ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกและภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา 5 (ภมู ศิ าสตร)์ รหสั วชิ า ส33101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 เรอ่ื ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลกและภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ตดี้ เู มน 2 ชอ่ งเมก็ อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อุบลราชธานี
ชดุ ที่ 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นส่ือนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใชใ้ นการเรียนการสอน ซ่อมเสรมิ ได้ หรือใชใ้ นการสอนแทนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจและพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผูเ้ รียนได้รับการ พัฒนาท้ังด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา ความสามารถในการส่อื สาร การตัดสินใจ การนาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวนั ตลอดจนส่งเสริม ให้ผ้เู รียนมีจติ สงั คมศกึ ษาคุณธรรมและค่านยิ มที่ถูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ทาให้มีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติได้เป็นอย่างดี และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรได้ รมย์รวินท์ เชิดชู โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ก
ชุดที่ 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค สำรบัญ เรื่อง หนำ้ คำนำ ก สำรบัญ ข คำชแี้ จงเกย่ี วกับกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ ค แผนภมู ลิ ำดับขัน้ ตอนกำรใชช้ ดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ง คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้สำหรบั ครู จ คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้สำหรบั นักเรยี น ฉ 1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั /จุดประสงค์การเรียนรู้สูต่ วั ช้ีวัด 2 สาระสาคัญ 3 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6 บตั รเนอื้ หา ชดุ ที่ 7 เร่ือง ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางอุทกภาค 18 บัตรกจิ กรรมที่ 7.1 เรือ่ ง ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 20 บตั รกจิ กรรมท่ี 7.2 เรื่อง การปฏิบตั ิตนเม่อื เกิดภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างอุทกภาค 22 บตั รกจิ กรรมที่ 7.3 ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 23 แบบทดสอบหลังเรียน 26 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 27 บรรณำนุกรม 29 ภำคผนวก 30 เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 7.1 เรอื่ ง ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาค 32 เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 7.2 เร่ือง การปฏบิ ัติตนเมื่อเกิดภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 34 เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 7.3 ผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค 35 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น ประวตั ยิ อ่ ผู้จัดทำ 36 โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ข
ชดุ ท่ี 7 ภยั พิบัติธรรมชาตทิ างอทุ กภาค คำช้แี จงเก่ียวกับชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของ โลกและภัยพิบัติทางธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 โดยสอดคล้องตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกทเ่ี หมาะสมกับระดับ และวัย เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ ส่งเสริมเจตคติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ซงึ่ ประกอบดว้ ยชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 8 ชุด ดังน้ี ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง การเปลีย่ นแปลงทางธรณีภาค ชุดที่ 2 เร่ือง การเปล่ียนแปลงทางบรรยากาศภาค ชุดท่ี 3 เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงทางอทุ กภาค ชดุ ที่ 4 เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงทางชวี ภาค ชดุ ที่ 5 เรอ่ื ง ภยั พิบตั ธิ รรมชาตทิ างธรณีภาค ชุดท่ี 6 เร่ือง ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ชดุ ท่ี 7 เร่ือง ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาค ชดุ ท่ี 8 เรอ่ื ง ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดน้ีเป็น ชุดท่ี 7 เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงอุทกภำค ใช้ เวลำ 2 ชว่ั โมง 3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้น้ีควรศึกษาข้ันตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง ละเอียดก่อนใช้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อนักเรียน และผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ มากย่งิ ขน้ึ ต่อไป โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ค
ชุดที่ 7 ภัยพบิ ัติธรรมชาตทิ างอุทกภาค แผนภูมลิ ำดับขน้ั ตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาตัวชีว้ ดั และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เสรมิ พน้ื ฐำน ทดสอบกอ่ นเรียน ผมู้ พี ื้นฐำนต่ำ ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ตามขัน้ ตอน ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชดุ กจิ กรรม ไม่ผำ่ น ทดสอบหลงั เรยี น กำรทดสอบ ผำ่ นกำรทดสอบ ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองตอ่ ไป แผนภมู ิลำดับข้ันตอนกำรเรียนโดยใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ชุดท่ี 7 เร่อื ง เรอ่ื ง ภัยพิบัตธิ รรมชำตทิ ำงอุทกภำค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ง
ชุดท่ี 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค คำช้ีแจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรสู้ ำหรบั ครู ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดท่ี 7 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชำติ ทำงอุทกภำค ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ช่ัวโมง ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทาง สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรบู้ รรลจุ ดุ ประสงค์และมปี ระสทิ ธิภาพ ครูผสู้ อนควรดาเนนิ การดังน้ี 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับครู และแผนการจดั การเรยี นรู้ เพื่อท่ีครูผู้สอนสามารถนาชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ไู ปใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ครูผสู้ อนเตรยี มสอื่ การเรียนการสอนให้พรอ้ ม 3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซ่ึงนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด ยกเว้นส่ือการสอนทตี่ ้องใช้ร่วมกนั 4. ครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี 4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรยี นรู้โดยใช้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ วา่ จะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมอะไร อยา่ งไร 4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกัน ไมร่ บกวนผอู้ ืน่ และไม่ชกั ชวนเพ่ือนให้ออกนอกลู่นอกทาง 4.4 หลงั จากปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแลว้ นักเรยี นจะตอ้ งจัดเกบ็ อปุ กรณท์ ุกชิ้นให้เรยี บร้อย 4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบตั ิตนอยา่ งตัง้ ใจและรอบคอบ 5. ขณะท่ีนกั เรียนทุกกลมุ่ ปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด เปน็ รายกลุ่มหรือรายบคุ คล ต้องไมร่ บกวนกจิ กรรมของนักเรยี นกลุม่ อื่น 6. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน ใดหรือกลุ่มใดมปี ัญหาควรเขา้ ไปใหค้ วามช่วยเหลือจนปญั หาน้ันคลคี่ ลายลง 7. การสรุปผลที่ไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นกั เรียนแสดงออกใหม้ ากที่สุด 8. ประเมินผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน เพือ่ ตรวจสอบผลการเรยี นรูข้ องนกั เรียน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ จ
ชุดท่ี 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค คำช้ีแจงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรสู้ ำหรบั นักเรียน ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ทน่ี กั เรียนไดศ้ ึกษาตอ่ ไปนคี้ ือ ชุดที่ 7 เรือ่ ง ภัยพิบตั ิธรรมชำติทำง อุทกภำค ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางสังคม ศึกษา กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สงู สดุ นกั เรียนควรปฏิบัตติ ามคาช้ีแจง ดงั ต่อไปนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ชุดที่ 7 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงอุทกภำค ใชเ้ วลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชัว่ โมง 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ข้อ 3. นักเรียนทากจิ กรรมเปน็ รายกลุม่ และศกึ ษาวิธดี าเนนิ กิจกรรมใหเ้ ขา้ ใจ 4. นกั เรียนปฏิบัติกจิ กรรมในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้สงั คมศึกษา 5. นักเรยี นทากจิ กรรมในชุดกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ครบ 6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน 10 ขอ้ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ฉ
ชุดที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ัด จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตัวชีว้ ดั / สาระสาคัญ ชุดที่ 7 เร่อื ง ภัยพิบัติธรรมชาติทางอทุ กภาค สาระ ภูมิศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวดั ม.4 – 6/2 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก มาตรฐานการเรียนรู้ 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาทีย่ ัง่ ยนื ตวั ช้ีวดั ม.4 – 6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ียนแปลงด้าน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพท่ีทาใหเ้ กดิ ปัญหาหรอื ภยั พิบตั ิธรรมชาตทิ างอุทกภาคใน ประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกได้ (K) 2. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางอุทกภาคได้ (K) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 1
ชุดท่ี 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 3. เสนอแนวทางในการป้องกันตนเองและระวังภยั พิบัติธรรมชาตทิ างอุทกภาคได้ (P) 4. สนใจศึกษาเกี่ยวกับภัยพิบัติธรรมชาติทางอุทกภาคเพ่ือนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เพ่มิ มากขน้ึ (A) 5. มีความสนใจใฝ่เรียนรหู้ รอื อยากรูอ้ ยากเห็น ทางานร่วมกบั ผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับ ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ได้ (A) สาระสาคญั ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติเป็นปรากฏการณท์ ีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาตบิ นเปลอื กโลก มีการเกิด แบบช้า ๆ ทาให้มีเวลาเตรียมรับมือได้ แต่บางภัยเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วจนไม่มีเวลาเตรียมการรองรับ และมีทัง้ ระดับที่ไมร่ ุนแรงจนถึงระดับที่เปน็ อนั ตรายจนทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บและสูญเสยี ชวี ติ อาคาร บ้านเรือนและทรัพย์สินเสียหายจานวนมาก เมื่อเกิดขึ้นแล้วย่อมส่งผลต่อการดาเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และเศรษฐกจิ ในพ้นื ทที่ ีป่ ระสบภยั ทง้ั ในระยะส้ันและระยะยาว อุทกภัยเป็นภัยท่ีเกิดจากน้าในลาน้า แอ่งน้า ทะเลสาบ ไหลล้นตล่ิง หรือน้าท่วม ฉับพลันในพื้นที่หนึ่งเป็นระยะเวลาสั้นหรือเป็นคร้ังคราว เน่ืองจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ส่งผลให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ พนื้ ที่เกษตร ชีวิตและทรัพยส์ นิ ของประชาชน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 2
ชุดที่ 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค แบบทดสอบก่อนเรียน เรอ่ื ง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางอุทกภาค กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ฯ รายวิชาสงั คมศกึ ษา 5 (ภูมศิ าสตร)์ รหัสวิชา ส33101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที 2. จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ แลว้ เขยี นเครือ่ งหมาย ลงในกระดาษคาตอบ 1. “อุทกภยั ” มคี วามหมายตรงตามข้อใด ก. สึนามิ ข. นา้ ทว่ ม ค. พายุหมุนเขตร้อน ง. นา้ ป่าไหลหลาก 2. “อุทกภยั ” เกดิ จากสาเหตุใด ก. เกดิ จากการขาดแคลนน้า ข. เกดิ จากลมพัดอยา่ งรนุ แรง ค. เกิดจากฝนตกหนักเปน็ เวลานานอย่างต่อเน่อื ง ง. เกดิ จากคลื่นทะเลขนาดใหญเ่ คลือ่ นตัวอย่างรวดเร็ว 3. อุทกภยั ประเภทใดทเ่ี ป็นสาเหตทุ าให้เกิดโรคระบาดในพ้ืนท่ีมากท่สี ุด ก. น้าทว่ มขัง ข. นา้ ล้นตลง่ิ ค. น้าทว่ มฉบั พลัน ง. น้าป่าไหลหลาก 4. ลักษณะภูมปิ ระเทศแบบใดเส่ียงตอ่ การเกดิ น้าปา่ ไหลหลากและน้าท่วมฉับพลนั ก. ภูเขาสงู ข. ที่ราบระหวา่ งภูเขา ค. เนนิ เขา ง. ต้นน้าลาธาร โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 3
ชดุ ที่ 7 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 5. สาเหตุสาคญั ท่ีทาให้เกดิ มหาอทุ กภยั 2554 ในประเทศไทย คืออะไร ก. คคู ลองต้ืนเขิน ข. ฝนตกหนกั มากกว่าปกติ ค. น้าทะเลหนนุ มากกวา่ ปกติ ง. แผนการใชท้ ด่ี ินไมม่ ีประสิทธิภาพ 6. จากขอ้ 5. เก่ยี วข้องกับปรากฏการณใ์ ด ก. สึนามิ ข. ลานีญา ค. เอลนีโญ ง. พายหุ มุนเขตร้อน 7. โครงการใดไม่เกย่ี วกบั การป้องกนั อทุ กภัย ก. โครงการแกลง้ ดนิ ข. โครงการแก้มลงิ ค. โครงการหญ้าแฝก ง. โครงการสรา้ งเขอื่ น 8. สาเหตุของการเกิดแผน่ ดินถลม่ มีหลายประการ ยกเว้น ก. มักเกดิ ในฤดฝู น ข. การตัดไม้ทาลายป่า ค. การสรา้ งอาคารไมแ่ ขง็ แรง ง. เกิดจากการเคล่อื นตวั ของชนั้ ดิน 9. ข้อใดไม่ใช่พายุหมุนท่ีมีความรุนแรงแบบเดียวกัน แต่มีช่ือเรียกแตกต่างกันตามแหล่งท่ี กาเนิด ก. ไตฝ้ นุ่ ข. โซนร้อน ค. ไซโคลน ง. เฮอรเิ คน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 4
ชุดที่ 7 ภยั พิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค 10. เม่อื เกดิ ฝนฟา้ คะนอง ควรปฏิบตั อิ ย่างไร ก. อยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ ข. อยู่ในทโี่ ลง่ แจ้ง ค. อยู่แตใ่ นบา้ น ง. อยู่ใกลเ้ สาสูง โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 5
ชดุ ที่ 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค บัตรเนอ้ื หา ชดุ ที่ 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางอทกภาค ภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างอทุ กภาค อุทกภัยเป็นภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากน้า ในสภาพของน้าท่วม น้าท่วมฉับพลัน หรือน้า ไหลเอ่อล้นฝั่งแมน่ ้าลาธารทางน้า เข้าท่วมพนื้ ทซี่ ่ึงปกติไม่ได้อยู่ใต้ระดับน้า หรอื เกิดจากการสะสมน้า บนพ้นื ท่ีที่ระบายออกไม่ทนั ทาให้พ้นื ท่ีนั้นปกคลมุ ไปด้วยนา้ รูปที่ 7.1 ทม่ี า : http://ndwc.disaster.go.th/cmsdetail.ndwc สาเหตกุ ารเกดิ อุทกภยั การเกิดอทุ กภัยมาจากหลายสาเหตุ ทง้ั โดยทางธรรมชาตแิ ละเกดิ จากฝีมอื มนุษย์ ซึ่งอาจเกิด จากฝนตกหนักต่อเน่ืองกันเป็นเวลานาน ในบางคร้ังอาจทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดอุทกภัยจาก น้าทะเลหนุน เข่อื นพัง ก็เป็นสาเหตทุ าให้เกิดอุทกภัยได้ ซ่ึงอุทกภัยทาให้เกิดความเสียหายทัง้ ตอ่ ชีวิต ทรัพยส์ นิ และสิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติ รวมไปถึงความเสียหายทางด้านเศรษฐกจิ ด้วย โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 6
ชดุ ท่ี 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค ลักษณะของอทุ กภัย อุทกภัยมีความรุนแรง และรูปแบบต่าง ๆ กันออกไป ข้ึนอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ และสิง่ แวดลอ้ มของแตล่ ะพ้นื ทโี่ ดยมีลกั ษณะ ดังน้ี น้าป่าไหลหลากหรือน้าท่วมฉับพลัน มักจะเกิดข้ึนในท่ีราบต่าหรือที่ราบลุ่มบริเวณใกล้ ภูเขาต้นน้า อันเกิดขึ้นเน่ืองจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทาให้จานวนน้า สะสม มีปริมาณมากจนพ้ืนดินและต้นไม้ดูดซับไม่ไหว ทาให้น้าไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่าเบื้องล่าง อย่างรวดเร็ว มอี านาจทาลายล้างอยา่ งรนุ แรง ทาใหบ้ า้ นเรือนพังเสยี หายและอาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายถงึ ชวี ิตได้ 1. น้าท่วมหรือน้าท่วมขัง เป็นลักษณะอุทกภัยที่เกิดข้ึนจากปริมาณน้าสะสมจานวน มากท่ี ไหลบ่าในแนวระนาบจากที่สูงไปยังที่ต่า เข้าท่วมอาคารบ้านเรือน เรือกสวนไร่นาได้รับความ เสียหาย หรือ เป็นสภาพน้าท่วมขังในเขตเมืองใหญ่ ที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเน่ืองเป็นเวลานาน มสี าเหตุมาจากระบบการระบายน้าไม่ดีพอ มสี ิ่งกีดขวางทางระบายน้า หรือเกิดน้าทะเลหนุนสูงกรณี พนื้ ทอี่ ยู่ใกลช้ ายฝัง่ ทะเล 2. นา้ ล้นตล่ิง เกดิ ข้ึนจากปรมิ าณนา้ จานวนมากทีเ่ กิดจากฝนหนกั ต่อเน่ือง ทไ่ี หลลงสลู่ า น้า หรอื แม่น้ามีปรมิ าณมากจนระบายลงสู่ลุ่มน้าดา้ นล่างหรอื ออกสูป่ ากน้าไม่ทัน ทาให้เกดิ สภาวะน้า ล้นตล่ิงเข้าท่วมเรือกสวนไร่นาตามสองฝั่งน้า จนได้รับความเสียหาย ถนนหรือสะพานอาจชารุดทาง คมนาคมถูกตัดขาดได้ การปอ้ งกนั นา้ ทว่ ม 1. วิธีแรกไม่ต้องลดปริมาณน้าในแม่น้าแต่พยายามกันน้าออกจากพ้ืนที่ราบน้าท่วมถึง โดยการสร้างคันกั้นน้า (Levees) ด้วยการใช้ถุงทราย, คอนกรีตหรือวัสดุอ่ืนๆ ข้อควรระวัง คือ คนั กั้นน้าพัง เม่ือคนั ก้ันน้าพงั แล้วน้าจะไหลผ่านรอยแตก (Crevass) ในคันก้ันน้า ซึ่งจะทาให้น้าท่วม เลวร้ายกวา่ เดิม 2. ทาให้ระดับน้าลดต่าลงโดยขุดร่องน้าคู่ขนานลาน้า เมื่อน้าข้ึนในระยะน้าท่วม น้าจะผ่าน ไปทางน้าล้นไหลเข้าไปในร่องน้าที่ขนานกัน ลงสู่แหล่งน้าท่ีกักเก็บน้า หนองนา หรือลงสู่ทะเลสาบ ตอ่ ไป 3. พยายามลดปริมาณน้าไหลลงสู่แม่น้าหลังฝนตกหนัก โดยการสร้างเข่ือนกั้นต้นน้า และสาขาของแม่น้า แล้วเก็บน้าไหลล้นที่มากเกิน ลงสู่อ่างเก็บน้า และปลูกป่าทดแทนพืชธรรมชาติ ทม่ี นุษย์ทาลาย โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 7
ชุดท่ี 7 ภยั พิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค การลดความเสียหายจากอทุ กภยั 1. ติดตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาและประกาศเตือนภัยของศูนย์เตือนภัย พิบัติแห่งชาติ เมื่อศูนย์เตือนภัยพิบัตแิ ห่งชาตปิ ระกาศเตือนให้อพยพ ควรรีบอพยพไปอยู่ในท่ีสูงหรือ อาคารทม่ี ่ันคงแขง็ แรง ท้ังคนและสัตว์เลี้ยง เพราะการอยู่ท่ีราบ น้าป่าทหี่ ลากจากภเู ขาหรือท่ีราบสูง ลงมา กระแสน้ารุนแรงจะรวดเรว็ มาก 2. ควรสังเกตเม่ือมีฝนตกหนักติดต่อกันบนภูเขาหลายๆ วัน ให้เตรยี มตัวอพยพขนย้าย ส่งิ ของและสัตวเ์ ลีย้ งไว้ท่ีสูง 3. ถ้าอยู่ริมน้าให้เอาเรือหลบเข้าฝั่งไว้ในที่จะใช้งานได้ เม่ือเกิดน้าท่วม เพื่อการ คมนาคม 4. มีการวางแผนอพยพว่าจะไปอยู่ท่ีใด พบกันท่ีไหน เพราะเม่ือมีกระแสน้าหลาก จะทาลายวสั ดกุ ่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ตน้ ไม้ พชื ไร่ และระวงั กระแสนา้ พัดพาไป 5. อย่าขับรถยนต์ฝ่าลงไปในกระแสน้าหลาก แม้บนถนนก็ตาม อย่าลงเล่นน้า เพราะกระแสนา้ หลากอาจมีความรนุ แรง อาจทาใหเ้ กดิ อุบัติภัยอืน่ ๆ อีกได้ 6. หลังจากน้าท่วมจะมีขัง จะเกิดโรคระบาดในระบบทางเดินอาหารทั้งคนและสัตว์ ให้ระวังน้าบริโภค ควรสะอาด ตม้ สุกเสยี ก่อน ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิเม่ือเกดิ อทุ กภัย กอ่ นเกิดภยั ศึกษาวิธีเอาตัวรอดในสถานการณ์น้าท่วม และเตรียมอุปกรณ์ท่ีจาเป็นใน สถานการณ์น้าท่วม ได้แก่ น้าด่ืม ยารักษาโรค อาหารกระป๋อง วิทยุ ไฟฉายและ ถ่ายไฟฉาย เตรียมแผนฉุกเฉินในครอบครัว ควรเตรียมวางแผนอพยพจากบ้าน ที่ทางาน หรือ โรงเรียน ไปยังสถานที่อพยพหรือสถานที่ปลอดภัยจากน้าท่วม โดยกาหนดจุดนัด หมายไวล้ ว่ งหนา้ รว่ มกัน เคลื่อนย้ายเอกสาร สิ่งของสาคัญ ของมีค่า ไปไว้ในสถานท่ีปลอดภัย เพ่ือป้องกัน ความเสยี หายจากน้าทว่ ม พิจารณาการทาประกันภัยน้าท่วม เลือกประกันภัยที่ครอบคลุมความเสียหายจาก ภัยน้าทว่ ม เพอ่ื ปกป้องทรัพย์สินของทา่ น โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 8
ชุดที่ 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค ระหว่างเกิดภัย ออกจากพื้นทที่ ่อี าจเกิดนา้ ท่วมได้ เช่น ทีต่ า่ หบุ เขา อพยพไปยงั พ้นื ที่สงู หลีกเล่ียงพื้นท่ีท่ีมีน้าท่วมอยู่แล้ว โดยเฉพาะเมื่อมีน้าไหลเชี่ยว ไม่ข้ามแม่น้าลาธาร กระแสน้าไหลเรว็ สามารถทาให้เราล้มได้แม้จะมีความลึกแคร่ ะดับหน้าแข้งก็ตาม ไมข่ ับข่ียานพาหนะฝ่าลงไปในกระแสน้าหลาก น้าไหลเร็วและแรงความลึกแคร่ ะดับ ตน้ ขากส็ ามารถพัดพารถกระบะยกสงู ไปตามกระแสน้าได้ ไม่เข้าใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้าและสายไฟ ควรอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า ปล๊ักไฟ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆ อยา่ งน้อย 2 เมตร ตดิ ตามเหตกุ ารณ์อยา่ งใกล้ชดิ เช่น ติดตามคาเตือนเกีย่ วกบั ลกั ษณะอากาศจากกรม อุตุนยิ มวิทยา และประกาศเตอื นภัยจากศนู ย์เตือนภัยพบิ ัติแหง่ ชาติ หลังเกิดภัย ตรวจสอบความเสียหายและความปลอดภยั ของตัวบ้านก่อนที่จะกลับเข้าไปในบ้าน เชน่ ระบบไฟฟ้า ทอ่ ประปา แกซ๊ รวมถงึ สตั ว์มีพิษทีอ่ าจเขามาอาศยั ในบา้ น ทิ้งส่ิงของที่มีราข้ึน กาจัดสิ่งของที่เปียกในหัวข้อดังต่อไปนี้ทันทีที่กลับเข้าบ้าน ประกอบด้วย พรมเปยี ก เฟอนิเจอร์ ท่ีนอน และส่งิ ของที่เกบ็ ความชื้นทาใหเ้ กดิ เชื้อ ราไดภ้ ายใน 24 ถงึ 48 ชัว่ โมง พยายามทาให้บ้านแห้งสนิท เช่น ใช้เคร่ืองดูดความชื้น(ถ้ามี) ใช้เครื่องปรับอากาศ หรอื พัดลมช่วยลดความชืน้ ภายในหอ้ งหรือตัวอาคาร ทาความสะอาดและฆา่ เชื้อสง่ิ ของทุกอย่างที่ถูกนา้ ท่วม อาหารที่ถูกนา้ ท่วมให้นาไป ท้ิงทั้งหมด ห้ามนาไปรับประทาน ถ้าท่านใช้น้าประปาเพื่อการบริโภคให้นาไปต้ม กอ่ น (ในกรณีท่ปี ระกาศว่าน้าประปามกี ารปนเปื้อน) วางแผนก่อนซอ่ มแซมบ้าน ก่อนทคี่ ุณจะทาความสะอาดและซ่อมแซมบา้ น คุณควร ประเมินความเสียหาย โดยทาตามขั้นตอนดังนี้ก่อน ประกอบด้วย ตรวจสอบและ ถ่ายรูปบริเวณบ้านที่ได้รับความเสียหายจากน้าท่วม เรียกบริษัทประกันภัยและ เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเพ่ือประเมินความเสียหาย วางแผนการซ่อมแซมส่ิงใดจาเป็นต้อง ทากอ่ น-หลงั เพอื่ ประหยดั เวลาและคา่ ใช้จา่ ย โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 9
ชุดท่ี 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค อทุ กภัย (flood) 1) คาจากัดดวาม อุทกภัยเป็นภยั ท่ีเกิดจากนา้ ในลาน้า แอ่งนา้ ทะเลสาบ ไหลล้นตลิ่ง หรือน้าท่วมฉับพลันในพ้ืนที่หน่ึงเป็นระยะเวลาส้ันหรือเป็นคร้ังคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักหรอื หิมะ ละลาย สง่ ผลให้เกดิ ความเสยี หายต่อพื้นทีเ่ กษตร ชีวติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน 2) ประเภทของอทุ กภยั แบง่ ได้ ดังน้ี 2.1) น้าท่วมฉับพลันหรือน้าป่าไหลหลาก เกิดข้ึนเน่ืองจากฝนตกหนักในบริเวณตัน น้าท่ีมีความลาดชัน หรือในที่ลาดเชิงเขาท่ีมีเทือกเขาสูงชัน เม่ือฝนตกหนักบนภูเขา ดิน และต้นไม้ ไม่สามารถดูดซับน้าได้หมด ปริมาณน้าจานวนมากจึงไหลอย่างรวดเร็วลงสู่พื้นที่ต่ากว่าความรุนแรง และความเร็วของกระแสน้าทาให้เกดิ ความเสียหายต่อชีวติ และทรัพยส์ นิ 2.2) น้าท่วมขัง เกิดขน้ึ จากปรมิ าณน้าสะสมจานวนมากท่ีไหลบ่าในแนวระนาบจาก ทีส่ ูงไปยังท่ีต่าเข้าท่วมบ้านเรือน พน้ื ท่ีการเกษตรได้รบั ความเสียหาย หรือเกิดน้าทว่ มขังเน่อื งจากฝน ตกหนักต่อเนื่อง มวลน้าไม่สามารถระบายออกได้ทัน หรือมีสิ่งกีดขวางทางน้าไหลเช่น น้าท่วมขังใน เขตเมอื ง หรอื เกดิ นา้ ทะเลหนนุ สงู ในพื้นทีใ่ กลช้ ายฝ่ัง 2.3) น้าล้นตลิ่ง เกิดจากปริมาณน้าจานวนมากที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องท่ีไหล ลงสู่ลาน้า หรือแม่นา้ มปี รมิ าณมากจนระบายสูล่ ุม่ น้าดา้ นล่าง หรือออกสู่ทะเลไม่ทัน ทาให้เกิดสภาวะ นา้ ล้นตลง่ิ รปู ที่ 7.2 อทุ กภัยจากเข่ือนเซเบยี น - เซนา้ น้อย แตก ในประเทศลาว เม่อื เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 เนือ่ งจากเข่ือนทรดุ และมีฝนตกหนกั ต่อเนอ่ื ง ท่มี า : หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมิศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หน้า 198) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 10
ชุดท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค 3) สาเหตุการเกดิ อุทกภัย มีท้งั สาเหตุจากธรรมชาตแิ ละจากมนุษย์ ดงั นี้ 3.1) สาเหตจุ ากธรรมชาติ ท่สี าคญั ไดแ้ ก่ 1. ฝนตกหนักจากพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุที่เกิดติดต่อกันหลายชั่วโมงมี ปริมาณฝนตกหนัก ทาให้เกิดน้าท่วมในพื้นท่ตี า่ มักเกดิ ในช่วงต้นฤดฝู นหรือฤดูร้อน 2. ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน เมื่อพายุเคลื่อนขึ้นฝ่ังจะเกิดน้าท่วมเป็น บรเิ วณกวา้ ง รวมถึงทาใหเ้ กิดคลื่นพายซุ ดั ฝ่งั 3. อิทธิพลจากลมมรสุม เป็นการหมุนเวียนของลมที่พัดมาตามฤดู พัดเอา ความชนื้ จากมหาสมทุ รขนึ้ ส่ชู ายฝ่งั 4. น้าทะเลหนุน เมื่อน้าท่ีไหลลงมาตามแม่น้ามีปริมาณมาก หรือช่วงเวลาที่ ระดบั น้าทะเลหนุนสูงเกนิ กวา่ ปกติ ทาให้น้าไมอ่ าจไหลลงสทู่ ะเล ทาให้เกิดนา้ ลนั ตลิ่งหรอื นา้ ท่วมได้ 3.2) สาเหตจุ ากมนษุ ย์ ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ 1. การตดั ไม้ทาลายป่า เม่อื ฝนตกหนักจะทาให้นา้ ไหลเร็วและแรงจนก่อให้เกดิ น้า ท่วมฉบั พลัน หรอื นา้ ท่วมเฉพาะพื้นท่ี และเป็นสาเหตุของดินถลม่ ดว้ ย 2. การขยายเขตเมอื งรุกล้าพ้นื ท่ีล่มุ ต่า ทาให้ไมม่ ีพ้นื ทีร่ ับนา้ 3. การสร้างส่ิงก่อสร้างกดี ขวางทางน้าและมีระบบการระบายน้าไมเ่ พียงพอทาให้ นา้ ระบายไดช้ ้า เอ่อลัน และเกดิ ปัญหานา้ ท่วม 4. การจัดการน้าทขี่ าดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะพน้ื ที่ทา้ ยเขอ่ื นหรอื อา่ งเก็บนา้ 4) การกระจายการเกดิ อุทกภัยของโลก รูปท่ี 7.2 แผนทแี่ สดงพืน้ ทเี่ ส่ยี งการเกิดอุทกภัยของโลก ทม่ี า : หนังสือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 198) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 11
ชุดท่ี 7 ภยั พิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค จากแผนที่ อุทกภัยมักเกิดขึ้นในพื้นที่บริเวณท่ีราบลุ่มแม่น้าและที่ราบใกล้ชายฝั่งซ่ึงเป็น พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยมากท่ีสุด แต่ในพ้ืนท่ีอื่น ๆ ก็มีโอกาสเกิดอุทกภัยได้เช่นกันโดยเฉพาะ อย่างย่ิงถ้าพื้นท่ีดังกล่าวฝนตกหนักต่อเน่ืองเป็นเวลานาน ประเทศบังกลาเทศมีแนวโน้มที่มีความ เสย่ี งต่อการถูกน้าท่วมมากทีส่ ุดในโลก เนื่องจากพ้นื ทส่ี ่วนใหญข่ องประเทศเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า ท้ังยัง ตงั้ อยูร่ ะหว่างเชงิ เขาหมิ าลยั และมหาสมทุ รอินเดีย และเผชิญกับฤดูมรสมุ ท่ียาวนานเป็นสาเหตสุ าคัญ ของการเกดิ ฝนตกหนัก นอกจากนี้ บริเวณพื้นที่ชายฝ่ังด้านตะวันออกทั้งหมดของภาคพ้ืนทวีปจะเส่ียงต่อการเกิด อทุ กภัยมากกว่าพื้นที่ชายฝ่ังดา้ นตะวนั ตก เพราะพายุหมนุ เขตรอ้ นท้ังหมดจะเคลื่อนตัวในมหาสมุทร จากทางตะวันออกไปทางตะวันตก ทาให้พ้ืนที่ฝั่งตะวันออกได้รับแรงปะทะมากกว่าบริเวณเชิงเขา ของเทือกเขาใหญ่ทกุ แห่งเปน็ พน้ื ที่เสย่ี งต่อการเกิดอุทกภยั เชน่ กนั แผนท่ีแสดงพนื้ ท่ปี ระสบอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ.2554 รูปท่ี 7.3 แผนทแี่ สดงพื้นท่ีเสยี่ งการเกิดอุทกภยั ของโลก ที่มา : หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 200) โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 12
ชุดที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค ประเทศไทยมีพื้นท่ีเส่ียงอุทกภัยเกือบทั่วประเทศ ระดับความรุนแรงและความเสียหาย แตกต่างกันไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาคเหนือตอนบนมีสภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงสลับ ท่ีราบ ทาให้ประสบภัยน้าท่วมฉับพลันภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเป็นที่ราบลุ่มอุทกภัยจะ เกดิ จากน้าท่วมขังและนา้ ล้นตลิ่งภาคกลางพ้ืนทสี่ ่วนใหญเ่ ป็นท่ีราบลมุ่ แม่น้าอุทกภยั ท่ีเกิดขึ้นเกิดจาก น้าท่วมขัง น้าเหนือไหลบ่า น้าทะเลหนุน ส่วนภาคใต้มีทะเลขนาบท้ังสองฝ่ัง ได้รับอิทธิพลจากลม มรสุมและพายุหมุนเขตร้อน ทั้งยังมีภูเขาสูงวางตัวแนวเหนือ - ใต้ ทาให้ภาคใต้ประสบอุทกภัยจาก ฝนตกหนัก นา้ ทะเลหนนุ สงู และน้าทว่ มฉับพลันจากฝนทต่ี กบริเวณทล่ี าดเชงิ เขาและทีล่ ุ่มชายฝ่ัง 5) ภัยต่าง ๆ ท่เี กิดจากอุทกภยั รนุ แรง มดี งั น้ี 1. น้าป่าไหลหลาก ทาให้บ้านเรอื น ส่ิงปลูกสรา้ งถูกน้าทาลาย รวมท้ังเกิดการสูญเสีย ชวี ิตและผู้คนไดร้ บั บาดเจบ็ 2. เกดิ แผ่นดินถลม่ ในพื้นท่ีทม่ี ีความลาดชันมาก เมื่อฝนตกหนักดินที่มีความช้ืนสูงจะ เล่ือนไหลไปตามความลาดชัน ต้นไม้ เศษหินจะเลื่อนตามไปด้วย หมู่บ้าน สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ และพ้นื ท่ที างการเกษตรได้รับความเสยี หาย 3. ภัยจากไฟฟ้าดูดหรือไฟฟ้าร่ัว ภัยจากไฟฟ้าดูดในช่วงน้าท่วมเป็นอันตรายใกล้ตัว มักเกิดขึ้นในที่พักอาศัยของประชาชน โดยเฉพาะอาคารช้ันเดียวมีความเสี่ยงน้าท่วมปลั๊กไฟได้ง่าย ทาใหไ้ ฟฟา้ ร่วั ไหลเป็นอนั ตรายตอ่ ชวี ติ 4. ภัยจากสัตว์ร้าย เม่ือเกิดภาวะน้าท่วม สัตว์จะหนีน้าเข้ามาอยู่อาศัยตามบ้านเรือน รวมถึงสตั วม์ ีพิษทเ่ี ปน็ อนั ตรายต่อชีวิตมนุษย์ เช่น จระเข้ งู ตะขาบ แมงป่อง 5. มลพิษทางน้า จากน้าเน่าเสียที่เกิดจากการขังของน้าในบ้านเรือนหรือชุมชนเป็น เวลานาน อาจทาให้เกดิ การระบาดของโรคทม่ี ากบั น้า เชน่ น้ากัดเท้า อหิวาตกโรค 6. ความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากระหว่างเกิดอุทกภัย ระบบการส่ือสาร และสาธารณูปโภคต่าง ๆ ได้รับความเสียหาย เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด อาคารบ้านเรือน และสง่ิ ก่อสรา้ งตา่ ง ๆ ถูกนา้ พดั ทาลาย โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 13
ชดุ ที่ 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค รปู ที่ 7.4 อทุ กภัยนอกจากจะสรา้ งความเสียหายใหแ้ กอ่ าคารบ้านเรอื นและเรือกสวนไรน่ าแลว้ ยงั สง่ ผลใหเ้ กดิ มลพิษทางนา้ และอาจก่อให้เกิดการกดั เซาะพังทลายของดนิ ตามมา ทีม่ า : หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 201) 6) เหตกุ ารณ์อทุ กภยั รนุ แรง ครง้ั สาคญั เชน่ รูปที่ 7.5 ที่มา : หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ศิ าสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 202) โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 14
ชดุ ท่ี 7 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค รปู ท่ี 7.6 ท่มี า : หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 202) 7) การจดั การภยั พบิ ตั ิอุทกภัย มดี งั น้ี 7.1) มาตรการ การจัดการภัยน้าทว่ มแบง่ เป็น 2 มาตรการ ไดแ้ ก่ 1. มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น กรสร้างเขื่อนและพนังก้ันน้า เพ่ือจากัดการไหล ของน้าขณะเกิดน้าท่วม และป้องกันพ้ืนที่บางสว่ นในลุ่มน้าไม่ให้เกิดความเสียหาย เข่ือนและพนังกั้น นา้ จะป้องกันพื้นท่ีเฉพาะบริเวณหลังคันกั้นน้าและในระดับความสูงที่ได้ออกแบบไว้เท่านั้น ข้อดีของ การสร้างเขื่อนและพนังก้ันน้า คือ สามารถเลือกพ้ืนท่ีในการป้องกันได้โดยอาจป้องกันเฉพาะท่ี เช่น การสรา้ งพนังก้ันบริเวณที่แม่น้าไหลผ่านตัวเมือง หรือการสรา้ งเขือ่ นในการควบคุมการไหลของนา้ ใน พ้ืนที่ขนาดใหญ่ การก่อสรา้ งดังกล่าวต้องคานึงถึงความปลอดภัยเปน็ สาคัญ การปรับปรุงสภาพลาน้า เช่น การปรับสภาพลาน้าให้มีลักษณะตรงและกว้าง การขุดลอกดูคลองและกาจัดวัชพืช เพื่อช่วยลด ระดับของน้าหากเกิดน้าท่วม สร้างเส้นทางน้าอ้อมเมือง เช่น การสร้างอ่างเก็บน้าที่มีลักษณะกว้าง และต้ืน สาหรับผันน้ามาเก็บไว้เมื่อเกิดน้าท่วมในเขตชุมชนเป็นการลดปริมาณการไหลของน้าสาย หลักและเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการระบายน้า โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 15
ชดุ ท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค 2. มาตรการไม่ใช่ส่ิงก่อสร้าง เช่น การปรับปรุงการใช้ท่ีดิน เป็นการปรับรูปแบบ การใช้ที่ดินใหร้ องรบั เหตุการณ์น้าทว่ มท่ีจะเกดิ ขึน้ การจดั การการใช้ที่ดนิ ประกอบไปด้วยการครบคุม ผังเมืองและการควบคุมส่ิงปลูกสร้าง การเวนคืนที่ดิน จะส่งผลดีในระยะยาวกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม การปรับปรุงพ้ืนที่เพอ่ื ใช้เป็นแหลง่ กักเกบ็ น้า 7.2) วธิ ปี ้องกนั ทส่ี าคัญ เชน่ 1. การพยากรณ์และเตือนภัยน้าท่วม เป็นการประมาณลาดับข้ันตอนการเกิด น้าท่วม ปริมาณน้า ช่วงเวลาการเกิดและไหลสูงสุด ส่วนการเดือนภัยน้าท่วมเป็นการประกาศเตือน ภัยล่วงหน้า เพื่อให้มีเวลาในการเตรียมตัวรับมือน้าท่วมได้ แผนปฏิบัติหลังการเดือนภัยจะเกี่ยวข้อง กับการวางแผนอพยพ การเตือนภัยที่ดีต้องมีระยะเวลาเพียงพอให้ประชาชนสามารถรับมือได้ทัน และระบบเตอื นภัยต้องมีความนา่ เชือ่ ถือ 2. ให้ความรู้และข้อมูลแก่ประชาชน การให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นส่ิงจาเป็น ขอ้ มูลตอ้ งเข้าใจงา่ ย เข้าถึงง่าย รวดเร็ว และมีคุณภาพ ขอ้ มูลสาคัญที่เก่ยี วขอ้ งกับน้าท่วม เช่น ขอ้ มูล น้าท่วมท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ่ท่ีเคยเกิดในพ้ืนที่ ข้อมูลน้าท่วมประจาปีและข้อมูลทรัพยากร ต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีลุ่มน้าและภูมิภาคใกล้เคียงที่ส่งผลกระทบถึงกันได้ จากข้อมูลดังกล่าวสามารถนามา จดั ทาเอกสารเผยแพร่ให้กับประชาชนได้ เช่น การจัดทาหนงั สอื คู่มอื เตรียมรบั สถานการณ์นา้ ทว่ มแก่ ประชาชน ซง่ึ จะเป็นอีกวธิ ีการหน่งึ ในการช่วยบรรเทาความเสียหายจากนา้ ทว่ มไดด้ ี 3. ไม่บุกรุกทาลายป่าไม้ เพราะเมื่อไมม่ ีป้าไม้ทาให้ขาดพ้ืนท่ีดูดซบั และชะลอการ ไหลของน้า น้าจึงไหลลงสู่แม่น้าลาห้วยได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งอนุรักษ์พื้นท่ีตันน้าโดยการใช้ ดูแลรกั ษา และฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติในบริเวณพื้นทด่ี นั นา้ อย่างเหมาะสม โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 16
ชดุ ที่ 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 7.3) การปฏิบตั ติ น ทาได้ ดังนี้ รปู ที่ 7.7 ที่มา : หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 202) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 17
ชุดที่ 7 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค บัตรกิจกรรมที่ 7.1 แผนผงั มโนทัศน์ เร่อื ง ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางอุทกภาค คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. อะไรเปน็ สาเหตุของอุทกภัยในประเทศไทย …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ลกั ษณะของอุทกภยั เกดิ ได้อย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 18
ชุดที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 3. เมือ่ เกิดอุทกภยั อนั ตรายและความเสียหายท่เี กดิ ขึน้ มีอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธปี ฏิบตั ิในการป้องกันตนเองและบรรเทาจากอุทกภยั กระทาได้อย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 19
ชดุ ท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค บตั รกิจกรรมที่ 7.2 เร่อื ง การปฏิบตั ิตนเมอ่ื เกดิ ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 1. ให้นกั เรยี นสบื ค้นขา่ วท่ีเก่ียวกบั ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางอทุ กภาคทเ่ี กิดขึน้ ในประเทศไทย แลว้ ตอบคาถามในประเดน็ ต่อไปน้ี แหล่งท่มี าของขา่ ว ………………………………………….………. ขา่ วน้ี คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………… 1. ลักษณะทางกายภาพมีผลต่อการเกดิ ภยั พิบตั ิตามข่าวอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ภัยพิบัติท่ีเกดิ ข้ึนสง่ ผลกระทบอยา่ งไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เราสามารถปอ้ งกนั ตนเองและระวงั ภัยจากภยั พบิ ตั ินี้ได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 20
ชุดที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 2. ให้นักเรยี นเขียนแผนภาพการปฏบิ ัตติ นเมื่อเกิดตภัยพิบัติธรรมชาตทิ างอทุ กภาค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 21
ชดุ ที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค บตั รกิจกรรมท่ี 7.3 แผนผงั มโนทศั น์ เรื่อง ภยั พิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ท่ีเกี่ยวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค” เป็นแผนผัง มโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 22
ชุดท่ี 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค แบบทดสอบหลังเรยี น เรอื่ ง ภัยพิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ฯ รายวิชาสงั คมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร)์ รหัสวิชา ส33101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องท่ีสุด แล้วเขียนเครือ่ งหมาย ลงในกระดาษคาตอบ 1. อุทกภยั ประเภทใดที่เป็นสาเหตทุ าให้เกดิ โรคระบาดในพน้ื ท่มี ากที่สุด ก. นา้ ทว่ มขงั ข. น้าล้นตลิ่ง ค. นา้ ท่วมฉับพลนั ง. น้าปา่ ไหลหลาก 2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศแบบใดเสีย่ งต่อการเกิดนา้ ปา่ ไหลหลากและนา้ ท่วมฉับพลนั ก. เนินเขา ข. ภูเขาสงู ค. ต้นนา้ ลาธาร ง. ที่ราบระหว่างภูเขา 3. “อุทกภยั ” มคี วามหมายตรงตามข้อใด ก. สึนามิ ข. น้าทว่ ม ค. พายหุ มุนเขตร้อน ง. นา้ ปา่ ไหลหลาก 4. “อุทกภยั ” เกิดจากสาเหตุใด ก. เกดิ จากการขาดแคลนนา้ ข. เกดิ จากลมพดั อยา่ งรนุ แรง ค. เกิดจากฝนตกหนักเปน็ เวลานานอย่างต่อเนอื่ ง ง. เกดิ จากคลื่นทะเลขนาดใหญเ่ คลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 23
ชดุ ท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 5. โครงการใดไมเ่ ก่ยี วกบั การป้องกันอุทกภัย ก. โครงการแกลง้ ดิน ข. โครงการแก้มลงิ ค. โครงการหญ้าแฝก ง. โครงการสรา้ งเข่อื น 6. สาเหตขุ องการเกดิ แผ่นดินถล่มมีหลายประการ ยกเว้น ก. มักเกิดในฤดูฝน ข. การตดั ไม้ทาลายป่า ค. การสร้างอาคารไมแ่ ข็งแรง ง. เกิดจากการเคล่อื นตวั ของชัน้ ดิน 7. สาเหตสุ าคญั ที่ทาใหเ้ กิดมหาอทุ กภัย 2554 ในประเทศไทย คืออะไร ก. คคู ลองต้นื เขิน ข. ฝนตกหนักมากกวา่ ปกติ ค. น้าทะเลหนนุ มากกว่าปกติ ง. แผนการใชท้ ่ดี ินไม่มปี ระสิทธภิ าพ 8. จากข้อ 7. เกย่ี วข้องกับปรากฏการณ์ใด ก. สึนามิ ข. ลานีญา ค. เอลนีโญ ง. พายุหมุนเขตร้อน 9. ข้อใดไม่ใช่พายุหมุนท่ีมีความรุนแรงแบบเดียวกัน แต่มีชื่อเรียกแตกต่างกันตามแหล่งที่ กาเนดิ ก. ไต้ฝนุ่ ข. โซนรอ้ น ค. ไซโคลน ง. เฮอรเิ คน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 24
ชุดที่ 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 10. เม่อื เกดิ ฝนฟ้าคะนอง ควรปฏิบตั ิอย่างไร ก. อยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ ข. อยู่ในทโี่ ลง่ แจง้ ค. อยู่แตใ่ นบา้ น ง. อยู่ใกลเ้ สาสูง โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 25
ชุดที่ 7 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ชุดท่ี 7 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลงั เรยี น ง ข้อ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 26
ชุดที่ 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค บรรณานกุ รม กรมทรัพยากรธรณี. 2544. ธรณวี ทิ ยาประเทศไทยเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. (พิมพค์ ร้งั ที่ 1). กรงุ เทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี. กรมทรัพยากรธรณี. 2550. ธรณวี ิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพด์ อกเบีย้ . คณะกรรมการวิชาสิ่งแวดลอ้ ม เทคโนโลยแี ละชีวติ ศนู ย์วิชาบรู ณาการ หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2549. สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยแี ละชีวติ . กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาเกษตรศาสตร์. ภาควิชาปฐพวี ิทยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 2548. ปฐพวี ิทยาเบอ้ื งต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. 2535. ภูมศิ าสตรเ์ ศรษฐกิจ. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. ชชั พล ทรงสุนทรวงศ.์ 2546. มนุษย์กบั สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ดาภา ไชยพรธรรม. 2537. สึนามิแผ่นดนิ ไหวภยั ใกลต้ ัว. กรุงเทพมหานคร : ยูโรปา เพรส. เทพพรรณี เสตสุบรรณ. (ม.ป.ป. ). ภยั พบิ ัตจิ ากธรรมชาติในเขตรอ้ น. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์. นิวตั ิ เรืองพานชิ . 2528. การอนุรกั ษท์ รพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพมหานคร : เฉลมิ ชาญ การพิมพ์. ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และศุภฤกษ์ ตนั ศรีรัตนวงศ.์ 2549. คมู่ ือเตอื นภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : ดอกหญา้ กรุป๊ . ระวิวรรณ ตงั้ ตรงขนั ติ, พรวมิ ล สวา่ งชม และภาณุภทั ร วงศ์วรปญั ญา. 2564. แบบฝึกสมรรถนะ การคิด เนน้ Geo-Literacy ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6. (พิมพ์คร้งั ที่ 1) กรงุ เทพฯ : ไทยรม่ เกล้า, บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2558. พจนานกุ รมศพั ทธ์ รณวี ิทยา A-M. (พิมพ์คร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานเุ บกษา. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2558. พจนานกุ รมศพั ทธ์ รณีวทิ ยา N-Z. (พิมพค์ รั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพค์ ณะรัฐมนตรแี ละราชกิจจานเุ บกษา. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 27
ชุดท่ี 7 ภยั พิบตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2551. หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 8). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2554. หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2561. หนังสอื เรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พมิ พ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. อภสิ ทิ ธิ์ เอี่ยมหน่อ และคณะ. 2564. หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 8) กรงุ เทพฯ : ไทยร่มเกล้า, บริษัทอักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด http://earth.google.co.th http://maps.google.co.th http://ndwc.disaster.go.th/cmsdetail.ndwc http://www.dmr.go.th https://www.tmd.go.th http://www.ndwc.go.th https://www.thairath.co.th โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 28
ชุดท่ี 7 ภัยพบิ ัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค ภาคผนวก โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 29
ชุดที่ 7 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 7.1 แผนผังมโนทศั น์ เรอื่ ง ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาค คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. อะไรเป็นสาเหตขุ องอุทกภัยในประเทศไทย …แ…น…วค…า…ต…อ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………อุท…ก…ภ…ัย…คื…อ…ภ…ัยแ…ล…ะ…อ…นั ต…ร…า…ยท…ี่เ…ก…ดิ จ…า…ก…สภ…า…ว…ะน…้า…ท…่วม…ห…ร…อื …น…า้ ท…่ว…ม…ฉบั…พ…ล…นั …ม…ีส…า…เห…ต…ุม…า……… …จ…าก…ก…า…รเ…กดิ…ฝ…น…ต…ก…หน…ัก…ห…ร…ือฝ…น…ต…อ่ …เน…อื่ …งเ…ป…น็ …เว…ล…าน…า…น…เ…นื่อ…ง…ม…าจ…า…ก……………………………………………… ………………1.…1 …ห…ย่อ…ม…ค…ว…าม…ก…ด…อ…าก…า…ศ…ตา่ ……………………………………………………………………………………… ………………1.…2…พ…าย…ุห…ม…นุ …เข…ต…ร…้อน……ได…้แ…ก…่ พ…า…ยุด…เี …ป…รส…ช…่ัน…, พ…า…ย…โุ ซ…น…ร…อ้ …น,…พ…า…ย…ุใต…้ฝ…ุ่น…………………………… ………………1.…3…รอ่…ง…ม…รส…มุ …ห…ร…ือร…่อ…ง…คว…า…ม…กด…อ…า…กา…ศ…ต…่า…………………………………………………………………… ………………1.…4…ล…มม…ร…ส…ุม…ตะ…ว…นั …ต…กเ…ฉ…ียง…ใต…้ …………………………………………………………………………………… ………………1.…5…ล…มม…ร…ส…มุ …ตะ…ว…ัน…อ…อก…เ…ฉีย…ง…เห…น…อื ……………………………………………………………………………… ………………1.…6…เข…อื่ …น…พ…ัง …………………………………………………………………………………………………………… 2. ลกั ษณะของอุทกภัยเกิดได้อยา่ งไรบ้าง …แ…น…วค…า…ต…อ…บ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………ลัก…ษ…ณ…ะ…ข…อ…งอ…ทุ …ก…ภ…ัยม…คี …ว…าม…ร…นุ …แร…ง…ม…ลี …กั …ษ…ณ…ะด…ัง…น…ี้ …………………………………………………………… ………………2.…1…น…้าป…่า…ไ…หล…ห…ล…า…ก…ห…ร…ือน…้า…ท…่ว…มฉ…ับ…พ…ล…ัน…ม…ัก…จ…ะ…เก…ิด…ขึ้น…ใ…น…ท…ี่รา…บ…ต…่าห…ร…ือ…ท…ี่ร…าบ…ล…ุ่ม…บ…ริเ…ว…ณ…ใก…ล…้ …ภ…ูเข…า…ต…้น…น้…า …เก…ิด…ข…้ึน…เน…ื่อ…ง…จา…ก…ฝ…น…ตก…ห…น…ัก…เห…น…ือ…ภ…ูเ…ขา…ต…่อ…เน…่ือ…ง…เป…็น…เว…ล…า…น…าน……ท…าใ…ห…้จ…าน…ว…น…น…้า…ส…ะส…ม…ม…ี …ป…ริ…มา…ณ…ม…า…ก…จน…พ…้ืน…ด…ิน…แ…ล…ะ…ต…้น…ไม…้ด…ูด…ซับ…ไ…ม…่ไห…ว…ไ…หล…บ…่า…ล…งส…ู่ท…่ีร…าบ…ต…่า…เ…บ…้ือ…งล…่า…งอ…ย…่า…งร…ว…ด…เร…็ว…ม…ีอ…าน…า…จ… …ท…าล…า…ย…ร้า…ง…รนุ…แ…ร…งร…ะ…ดบั…ห…น…ึ่ง…ท…ท่ี …า…ให…บ้ …้า…นเ…ร…อื น…พ…งั …ท…ลา…ย…เส…ยี …ห…าย……แ…ละ…อ…า…จท…า…ให…้เ…กิด…อ…ัน…ต…รา…ย…ถ…ึงช…วี …ติ …ได…้ … ………………2.…2…น…้าท…่ว…ม……หร…ือ…น…้า…ท่ว…ม…ข…ัง…เป…็น…ล…ัก…ษ…ณ…ะ…ข…อ…งอ…ุท…ก…ภ…ัยท…ี่เ…ก…ิด…ขึ้น…จ…า…ก…ปร…ิม…า…ณ…น…้า…สะ…ส…ม…จ…าน…ว…น… …ม…าก……ท…ี่ไห…ล…บ…่าใ…น…แ…น…วร…ะ…น…าบ……จ…าก…ท…่ีส…ูงไ…ป…ย…ังท…่ีต…่า…เข…้า…ท…่วม…อ…า…ค…าร…บ…้าน…เ…รื…อน……เร…ือ…ก…สว…น…ไร…่น…า…ได…้ร…ับ…ค…วา…ม… …เส…ีย…ห…า…ย…ห…ร…ือ…เป…็น…ส…ภ…า…พ…น้า…ท…่ว…ม…ข…ัง …ใน…เ…ข…ต…เม…ือ…งใ…ห…ญ…่ท…ี่เก…ิด…จ…า…ก…ฝ…นต…ก…ห…น…ัก…ต…่อ…เ…น…ื่อง…เ…ป…็น…เว…ล…าน…า…น… …ม…สี …าเ…ห…ตุม…า…จ…าก…ร…ะ…บบ…ก…า…ร…ระ…บ…า…ยน…้า…ไม…่ด…พี …อ…ม…ีส…่ิงก…่อ…ส…ร…้าง…ก…ดี …ขว…า…งท…า…ง…ระ…บ…า…ยน…้า…ห…ร…ือ…เก…ิด…น…้าท…ะ…เล…ห…น…ุน… …ส…งู ก…ร…ณ…พี …้ืน…ท…ี่อย…ใู่ …กล…ช้ …า…ย…ฝ่งั…ท…ะ…เล…………………………………………………………………………………………………… ………………2.…3…น…้าล…้น…ต…ล…ิ่ง…เก…ิด…ข…ึ้น…จา…ก…ป…ริม…า…ณ…น…้า…จา…น…ว…น…ม…าก…ท…่ีเก…ิด…จ…าก…ฝ…น…ห…น…ัก…ต่อ…เ…น่ื…อง…ท…ี่ไ…ห…ล…ลง…ส…ู่ล…าน…้า… …ห…รือ…แ…ม…่น…า้ ม…ปี …ร…ิม…าณ……มา…ก…จ…นร…ะ…บ…าย…ล…ง…สลู่…ุ่ม…น…้า…ด…้าน…ล…า่ …ง …ห…รอื …อ…อ…กส…ปู่ …า…ก…น้า…ไ…ม…่ทัน……ท…าใ…ห…้เก…ิด…ส…ภ…าว…ะ…น…้าล…้น… …ต…ล…่ิงเ…ข้า…ท…่ว…ม…เร…ือ…กส…ว…น…ไ…ร…่นา……แล…ะ…บ…้า…นเ…ร…ือน…ต…า…ม…ส…อง…ฝ…ั่งน…้า……จน…ไ…ด…้รับ…ค…ว…าม…เ…สี…ยห…า…ย…ถ…น…น…ห…ร…ือ…ส…ะพ…า…น… …อ…าจ…ช…า…รุด……ทา…ง…คม…น…า…ค…มถ…ูก…ต…ดั …ข…าด…ได…้ …………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 30
ชุดท่ี 7 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค 3. เมื่อเกิดอทุ กภัยอันตรายและความเสยี หายทเ่ี กดิ ข้นึ มอี ะไรบา้ ง …แ…น…วค…า…ต…อ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………สา…ม…า…รถ…แ…บ…ง่ อ…ัน…ต…รา…ย…แ…ละ…ค…ว…าม…เ…สยี…ห…า…ย…ที่เ…ก…ดิ จ…า…ก…อ…ุทก…ภ…ัย…ด…งั น…ี้ ……………………………………… ………………3.…1…น…า้ ท…่ว…ม…อ…าค…า…ร…บ้า…น…เร…อื …น…ส…่ิง…ก…่อส…ร…้าง…แ…ล…ะส…า…ธ…าร…ณ…ส…ถ…าน……ซ…่ึงจ…ะ…ท…าใ…ห…้เก…ดิ …ค…วา…ม…เส…ีย…ห…าย… …ท…า…งเ…ศร…ษ…ฐ…ก…ิจอ…ย…่า…งม…า…ก…บ…้า…น…เร…ือ…น…ห…รือ…อ…า…คา…ร…ส…ิ่งก…่อ…ส…ร้…าง…ท…ี่ไม…่แ…ข…็งแ…ร…ง…จะ…ถ…ูก…ก…ระ…แ…ส…น…้าท…ี่ไ…ก…ลเ…ช…่ียว… …พ…ังท…ล…า…ย…ได…้ ค…น…แ…ล…ะส…ตั …ว…์พ…าห…น…ะ…แ…ละ…ส…ัต…วเ์…ล…้ียง…อ…าจ…ไ…ด…้รับ…อ…ัน…ต…รา…ย…ถ…ึงช…ีว…ติ จ…า…ก…กา…ร…จ…มน…้า…ต…าย……………… ………………3.…2…เส…้น…ท…า…งค…ม…น…าค…ม…แ…ล…ะก…า…ร…ขน…ส…่ง…อ…า…จจ…ะ…ถ…กู …ตัด…เ…ป…็นช…ว่ …ง…ๆ…โ…ด…ยค…ว…า…ม…แร…ง…ขอ…ง…ก…ระ…แ…ส…น…้า …ถ…น…น…แ…ล…ะส…ะ…พ…า…น…อา…จ…จ…ะถ…ูก…ก…ร…ะแ…ส…น…้า…พัด…ใ…ห…้พ…ังท…ล…า…ย…ได…้ ส…ิน…ค…้า…พ…ัสด…ุอ…ย…ู่ร…ะห…ว…่า…งก…า…ร…ขน…ส…่ง…จะ…ไ…ด…้รับ… …ค…วา…ม…เส…ีย…ห…าย…ม…า…ก………………………………………………………………………………………………………………… ………………3.…3…ร…ะบ…บ…ส…า…ธา…ร…ณ…ูป…โภ…ค…จ…ะ…ได…้ร…บั …คว…า…ม…เส…ีย…ห…าย…เ…ช…่น…โ…ทร…ศ…ัพ…ท…์ โ…ท…รเ…ลข……ไฟ…ฟ…า้ …แ…ล…ะป…ร…ะ…ป…า …ฯ…ล…ฯ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………3.…4…พ…ืน้ …ท…ี่กา…ร…เก…ษ…ต…รแ…ล…ะ…ก…าร…ป…ศ…ุสั…ตว…จ์ …ะ…ได…้ร…ับค…ว…า…ม…เส…ีย…หา…ย…เ…ช…่น…พ…ืช…ผ…ล…ไร…่น…า…ท…ุก…ป…ระ…ก…า…ร …ท…่ีก…าล…ัง…ผ…ลิด…อ…ก…อ…อ…กผ…ล……อา…จ…ถ…ูก…น้า…ท…่ว…ม…ตา…ย…ไ…ด้ …ส…ัต…ว์พ…า…ห…น…ะ…ว…ัว …ค…วา…ย…ส…ัต…ว…์เล…ี้ย…ง…ต…ล…อ…ดจ…น…ผ…ล…ผ…ลิต… …ท…ี่เก…บ็ …ก…ัก…ตุน……ห…รอื …ม…ีไว…เ้ …พ่ือ…ท…า…พ…ัน…ธจ์ุ…ะ…ได…ร้ …ับ…ค…วา…ม…เส…ีย…ห…าย……คว…า…ม…เส…ีย…ห…าย…ท…า…งอ…้อ…ม…จ…ะ…ส่ง…ผ…ล…กร…ะ…ท…บ…ต่อ… …เศ…ร…ษ…ฐก…จิ …โ…ดย…ท…ัว่ …ไป……เก…ิด…โร…ค…ระ…บ…า…ด…ส…ุขภ…า…พ…จ…ิตเ…ส…อ่ื …ม…แ…ละ…ส…ญู …เส…ยี …ค…ว…าม…ป…ล…อ…ดภ…ยั …เป…็น…ต…น้ ………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วิธปี ฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกันตนเองและบรรเทาจากอุทกภยั กระทาได้อย่างไรบ้าง …แ…น…วค…า…ต…อ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………4.…1…ก…า…รว…า…ง…แผ…น…ก…า…ร…ใช…้ท…ี่ด…ิน…อ…ย…่าง…ม…ีป…ร…ะ…สิท…ธ…ิ์ภ…า…พ…ค…ว…ร…ก…า…ห…นด…ผ…ัง…เม…ือ…ง…เ…พ…่ือ…ร…อง…ร…ับ…ก…า…ร …เจ…ร…ิญ…เ…ติบ…โ…ต…ข…อง…ต…ัว…เม…ือ…ง…ไ…ม่ใ…ห…้ก…ีด…ขว…า…งท…า…ง…ไห…ล…ข…อ…งน…้า……กา…ห…น…ด…ก…าร…ใ…ช้ท…่ีด…ิน…บ…ร…ิเว…ณ…พ…ื้น…ท…ี่น…้า…ท…่วม… …ให…้เ…ป…็น…พืน้…ท…่รี …า…บล…ุม่ …ร…บั …น้า……เพ…่อื …เป…็น…ก…าร…ห…น…่ว…งห…ร…ือ…ชะ…ล…อ…กา…ร…เก…ิด…น…า้ ท…่ว…ม………………………………………… …………4.…2…ก…า…รอ…อ…ก…แ…บ…บส…ิ่ง…ก…่อ…ส…ร้า…ง…อา…ค…า…รต…่า…ง…ๆ…ใ…ห…้ม…ีค…วา…ม…ส…ูงเ…ห…น…ือ…ระ…ด…ับ…ท…่ีน…้าเ…ค…ย…ท…่วม…แ…ล…้ว…เ…ช่น… …บ…า้ น…เ…รอื…น…ท…ีย่ …ก…พ…ืน้ ส…งู …แ…บบ…ไ…ท…ย…ๆ…เ…ป…็น…ตน้…………………………………………………………………………………… …………4.…3…ก…า…รเ…ค…ล่ือ…น…ย…้า…ยว…ัส…ด…ุจ…าก…ท…่ีท…ี่จ…ะ…ได…้ร…ับ…คว…า…ม…เส…ีย…ห…าย…อ…ัน…เน…ื่อ…ง…ม…าจ…า…ก…น…้าท…่ว…ม…ใ…ห…้ไป…อ…ย…ู่ใน…ท…ี่ …ป…ล…อด…ภ…ยั …ห…รอื…ใ…น…ท…่ีสูง……………………………………………………………………………………………………………… …………4.…4…ก…าร…น…า…ถงุ…ท…ร…าย…ม…า…ทา…เ…ขอื่…น…เ…พ…ื่อ…ป…อ้ ง…ก…นั …น…า้ ท…ว่ …ม…………………………………………………………… …………4.…5…ก…า…รพ…ย…า…ก…รณ…์แ…ล…ะ…ก…าร…เต…ร…ีย…ม…ภ…ัยน…้า…ท…่ว…ม…เพ…ื่อ…ใ…ห…้ป…ระ…ช…า…ชน…ร…ับ…ท…ร…าบ…ล…่ว…งห…น…้า…เ…พ…่ือ…เต…ร…ียม… …ป…้อ…งก…ัน………………………………………………………………………………………………………………………………… …………4.…6…ก…า…รส…ร…้า…งเ…ขื่…อน……ฝ…าย……ท…าน…บ……แ…ละ…ถ…น…น…เ…พ…ื่อ…เป…็น…ก…าร…ก…ัก…เก…็บ…น…้า…ห…รือ…เ…ป…็น…กา…ร…ก…ั้น…ท…าง…เด…ิน… …ข…อ…งน…้า…เ…ป็น…ต…น้ ……………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 31
ชดุ ที่ 7 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 7.2 เรือ่ ง การปฏบิ ตั ิตนเมอื่ เกิดภัยพบิ ตั ิธรรมชาตทิ างอุทกภาค 1. ใหน้ กั เรียนสบื คน้ ขา่ วทเ่ี กยี่ วกบั ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาคท่เี กิดขึ้นในประเทศไทย แล้วตอบคาถามในประเด็นตอ่ ไปนี้ แนวคาตอบ แหล่งทีม่ าของข่าว ……เว…บ็ …ไ…ซต…์ม…ต…ิช…น…ออ…น…ไ…ลน…์ …….………. ขา่ วนี้ คอื ………ข…่า…วน…้า…ท…่วม…ท…จ่ี …ัง…หว…ัด…พ…ร…ะน…ค…ร…ศร…อี …ย…ธุ ย…า………………………………………………………………… 1. ลักษณะทางกายภาพมีผลต่อการเกิดภยั พิบตั ิตามข่าวอย่างไร เ…ป…็น…ท…่ีรา…บ…ล…ุ่ม…แล…ะ…ใก…ล…้แ…ห…ล…่งน…้า…เ…ม…ื่อถ…ึง…ฤ…ดูฝ…น…จ…ึง…ท…าใ…ห…้มีน…้า…จ…า…นว…น…ม…า…กเ…อ…่อล…้น…จ…า…กแ…ม…่น…้า…ไห…ล…ม…า… ร…ว…ม…กัน…ท…่ีบ…ร…ิเว…ณ…น…ี้แ…ล…ะม…ีก…า…รส…ร…้า…งถ…ิ่น…ฐ…าน……รว…ม…ถ…ึงส…ิ่ง…ก…่อ…สร…้า…งต…่า…ง…ๆ…ข…ว…า…งท…า…งผ…่า…น…ข…อง…น…้า…ท…าใ…ห…้ น…า้…ไม…ส่ …า…ม…าร…ถ…ระ…บ…า…ยไ…ด…้ จ…น…เก…ิด…น…้าท…ว่…ม…ข…ึ้น…………………………………………………………………………… 2. ภัยพิบตั ทิ เี่ กิดขึน้ สง่ ผลกระทบอย่างไรบ้าง ก…ร…ะ…ท…บ…ต่อ…ก…า…รด…า…เน…ิน…ช…ีว…ิตแ…ล…ะ…ป…ระ…ก…อ…บ…อ…าช…ีพ……ทา…ใ…ห…้เด…ิน…ท…าง…ล…าบ…า…ก…ข…า…ด…แค…ล…น…อ…า…หา…ร…น…้า…ด…ื่ม… ย…า…ร…ักษ…า…โร…ค…แ…ล…ะ……ขอ…ง…ย…งั ช…พี …อ…น่ื …ๆ…ร…ว…ม…ถงึ…ท…าใ…ห…เ้ ก…ดิ …โร…ค…ร…ะบ…า…ด…อกี…ด…ว้ …ย…. ………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เราสามารถป้องกันตนเองและระวังภยั จากภยั พิบตั ิน้ีได้อย่างไร ห…ล…กี …เล…ีย่ …ง…กา…ร…สร…า้ …งท…่ีอ…ย…อู่ …าศ…ัย…ท…่ีใก…ล…ก้ …บั …ท…าง…ผ…่าน…ข…อ…งน…า้ …ต…ิด…ต…า…มส…ถ…า…นก…า…ร…ณ…์น…า้ ท…ว่ …ม…อ…ยา่ …ง…ใก…ล…ช้ ิด…… เ…ต…รีย…ม…อ…าห…า…ร…เค…ร…ื่อ…งด…่ืม……ยา…ร…ักษ…า…โ…รค…แ…ล…ะ…ส…ง่ิ ข…อ…งจ…า…เป…น็ …ต…า่ …ง …ๆ…น…อ…กจ…า…ก…น้ี…ต…อ้ …งร…ะ…มัด…ร…ะ…วัง…โร…ค…… ร…ะ…บ…าด…ท…่ีอ…า…จม…า…ก…ับ…น้า…ท…ว่ …ม………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 32
ชดุ ท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค 2. ให้นักเรยี นเขียนแผนภาพการปฏบิ ัติตนเม่อื เกดิ ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางอุทกภาค แนวคาตอบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 33
ชุดที่ 7 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 7.3 แผนผงั มโนทศั น์ เร่ือง ภยั พิบัติธรรมชาตทิ างอทุ กภาค คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ท่ีเก่ียวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค” เป็นแผนผัง มโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่แี จกใหแ้ ลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ข้ึนอยกู่ ับดลุ พนิ จิ ของครผู ู้สอน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 34
ชุดท่ี 7 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น ชุดที่ 7 ภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างอุทกภาค แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน ขอ้ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 35
ชุดท่ี 7 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค ประวตั ิยอ่ ผู้จดั ทา ชื่อ – สกลุ นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู วัน เดือน ปี เกิด วนั ท่ี 22 สงิ หาคม พ.ศ. 2521 สถานท่เี กิด บ้านเลขท่ี 10/2 หมู่ 18 ตาบลกระโพ อาเภอทา่ ตูม จงั หวดั สรุ ินทร์ โทรศพั ท์ 082-1363696 ตาแหนง่ หน้าที่ปัจจบุ ัน ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ สถานทท่ี างานในปัจจบุ นั โรงเรียนเบต็ ต้ดี เู มน 2 ชอ่ งเม็ก ตาบลช่องเม็ก อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ประวตั กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ครุศาสตรบณั ฑิต วชิ าเอก เทคโนโลยีและนวัตกรรม พ.ศ. 2544 การศึกษา สถาบันราชภฏั สุรินทร์ ปรญิ ญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต พ.ศ. 2553 สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ประสบการณ์การทางาน พ.ศ. 2551 ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา องคก์ ารบริหารส่วนตาบลพลงตาเอย่ี ม อาเภอวังจันทร์ จงั หวดั ระยอง พ.ศ. 2553 ครผู ู้ชว่ ย โรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ สานกั งานเขตบางกะปิ สานกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 ครู คศ1. โรงเรยี นมัธยมบา้ นบางกะปิ สานกั งานเขตบางกะปิ สานกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2559 ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นเบต็ ตดี้ ูเมน 2 ช่องเม็ก ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรนิ ธร จังหวดั อบุ ลราชธานี สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. 2561 ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรยี นเบ็ตตดี้ ูเมน 2 ช่องเม็ก ตาบลชอ่ งเม็ก อาเภอสริ นิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 36
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก และภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศึกษา 5 (ภมู ศิ าสตร)์ รหสั วชิ า ส33101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนเบต็ ตดี้ เู มน 2 ชอ่ งเมก็ อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อุบลราชธานี
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: