับความเร็วท่ีจุดศูนย์กลาง ความเร็วของการเคลื่อนที่ ทิศทางของการเคล่ือนท่ี และความกว้างของวงพายุ พายุทอร์นาโดที่ รนุ แรงมากอาจมคี วามเรว็ การหมนุ ทจี่ ุดศนู ยก์ ลางมากกว่า 322 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง และเคลื่อนทีด่ ้วย ความเร็วกว่า 100 กิโลเมตรตอ่ ชั่วโมง ซึ่งความเร็วของการหมุนนี้หากผา่ นไปบนแผ่นดิน สามารถจะ หอบรถยนต์ขนึ้ ไปได้ มีอานาจทาลายอาคารบ้านเรือนและสิ่งมชี ีวิต หากเกิดในแม่น้าหรือมหาสมุทร จะเกิดคล่ืนลมแรง หอบเอาน้าข้ึนเป็นลาในอากาศ หรือยกเรือขนาดใหญ่ไปได้ไกล พายุทอร์นาโด เป็นพายปุ ระจาถนิ่ ตอนกลางของสหรฐั อเมรกิ า เกิดในชว่ งฤดูรอ้ นไปจนถงึ ปลายฤดูใบไม้รว่ ง 1) สาเหตุและกระบวนการเกิดพายุทอร์นาโด พายุทอร์นาโดมีกระบวนการเกิด 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1.1) พายุทอร์นาโดท่ีเกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบชูเปอร์เซลล์ (supercell tornado) เป็นพายุทเ่ี กิดขึ้นจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบซเู ปอรเ์ ซลล์ท่ีมีระบบอากาศหมนุ วนท่ีเรียกว่า เมโซไซโคลน (มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว 2- 10 กิโลเมตร) ไหลวนอยู่ภายในเมฆพายุความเร็ว การหมุนของเมโซไซโดลนทาให้เกิดกรวยเมฆหมุนออกจากผนังเมฆและฐานเมฆคิวมโลนิมบัสลงมา แตะพืน้ ดนิ รปู ที่ 6.12 การเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนองแบบซเู ปอรเ์ ซลล์ ทม่ี า : หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 193) โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 19
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค Supercell เป็นพายุฝนฟ้าคะนองลักษณะการปรากฏตัวของmesocyclone : ลึกเสมอ หมุนกระแสดว้ ยเหตุนพ้ี ายเุ หล่านบ้ี างครง้ั จะเรยี กวา่ พายุฝนฟา้ คะนองหมุน จากการจาแนกประเภท ของพายุฝนฟ้าคะนอง 4 ประเภท (supercell, squall line , multi-cellและsingle-cell ) supercells เป็นส่ิงที่พบได้น้อยที่สุดโดยรวมและมีโอกาสที่จะรุนแรงที่สุด Supercells มักถูกแยก ออกจากพายุฝนฟ้าคะนองอนื่ ๆ และสามารถครอบงาสภาพอากาศในทอ้ งถิน่ ได้ไกลถึง 32 กิโลเมตร (20 ไมล์) มกั จะอย่ไู ด้ 2–4 ช่วั โมง Supercells มักแบ่งออกเป็นสามประเภท ได้แก่ คลาสสิก (ระดับการตกตะกอนปกติ) การตกตะกอนตา่ (LP) และการตกตะกอนสูง (HP) โดยทว่ั ไปแล้ว LP supercells จะพบไดใ้ นสภาพ อากาศที่แห้งแล้งกว่าเช่นท่ีราบสูงของสหรัฐอเมริกาและ HP supercells มักพบในสภาพอากาศช้ืน supercells สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ในโลกภายใต้สภาพอากาศท่ีมีอยู่ก่อนทางขวา แต่พวกเขาจะพบ มากท่ีสุดในGreat Plainsของสหรัฐอเมริกาในบริเวณที่เรียกว่าพายุทอร์นาโด Alley จานวนสูงของ supercells จะเห็นในหลายส่วนของยุโรปเช่นเดียวกับในทอร์นาโดเดินของอาร์เจนตินา , อุรุกวัย และภาคใตข้ องบราซลิ รปู ที่ 6.13 ท่มี า : https://hmong.in.th/wiki/Supercell_thunderstorms โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 20
ชดุ ท่ี 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 1.2) พายุทอร์นาโ ดท่ีไม่ได้เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบซูเปอร์เซลล์ (honsupercell tornado) พายุกลมุ่ นเี้ รม่ิ จากลมเฉือนในแนวระดบั ที่ผิวพื้น ทาให้เกิดกระแสอากาศ ไหลวน ที่เรียกว่าไมโครไซโดลนขึ้นในแนวดิ่ง ไมโครไซโคลนนี้หากหมุนเร็วข้ึนก็จะแคบเข้าและยืด ยาวออกไปด้านบนเคล่ือนเข้าสู่ฐานเมฆ ส่งผลให้เมฆเติบโตมีขนาดใหญ่ข้ึน ส่วนไมโครไซโคลนท่ีมี รัศมีแคบลงและหมุนอย่างรวดเร็วก็กลายเปน็ พายุทอร์นาโดมีความรุนแรงน้อยกว่าท่ีเกิดจากพายุฝน ฝา้ คะนองแบบซเู ปอรเ์ ซลล์ 2) ประเภทของพายุทอร์นาโด จาแนกตามความรุนแรงและองค์ประกอบของกรวย ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 2.1) พายุทอร์นาโดท่ีเกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบซูเปอร์เซลล์ ( supercell tornado) จะมีความรุนแรงสูงสุดถึงระดับ EF4 ถึง EF5 ตามสเกลฟุจิตะปรับปรุง (Enhanced Fujita) เช่น พายุทอรน์ าโดทม่ี ักเกดิ ในสหรฐั อเมริกา 2.2) พายุทอร์นาโ ดที่ไม่ได้เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบซูเปอร์เซลล์ (nonsupercell tornado) ส่วนใหญ่จะมีความรุนแรงในระดับ EF0 ถึง EF2 ซึ่งมีความรุนแรง น้อยกว่าพายุทอร์นาโดท่ีเกิดจากพายุฝนฟ้าคะนองแบบซูเปอร์เซลล์ เช่น พายุงวงช้างท่ีเกิดขึ้นใน ประเทศไทย รูปท่ี 6.14 ทม่ี า : หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากดั (หน้า 194) โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 21
ชุดที่ 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 3) การกระจายการเกดิ พายุทอรน์ าโดของโลก รูปที่ 6.15 แผนท่ีแสดงแหล่งเกิดพายุทอรน์ าโดของโลก ท่มี า : หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากดั (หน้า 195) จากแผนท่ี บริเวณทเี่ สี่ยงต่อการเกิดพายุทอร์นาโดเปน็ พื้นทรี่ าบขนาดใหญ่ และเกิด ในเขตละติจูดสูง เนื่องจากการปะทะกันของมวลอากาศร้อนจากเขตร้อนกับมวลอากาศเย็นจากขั้ว โลก ซึ่งเกิดได้มากในทวีปอเมริกาเหน่ือ ทวีปยุโรป และตอนใตข้ องประเทศออสเตรเลียส่วนพ้ืนท่ีที่มี โอกาสเกิดขึ้นได้แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า เช่น ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกาตอนใต้เน่ืองจากใน พ้ืนที่ดังกล่าวมีพื้นที่ราบขนาดเล็กและมีเทือกเขาสูงปิดกั้นทิศทางการพัดของลมทาให้การเคลื่อนต่า ของลมพายุเกิดขึ้นในระยะส้ัน ๆ เท่าน้ันสาหรับประเทศไทยยังไม่เคยเกิดพายุทอร์นาโดท่ีรุนแรง นอกจากเป็นพายุขนาดเลก็ ท่ีมลี กั ษณะแบบเดยี วกบั พายุทอรน์ าโดผืนนา้ และพายุทอร์นาโดแผ่นดิน 4) ภัยตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ จากพายุทอรน์ าโดรุนแรง เช่น 1. ความเสียหายขึ้นกับความรุนแรงของพายุ ต้ังแต่เสียหายน้อย เช่น ก่ิงไม้หักป้าย ต่าง ๆ เสียหาย ไปจนถึงเสียหายมากท่ีสุด เช่น อาดารบ้านเรือนถูกพายุฉีกจนหลุดเป็นชิ้น ๆ ของ ชิ้นใหญ่และหนักถูกพายพุ ดั ไปไกลกว่า 100 เมตร ตน้ ไมใ้ หญ่หักโดน่ ผคู้ นและสัตว์บาดเจบ็ ลม้ ตาย โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 22
ชดุ ท่ี 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 2. เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างหนกั ภาครฐั ต้องเสียเงินจานวนมากในการ ทาความสะอาด ฟ้ืนฟู ซ่อมแซม ประชาชนสูญเสียรายได้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ต้อง หยดุ ชะงกั 5) เหตกุ ารณ์พายทุ อรน์ าโดรนุ แรง คร้งั สาคัญ เช่น รปู ที่ 6.16 ท่ีมา : หนังสือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมิศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 196) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 23
ชดุ ท่ี 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 6) การจดั การภยั พบิ ัตพิ ายุทอรน์ าโด มีดังนี้ 6.1) มาตรการ เช่น มีแผนเตือนภัยในชว่ งท่เี กิดพายุทอร์นาโดเสมอ ประกาศเตือนให้ ประชาชนติดตามข่าวการเกิดพายุทอร์นาโดและแนวทางการเคลื่อนที่ของพายุโดยตลอดพร้อมทั้งมี แผนการอพยพและซักซอ้ มการหลบภัยเสมอ 6.2) วิธีป้องกัน เช่น ในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย ควรมีการสร้างท่ีหลบภัยไว้ในบ้าน หรือจัด สถานท่ปี ลอดภยั รวม หรือเสรมิ สร้างอาคารบา้ นเรอื นใหม้ ั่นคงแขง็ แรง 6.3) การปฏบิ ตั ิตน ทาได้ ดังนี้ รปู ที่ 6.17 ทมี่ า : หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมิศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 197) โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 24
ชุดที่ 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค บตั รกิจกรรมที่ 6.1 แผนผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. หากเกิดพายุฝนฟา้ คะนองเราควรมีแนวทางในการป้องกันผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เพราะเหตุใดเม่อื ขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจึงไม่ควรใช้โทรศพั ท์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธบิ ายเกยี่ วกับพายุหมุนเขตร้อน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 25
ชดุ ที่ 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 4. วาตภยั แบ่งออกเป็นกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 26
ชุดที่ 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค บัตรกิจกรรมท่ี 6.2 เรื่อง การปฏบิ ตั ติ นเมอื่ เกิดภัยพบิ ัติธรรมชาตทิ างบรรยากาศภาค คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นเขียนแผนภาพการปฏิบตั ติ นเมอื่ เกดิ ตภยั พบิ ัตธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 27
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 28
ชดุ ที่ 6 ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค บตั รกจิ กรรมท่ี 6.3 แผนผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค” เป็นแผนผัง มโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่ีแจกให้แล้วนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 29
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค แบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ฯ รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหสั วชิ า ส33101 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทใี่ ช้ 10 นาที 2. จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องที่สดุ แล้วเขียนเครอ่ื งหมาย ลงในกระดาษคาตอบ 1. เพราะเหตใุ ดเมอ่ื พายสุ งบแลว้ จึงไม่ควรรีบเดินทาง ควรรอเวลาอีกอย่างน้อย 3 ช่ัวโมง ก. มกั มลี มแรงและมฝี นตกหนักได้อกี ข. รอฟังประกาศจากหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง ค. ตอ้ งวางแผนการเดินทางเพอื่ ความปลอดภยั ง. รอให้ระดบั นา้ ลดลงและความเรว็ ของลมคงท่ีเสยี ก่อน 2. ขอ้ ใดกลา่ วผดิ เก่ยี วกับพายหุ มนุ เขตร้อน ก. มีชื่อเรยี กตา่ งกนั ตามแหลง่ กาเนิด ข. หมนุ ตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนอื ค. มเี ส้นผ่าศูนย์กลางตง้ั แต่ 100 กิโลเมตรข้นึ ไป ง. เกิดเหนอื มหาสมุทรในเขตร้อนแถบละติจูดตา่ 3. ภาคใต้ฝ่งั ตะวนั ตกของประเทศไทยอาจจะไดร้ บั ผลกระทบจากพายุท่มี ีความรุนแรงพายุใด ก. พายุไตฝ้ ่นุ ข. พายุโซนร้อน ค. พายุไซโคลน ง. พายุดเี ปรสชนั่ 4. ภัยพบิ ัติทางธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก เกิดจากปัจจัยทาง กายภาพขอ้ ใด ก. ลม ดิน นา้ ข. บรรยากาศภาค ค. ธรณภี าค อุทกภาค ง. ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภูมิอากาศ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 30
ชดุ ที่ 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 5. แหล่งกาเนดิ พายุหมุนเขตรอ้ น ไม่ เกิดข้นึ ในบรเิ วณใด ก. ในเขตละติจูดกลางหรอื กึง่ เขตร้อนขนึ้ ไป ข. ระหว่างเขตเสน้ ทรอปกิ ออฟแคปริคอร์นกบั เส้นศูนย์สตู ร ค. ระหวา่ งเขตเสน้ ทรอปกิ ออฟแคนเซอร์กับเส้นศนู ย์สตู ร ง. บนพืน้ ผวิ ทะเลที่มีอณุ หภูมิเฉลย่ี ประมาณ 26 - 28 C 6. พายุใดต่อไปนี้ไมใ่ ชพ่ ายุหมนุ เขตรอ้ น ก. พายุไตฝ้ นุ่ ข. พายงุ วงช้าง ค. พายไุ ซโคลน ง. พายเุ ฮอรร์ ิเคน 7. สภาพภูมปิ ระเทศแบบใดเออื้ ต่อการก่อให้เกิดพายุทอร์นาโดในประเทศสหรัฐอเมริกา ก. ภูเขาสูง ข. เนินเขาเต้ีย ค. ท่ีราบกวา้ งใหญ่ ง. ท่ีราบสูงระหว่างภเู ขา 8. บคุ คลใดปฏิบตั ติ นเหมาะสมเม่ือเกดิ วาตภัย ก. น้ยุ ผกู เรือแพไวท้ ่เี สาบ้าน ข. กฟิ๊ เกบ็ ของมคี า่ ไวบ้ นท่สี ูง ค. ผง้ึ เปิดวิทยแุ ละอปุ กรณส์ ื่อสารทุกชนดิ ง. ปลาเตรยี มตะเกยี งไฟฉายและไม้ขดี ไฟไว้ใหพ้ ร้อม 9. ขณะเกิดพายุทอรน์ าโดไม่ควรปฏบิ ตั ิตามข้อใด ก. หลบในรถยนต์ขนาดใหญ่ ข. หลบใตส้ ะพาน ท่อลอดถนน ค. หลบในสถานทีห่ ลบภัยใต้ดนิ ง. หลบในอาคารแข็งแรงขนาดใหญ่ 10. ข้อใดกล่าวถึงการเกิดพายุทอร์นาโดถูกต้อง ก. ก่อตัวในระดบั ฐานเมฆ ข. กอ่ ตัวจากมวลอากาศเยน็ ค. ก่อตวั แตใ่ นเขตละตจิ ดู ต่า ง. ก่อตัวในมหาสมุทรอย่างเดียว โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 31
ชุดท่ี 6 ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ชุดท่ี 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค แบบทดสอบกอ่ นเรียน ง แบบทดสอบหลังเรียน ง ข้อ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 32
ชุดท่ี 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค บรรณานุกรม กรมทรพั ยากรธรณี. 2544. ธรณีวทิ ยาประเทศไทยเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เนื่องในวโรกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. (พิมพค์ รั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวทิ ยากรมทรพั ยากรธรณี. กรมทรัพยากรธรณี. 2550. ธรณีวทิ ยาประเทศไทย. (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบ้ีย. คณะกรรมการวชิ าสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชวี ติ ศูนย์วชิ าบรู ณาการ หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2549. ส่ิงแวดลอ้ มเทคโนโลยแี ละชีวติ . กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาเกษตรศาสตร์. ภาควชิ าปฐพีวทิ ยา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. 2548. ปฐพวี ทิ ยาเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภาควิชาภมู ิศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. 2535. ภมู ิศาสตรเ์ ศรษฐกจิ . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ชัชพล ทรงสุนทรวงศ.์ 2546. มนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ดาภา ไชยพรธรรม. 2537. สนึ ามิแผน่ ดนิ ไหวภยั ใกล้ตัว. กรุงเทพมหานคร : ยโู รปา เพรส. เทพพรรณี เสตสุบรรณ. (ม.ป.ป. ). ภยั พิบตั ิจากธรรมชาตใิ นเขตร้อน. กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์. นิวัติ เรืองพานชิ . 2528. การอนรุ ักษ์ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : เฉลมิ ชาญ การพิมพ์. ประสิทธ์ิ ทีฆพุฒิ และศภุ ฤกษ์ ตันศรรี ัตนวงศ.์ 2549. คมู่ ือเตือนภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : ดอกหญา้ กรุ๊ป. ระวิวรรณ ต้งั ตรงขนั ติ, พรวมิ ล สวา่ งชม และภาณุภัทร วงศ์วรปัญญา. 2564. แบบฝกึ สมรรถนะ การคิด เนน้ Geo-Literacy ภมู ิศาสตร์ ม.4-6. (พิมพ์คร้ังที่ 1) กรุงเทพฯ : ไทยร่มเกลา้ , บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด ราชบัณฑติ ยสถาน. 2558. พจนานุกรมศพั ท์ธรณีวิทยา A-M. (พมิ พ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พค์ ณะรัฐมนตรแี ละราชกจิ จานุเบกษา. ราชบัณฑติ ยสถาน. 2558. พจนานกุ รมศัพทธ์ รณีวทิ ยา N-Z. (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์คณะรัฐมนตรแี ละราชกจิ จานเุ บกษา. สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 33
ชุดที่ 6 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ รง้ั ที่ 8). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2554. หนังสอื เรียนรายวิชาเพิ่มเตมิ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ รัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561. หนังสือเรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1. (พิมพค์ ร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . อภสิ ทิ ธ์ิ เอี่ยมหน่อ และคณะ. 2564. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6. (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 8) กรงุ เทพฯ : ไทยร่มเกล้า, บรษิ ทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด https://hmong.in.th/wiki/Supercell_thunderstorms https://www.pptvhd36.com/news/98724 http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/geo/96.htm โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 34
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 35
ชุดที่ 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 6.1 เร่อื ง ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. หากเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนองเราควรมแี นวทางในการปอ้ งกนั ผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนอย่างไร …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………เ…ช…่น…ด…ูแ…ล…รัก…ษ…า…บ…้า…นเ…ร…ือ…นใ…ห…้ม…ั่น…ค…ง …แ…ข็…งแ…ร…งอ…ย…ู่เ…สม…อ……ซ…ึ่งถ…ือ…เป…็น…แ…น…ว…ท…า…งใ…น…ก…าร…ป…้อ…งก…ัน…… …ผ…ล…ก…ร…ะท…บ…จ…าก…ว…า…ตภ…ยั…ท…เี่ ห…ม…า…ะ…สม……เพ…ร…าะ…ใ…น…ขณ…ะ…ป…ร…ะส…บ…ภ…ัย…เร…า…อา…จ…ไม…่ส…า…มา…ร…ถ…เต…ร…ียม…ก…า…รป…อ้ …ง…กัน…… …บ…า้…น…เร…อื …น…ให…ม้ …่ัน…ค…ง …แข…ง็ …แ…รง…ได…ท้ …นั …เว…ล…า…………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เพราะเหตใุ ดเม่ือขณะเกดิ พายฝุ นฟ้าคะนองจงึ ไมค่ วรใชโ้ ทรศพั ท์ …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………เ…น…ื่อง…จ…าก…โ…ท…รศ…ัพ…ท…์ม…อื …ถือ…ม…ีว…ัส…ดทุ…ี่ท…า…จ…าก…โ…ล…หะ……แล…ะ…โ…ลห…ะ…จ…ะ…เป…็น…ต…ัวร…ว…ม…คล…ื่น…ฟ…้า…ผ่…าใ…ห…้พ…ุ่งต…ร…ง … …ม…า…ย…ังท…่ีต…ัว…โท…ร…ศ…ัพ…ท…์ ร…วม…ถ…งึ …สัญ……ญ…าณ…อ…ิน…เ…ทอ…ร…์เน…็ต…จ…าก…โ…ท…รศ…ัพ…ท…์ม…ือ…ถือ…ก…็จ…ัด…เป…็น…ค…ลื่น…ส…ัญ…ญ…า…ณ…ท…ี่เป…็น…… …ส…า…ย…ล…่อ…ฟ้…าท…่ีท…า…ให…้เ…ก…ิด…ฟ้…าผ…่า…ได…้เ…ป…็น…อย…่า…ง…ดี…ด…ัง…น้ั…น…ใ…นข…ณ…ะ…เ…ก…ิดพ…า…ย…ุฝ…น…ฟ…้าค…ะ…น…อ…ง…จึง…ไ…ม่…คว…ร…ใช…้ … …โ…ท…ร…ศพั…ท…เ์ …พ…่ือเ…ป…น็ ก…า…ร…ป…อ้ ง…ก…นั …กา…ร…เก…ิด…ฟ…้าผ…่า…แ…ละ…เ…ป็น…อ…นั …ต…ร…าย…ต…่อ…รา่ …ง…กา…ย…แ…ละ…ท…ร…ัพ…ยส์…นิ …ไ…ดน้…น่ั …เ…อง……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธิบายเก่ยี วกับพายุหมุนเขตรอ้ น …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………พ…า…ย…ุห…ม…ุน…เข…ต…ร้อ…น……เป…็น…พ…า…ยุ…ขน…า…ด…ให…ญ…่ท…่ีก…่อ…ต…ัว…เห…น…ือ…ท…ะเ…ล…ห…รือ…ม…ห…า…สม…ุท…ร…ใ…น…เข…ต…ร…้อน…… …เ…น…่อื …งจ…า…กน…้า…ใน…ม…ห…า…ส…มทุ…ร…ได…้ร…ับ…ค…วา…ม…ร…้อน…จ…า…กด…ว…ง…อา…ท…ติ …ย…ร์ ะ…เห…ย…ข…ึน้ …เป…น็ …ไ…อน…้า…ต…อ่ …ม…าไ…อ…น…า้ ก…ล…นั่ …ต…ัว… …เ…ป…็น…ห…ยด…น…้า…เล…็ก…จา…น…ว…น…มา…ก…แ…ล้…วก…ล…าย…เ…ป…็นเ…ม…ฆ…แล…ะ…ฝ…น…ต่อ…ไ…ป…ซ…ึ่ง…ก…ระ…บ…ว…น…กา…ร…ก…ลัน่…ต…วั …ข…อง…ไอ…น…า้ …จ…ะ… …ม…ีก…า…ร…คา…ย…พ…ล…ังง…า…น…แฝ…ง…อ…อ…กม…า…พ…ล…ัง…งา…น…น…้ัน…เ…ม…่ือ…รว…ม…ก…ับ…แร…ง…จ…าก…ก…า…รห…ม…ุน…ข…อ…งโ…ล…ก…จะ…ท…า…ให…้เ…กิ…ด … …ก…า…ร…เค…ล…่ือน…ต…ัว…ข…อง…พ…า…ยุห…ม…ุน…เ…ขต…ร…้อ…น…พ…า…ย…ุห…ม…ุนเ…ข…ต…ร้อ…น…เ…รีย…ก…ช…ื่อ…ต…าม…ค…ว…าม…เร…็ว…ล…ม…รอ…บ…ศ…ูน…ย์ก…ล…า…ง … …ค…ือ……พ…าย…ุด…ีเป…ร…ส…ช…ัน…ม…ีค…ว…าม…เ…ร็ว…ล…ม…ไม…่เ…กิน……6…3…ก…ิโล…เม…ต…ร…ต…่อ…ช่ัว…โ…ม…ง,…พ…า…ยุโ…ซ…น…ร้อ…น……ม…ีคว…า…ม…เร…็ว…ลม…… …ต…้ัง…แ…ต…่ 6…3…-1…1…7…ก…ิโล…เม…ต…ร…ต…่อ…ช่ัว…โ…มง…,…พ…า…ยุไ…ต…้ฝ…ุ่น…พ…า…ยุ…ไซ…โค…ล…น……พา…ย…ุเฮ…อ…ร…ิเค…น…ม…ีค…ว…า…มเ…ร…็วล…ม…ใ…กล…้ … …ศ…ูน…ย…ก์ …ล…าง…ม…าก…ก…ว…่า …11…7…ก…โิ …ล…เม…ต…ร…ต…อ่ ช…่ัว…โม…ง…ข…นึ้ ไ…ป…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 36
ชุดท่ี 6 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 4. วาตภัยแบง่ ออกเปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………1….…พ…าย…ฝุ …น…ฟ…า้ …ค…ะน…อ…ง…เ…ป…็นพ…า…ย…ุร…ะด…บั …ท…้อ…งถ…่นิ …บ…ร…ิเว…ณ…ใ…ก…ลเ้…ส…้น…ศูน…ย…์ส…ูต…รม…ีโ…อ…กา…ส…เก…ิด…พ…า…ยุ … …ฝ…น…ฟ…้า…ค…ะ…น…อ…ง…มา…ก……เน…่ือ…งจ…า…ก…ม…ีอ…าก…า…ศ…ร้…อน…ช…ื้น……พ…าย…ุฝ…น…ฟ…้า…ค…ะน…อ…ง…เก…ิด…จ…า…ก…กา…ร…ท…ี่อ…าก…า…ศ…ร้…อน…… …ล…อ…ย…ต…ัวข…้ึน……แล…ะ…ม…ีแ…รง……กร…ะ…ท…าท…า…ใ…ห้…อา…ก…า…ศย…ก…ต…ัว…ขึ้น…ไ…ป…สู่…คว…า…ม…สูง…ร…ะ…ดับ…ห…น…ึ่ง…โ…ด…ยม…ว…ล…อ…าก…า…ศ…จ…ะ … …เ…ย…็น…ล…งเ…ม…่ือ…ล…อ…ยส…ูง…ข…ึ้น……แล…ะ…ก…ล…ั่น…ต…ัว…เป…็น…ล…ะ…อ…อ…งน…้า…เ…ล…็ก…ๆ……เป…็น…ก…า…ร…ก่อ…ต…ัว…ข…อ…ง…เม…ฆ…ค…ิว…มู…ลัส…… …แ…ล…ะ…พ…ัฒ…น…าม…า…เป…็น…เ…ม…ฆค…ิว…ม…ูโล…น…ิม…บ…ัส…อ…า…ก…าศ…จ…ะ…เค…ล…ื่อ…นท…่ีล…ง…อ…ย่า…ง…รว…ด…เร…็ว…เ…ก…ิดล…ม…ก…ร…ะโ…ช…ก…รุน…แ…ร…ง … …แ…ล…ะ…เก…ิด…เป…น็ …พ…า…ยฝุ…น…ฟ…า้ …คะ…น…อ…ง…บ…า…งค…ร…้งั อ…า…จเ…ก…ดิ ล…ูก…เ…ห็บ…ต…ก………………………………………………………… ………………2….…พ…าย…ุห…ม…ุน…เข…ต…ร…อ้ …น…เป…น็…พ…า…ย…ขุ น…า…ด…ให…ญ…ท่ …ี่ก…่อ…ต…วั เ…ห…นอื…ท…ะ…เล…ห…ร…ือม…ห…า…ส…ม…ุทร……ใน…เข…ต…ร…อ้ น…… …เ…น…อื่ …งจ…า…กน…า้…ใน…ม…ห…า…ส…มทุ…ร…ได…้ร…ับ…ค…วา…ม…ร…้อน…จ…า…กด…ว…ง…อา…ท…ิต…ย…์ระ…เห…ย…ข…้ึน…เป…น็ …ไ…อน…้า…ต…่อ…ม…าไ…อ…น…้าก…ล…นั่ …ต…ัว… …เ…ป…็น…ห…ยด…น…้า…เล…็ก…จ…าน…ว…น…ม…า…กแ…ล…้ว…ก…ลา…ย…เป…็น…เ…มฆ…แ…ล…ะ…ฝ…นต…่อ…ไ…ป…ซ…่ึง…ก…ระ…บ…ว…น…ก…าร…ก…ล…่ัน…ตัว…ข…อ…งไ…อ…น…้า … …จ…ะ…ม…ีก…าร…ค…าย…พ…ล…ัง…งา…น…แ…ฝง…อ…อ…กม…า…พ…ล…ัง…งา…น…น…ั้น…เ…มอื่…ร…ว…ม…กับ…แ…ร…งจ…า…ก…กา…ร…ห…มุน…ข…อ…ง…โล…ก…จ…ะท…า…ให…้เ…ก…ิด … …ก…า…ร…เค…ล…ื่อน…ต…ัว…ข…อง…พ…า…ยุห…ม…ุน…เ…ขต…ร…้อ…น…พ…า…ย…ุห…ม…ุนเ…ข…ต…ร้อ…น…เ…รยี…ก…ช…่ือ…ต…าม…ค…ว…าม…เร…็ว…ล…ม…รอ…บ…ศ…ูน…ย์ก…ล…า…ง … …ค…ือ……พ…าย…ุด…ีเป…ร…ส…ช…ัน…ม…ีค…ว…าม…เ…ร็ว…ล…ม…ไม…่เ…กิน……6…3…ก…ิโล…เม…ต…ร…ต…่อ…ช่ัว…โ…ม…ง,…พ…า…ยุโ…ซ…น…ร้อ…น……ม…ีคว…า…ม…เร…็ว…ลม…… …ต…้ัง…แ…ต…่ 6…3…-1…1…7…ก…ิโล…เม…ต…ร…ต…่อ…ช่ัว…โ…มง…,…พ…า…ยุไ…ต…้ฝ…ุ่น…พ…า…ยุ…ไซ…โค…ล…น……พา…ย…ุเฮ…อ…ร…ิเค…น…ม…ีค…ว…า…มเ…ร…็วล…ม…ใ…กล…้ … …ศ…ูน…ย…ก์ …ล…าง…ม…าก…ก…ว…่า …11…7…ก…ิโ…ล…เม…ต…ร…ต…่อช…วั่ …โม…ง…ข…ึน้ ไ…ป…………………………………………………………………… ………………3….…พ…าย…ุท…อ…ร…์น…าโ…ด…ค…อื …พ…า…ย…ุหม…นุ…ร…ุน…แ…รง…ซ…ง่ึ …เก…ิด…จ…าก…พ…า…ยฝุ…น…ฟ…้า…คะ…น…อ…ง…เป…น็ …ป…ร…าก…ฏ…ก…า…รณ…์… …ท…า…ง…อ…าก…า…ศ…ท…ี่ม…ีค…วา…ม…ร…ุน…แร…ง…ท…ี่สุ…ด …โด…ย…ภ…า…ยใ…น…พ…า…ยุเ…ม…ฆ…ขน…า…ด…ให…ญ…่อ…า…ก…าศ…อ…ุ่น…แ…ล…ะค…ว…า…ม…ช้ืน…ก…า…ล…ัง … …ล…อ…ย…ต…ัว…สู…งข…้ึน…ข…ณ……ะท…ี่อ…า…ก…าศ…เ…ย…็น…กา…ล…ัง…ต…ก…ลง…พ…ร…้อ…ม…กับ…ฝ…น……ส…ภ…าว…ะ…ด…ัง…ก…ล…่าว…จ…ึง…ท…าใ…ห…้เก…ิด…ก…า…ร … …ห…ม…ุน…เ…วี…ยน…ข…อ…ง…อ…าก…า…ศ…ภ…า…ย…ใน…เ…มฆ……ซ…่ึงอ…า…ก…า…ศ…ห…มุน…น…้ีม…ีร…ูป…ร…่าง…เ…ป…็น…แท…่ง……เค…ล…่ือ…น…ท…่ีเป…็น…แ…น…ว…ต…ั้ง … …อ…อ…ก…จ…า…กเ…ม…ฆ…แ…ล…้ว…สัม…ผ…ัส…ล…ง…บ…น…พื้น…ผ…ิว…โ…ลก……โด…ย…ท…ั่ว…ไป……พ…าย…ุท…อ…ร…์น…าโ…ด…ส…าม…า…ร…ถ…เก…ิด…ข…ึ้น…ได…้ใ…น…ทุก…… …ภ…ูม…ิภ…า…ค…แ…ต…่เก…ิด…ข…้ึนบ…่อ…ย…ใ…นป…ร…ะ…เท…ศ…ส…ห…รัฐ…อ…เม…ร…ิก…า…เพ…ร…า…ะม…ีส…ภ…า…วะ…อ…า…กา…ศ…ท…่ี เ…อ…้ือต…่อ…ก…าร…เ…กิด…ภ…า…ว…ะ… …ล…ม…ร…้อ…นแ…ล…ะ…ไอ…เย…็น…ป…ะ…ท…ะก…นั …เ…ปน็…ภ…ยั …ธ…รร…ม…ช…าต…ทิ …ี่เก…ดิ …ล…ม…ฟ…า้ อ…า…ก…าศ…แ…ล…ะภ…มู …ิอ…า…กา…ศ…………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 37
ชุดที่ 6 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 6.2 เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ิตนเมอื่ เกิดภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค คาชแี้ จง : ให้นักเรียนเขยี นแผนภาพการปฏบิ ัตติ นเมื่อเกดิ ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค แนวคาตอบ 1. การปฏบิ ัติตนเมื่อเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 38
ชดุ ที่ 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 2. การปฏบิ ัติตนเมื่อเกดิ พายุหมุนเขตรอ้ น โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 39
ชุดที่ 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 3. การปฏบิ ัติตนเมื่อเกิดพายุทอนาร์โด โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 40
ชดุ ที่ 6 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 6.3 แผนผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ท่ีเกี่ยวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค” เป็นแผนผัง มโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษทแี่ จกใหแ้ ล้วนาเสนอผลงานหน้าช้นั เรียน ขึ้นอยกู่ บั ดลุ พินจิ ของครผู ู้สอน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 41
ชุดท่ี 6 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน ชดุ ที่ 6 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน ขอ้ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 42
ชดุ ท่ี 6 ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค ประวตั ิย่อผูจ้ ัดทา ช่อื – สกลุ นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู วนั เดือน ปี เกดิ วนั ที่ 22 สงิ หาคม พ.ศ. 2521 สถานที่เกดิ บ้านเลขท่ี 10/2 หมู่ 18 ตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตูม จงั หวัดสุรนิ ทร์ โทรศพั ท์ 082-1363696 ตาแหนง่ หน้าที่ปัจจบุ นั ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ สถานทที่ างานในปัจจบุ ัน โรงเรยี นเบต็ ต้ดี ูเมน 2 ชอ่ งเมก็ ตาบลช่องเม็ก อาเภอสริ นิ ธร จังหวัดอบุ ลราชธานี สังกดั องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานี ประวัตกิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี ครุศาสตรบณั ฑิต วชิ าเอก เทคโนโลยีและนวตั กรรม พ.ศ. 2544 การศกึ ษา สถาบนั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ ปรญิ ญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต พ.ศ. 2553 สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง ประสบการณก์ ารทางาน พ.ศ. 2551 ตาแหนง่ นักวชิ าการศึกษา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลพลงตาเอ่ียม อาเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง พ.ศ. 2553 ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนมธั ยมบา้ นบางกะปิ สานักงานเขตบางกะปิ สานกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 ครู คศ1. โรงเรียนมัธยมบา้ นบางกะปิ สานกั งานเขตบางกะปิ สานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2559 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นเบ็ตตีด้ ูเมน 2 ช่องเมก็ ตาบลช่องเมก็ อาเภอสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี สังกดั องค์การบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2561 ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนเบ็ตตดี้ ูเมน 2 ชอ่ งเม็ก ตาบลช่องเม็ก อาเภอสริ ินธร จงั หวัดอุบลราชธานี สังกัดองค์การบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 43
Search