Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book

E-Book

Published by Attipat Puttapanya, 2020-05-15 11:13:28

Description: E-Book

Search

Read the Text Version

E-BOOK หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วชิ า เคร่อื งมือวดั ไฟฟ้ าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ จดั ทาโดย นาย สารนิ พรอ้ มใจ รหสั 61540030 นาย อตั ธพิ รรด์ิ พทุ ธปญั ญา รหสั 61540032

ก คำนำ เอกสารประกอบการสอนวชิ า เครื่องมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์(Electrical and Electronics Instrument)จดั ทาข้ึนเพื่อเป็นเอกสารประกอบการสอนสาหรับครูผสู้ อนในการ จดั การเรียนการสอนตรงตามจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชาและคาอธิบายรายวชิ า หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนิกส์ ภายในเอกสารประกอบการสอนเลม่ น้ีประกอบดว้ ย ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั เคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าเบ้ือตน้ การทางานของเคร่ืองมือวดั วิธีการใชส้ เกลหนา้ ปัดมลั ติมิเตอร์แอนนาลอ็ ก การใช้ งานมลั ติมิเตอร์ การวดั แรงดนั ไฟฟ้า เอกสารประกอบการสอนน้ีผเู้ ขียนไดค้ น้ ควา้ จากเอกสาร ตาราของผเู้ ช่ียวชาญท่ีมีความรู้ความสามารถดา้ นเครื่องมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ประยกุ ต์ เขา้ กบั ความรู้ความสามารถของผเู้ รียบเรียง เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาไดร้ ับความรู้อยา่ งถูกตอ้ ง ตามหลกั วชิ าการ หากเอกสารประกอบการสอนน้ีมีขอ้ บกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ผเู้ รียบเรียงขอ นอ้ มรับขอ้ เสนอแนะ และจะนาไปปรับปรุงใหส้ มบูรณ์ยง่ิ ข้ึน เพอ่ื ประโยชน์ในการจดั การเรียน การสอนวชิ า เคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ ต่อไป สาริน พร้อมใน อตั ธิพรรด์ิ พุทธปัญญา ผเู้ รียบเรียง

สารบญั ข เร่ือง หน้า คำนำ ก สำรบญั ข จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1 ผลกำรเรียนรู้ท่ีคำดหวงั 1 บทนำ 2 ควำมหมำยของกำรวดั 3 มำตรฐำนของกำรวดั 4 ชนิดเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้ำเบ้ืองตน้ 6 มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก 7 มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล 18 โอห์มมิเตอร์ 22 แอมป์ มิเตอร์ 23 แคลมป์ มิเตอร์ 24 บทสรุป 26 อำ้ งอิง 27

1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเร่ืองความหมายของการวดั ได้ 2. เพื่อใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเร่ืองมาตรฐานของการวดั ได้ 3. เพอื่ ใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเร่ืองหน่วยของการวดั ทางไฟฟ้าได้ 4. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเรื่องสญั ลกั ษณ์ของเครื่องมือวดั ไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ได้ 5. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเรื่องชนิดของเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ได้ 6. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษามีความรู้และความเขา้ ใจในเร่ืองหนา้ ที่ของเครื่องมือวดั ได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 1. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษารู้จกั ความหมายของการวดั 2. เพื่อใหน้ กั ศึกษารู้จกั มาตรฐานในการวดั 3. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษารู้จกั หน่วยของการวดั ทางไฟฟ้า 4. เพอื่ ใหน้ กั ศึกษารู้จกั สัญลกั ษณ์ของเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 5. เพื่อใหน้ กั ศึกษารู้จกั ชนิดของเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 6. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษารู้จกั หนา้ ที่ของเคร่ืองมือวดั

2 บทนา เครื่องมือวดั (Instrument) คืออุปกรณ์สาหรับใชห้ าคา่ หาขนาด หรือหาปริมาณของสิ่งใดๆ ที่ยงั ไม่ทราบคา่ เพราะโดยธรรมชาติของมนุษยแ์ ลว้ มีขีดจากดั ในการวดั ปริมาณต่างๆ เช่น การวดั ระยะความยาวดว้ ยสายตา การวดั อณุ หภูมิของวตั ถุดว้ ยการสมั ผสั เป็นตน้ แตค่ ่าที่ไดจ้ ากการวดั จะเป็นค่าโดยประมาณไมส่ ามารถนาคา่ เหลา่ น้นั มาใชใ้ นอตุ สาหกรรมไดอ้ ีกท้งั ปริมาณบางอยา่ ง น้นั มนุษยไ์ ม่สามารถวดั ไดด้ ว้ ยประสาทสัมผสั เช่น ปริมาณแรงดนั ไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า ปริมาณกาลงั ไฟฟ้า เป็นตน้ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีเคร่ืองมือวดั ท่ีจะนามาวดั ปริมาณเหลา่ น้ีเพ่ือใหไ้ ด้ คา่ ที่ถกู ตอ้ งแม่นยา สามารถนามาใชใ้ นการดารงชีวติ และใชใ้ นงานอุตสาหกรรมไดจ้ ุดประสงค์ ของการวดั คือ การตอ้ งการทราบคา่ และปริมาณต่างๆ ในสิ่งท่ีตอ้ งการวดั ดว้ ยเคร่ืองมือวดั ท่ี ถกู ตอ้ งและเหมาะสม เช่น เมื่อเราวดั โต๊ะ เกา้ อ้ีจะทาใหท้ ราบขนาดความกวา้ งความยาวความสูง เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวดั ไดแ้ ก่ ไมเ้ มตร ตลบั เมตร เทปวดั ระยะไมบ้ รรทดั เป็นตน้ เครื่องมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ก็เช่นเดียวกนั ในสาขางานวิศวกรรม ตา่ งๆ จะเก่ียวขอ้ งกบั หน่วยการวดั มากมาย เช่น วดั ขนาดความยาว ความกวา้ ง ความสูง น้าหนกั เวลา ความเร็ว ความเหนียวของวสั ดุ ฯลฯ หน่วยวดั อ่ืน ๆ เช่น การวดั ทางไฟฟ้าจะเกี่ยวขอ้ งกบั ความตา้ นทาน กระแส แรงดนั กาลงั งาน และในเร่ืองของความร้อน การไหลและการนาของความร้อน ตอ้ งอาศยั เคร่ืองมือวดั บ่งช้ีวา่ มีขนาดและจานวนเท่าไร

3 ความหมายของการวดั ศักรินทร์ โสนันทะ (2553: 9) การวดั หมายถึงกระบวนการที่ทาการเปรียบเทียบปริมาณท่ีไม่ ทราบคา่ ของตวั แปรกบั คา่ มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ ถา้ ค่าที่วดั ไดใ้ กลเ้ คียงกบั คา่ จริงมากเพยี งใด แสดงวา่ การวดั น้นั มีความแม่นยาหรือความถกู ตอ้ งสูง บุญเลศิ เตชะภทั ทวรกุล (2556: 18) การวดั หมายถึง กระบวนการท่ีเปล่ียนแปลงปริมาณและ ขนาดทางฟิ สิกส์ เช่น แรงดนั กระแส ความกดดนั ใหไ้ ดม้ าซ่ึงตวั เลข สายัณต์ ช่ืนอารมย์ (2560: 2) การวดั หมายถึง การตรวจสอบขนาดหรือปริมาณตา่ ง ๆ ดว้ ย เคร่ืองมือวดั ที่ถูกตอ้ งและเหมาะสม จากความหมายของการวดั สามารถสรุปไดว้ า่ การวดั (Measurement) คือ กระบวนการเปล่ียน ปริมาณตา่ ง ๆ ใหไ้ ดม้ าเป็นค่าตวั เลขเป็นปริมาณ และปริมาณตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีจะมีหน่วยกากบั เสมอ เช่น กระแสไฟฟ้ามหี น่วยเป็นแอมแปร์ แรงดนั ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์ ความตา้ นทานมี หน่วยเป็นโอหม์ เป็นตน้

4 มาตรฐานของการวดั มาตรฐานของการวดั มีความสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการวดั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในดา้ นการคา้ และ ดา้ น ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ ระดบั ความเชื่อมน่ั ในความเท่าเทียมกนั ของมาตรฐานการวดั ยอ่ ม ไดม้ าจากการทาการเปรียบเทียบระหวา่ งกนั และความสามารถของผปู้ ฏิบตั ิการท่ีทาการวจิ ยั อยู่ ในหอ้ งวิจยั ต่างๆ ซ่ึงผลคือความเช่ือมนั่ ในมาตรฐานของการวดั สามารถถ่ายทอดมาสู่ผใู้ ชง้ านได้ มาตรฐานของการวดั มีหลายประเภทหลายแบบข้ึนอยกู บั หนา้ ท่ีของการทางานและการใชง้ าน ซ่ึงมีอย4ู่ ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. มาตรฐานสากล (International Standard) คือ ขอ้ ตกลงระดบั ชาติซ่ึงไดม้ ีการกาหนดและ วางรากฐานของหน่วย(Units) ของการวดั ใหม้ ีความเท่ียงตรงหรือใกลเ้ คียงที่สุดของผลิตภณั ฑ์ และ เทคโนโลยกี ารวดั ที่ยอมรับหรือยอมอนุญาตใหอ้ ยใู่ นมาตรฐาน น้นั ๆ มาตรฐานสากลขา้ งตน้ จะมีการประเมินผลเป็นระยะๆ และถกู ตรวจสอบโดยวิธีการวดั อยา่ งถูกตอ้ งที่สุด 2. มาตรฐานหลกั ข้นั ตน้ (Primary Standard) คือ มาตรฐานท่ีถกู รักษาใหค้ งมาตรฐานโดย ระดบั ประเทศซ่ึงจะมีหลายหอ้ งปฏิบตั ิการทดสอบของแตล่ ะชาติแตล่ ะทวปี ของโลก เช่น NBS(National Bureau of Standard) ซ่ึงอยใู นวอชิงตนั มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบสาหรับเป็นตวั แกน ควบคุมมาตรฐานข้นั ตน้ สาหรับทอ้ งที่ทวีปอเมริกาเหนือ เช่น เดียวกนั กบั ประเทศองั กฤษที่มี หอ้ งทดลองใหญ่ใน ระดบั ชาติช่ือ National Physics Laboratory หรือ NPL และยงั มีหอ้ งทดลอง ที่ใหญแ่ ห่งหน่ึง ในเยอรมนั ชื่อวา่ Physikalisch Technicsche Reichsanstalt ซ่ึงมาตรฐานหลกั ข้นั ตน้ จะเป็นแกน หลกั ของหน่วยตา่ งๆ ทางดา้ นเครื่องกลและไฟฟ้า

5 3. มาตรฐานหลกั ข้นั รอง (Secondary Standard) เป็นมาตรฐานหลกั เบ้ืองตน้ ท่ีใชส้ าหรับการ เปรียบเทียบและใชก้ นั ในหอ้ งปฏิบตั ิการในระดบั งานอตุ สาหกรรมทวั่ ไป มาตรฐานหลกั ข้นั รอง น้ีจะถูกยดึ ปฏิบตั ิในกล่มุ ของอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งโดยเฉพาะอยา่ งแลจนามาเปรียบเทียบ กนั เองในแต่ละกลมุ่ ในพ้นื ท่ีหรือบริเวณหรือกลมุ่ น้นั ๆ และจะทดสอบกนั เป็นระยะๆ กบั มาตรฐานหลกั ข้นั ตน้ โดยส่งใหห้ อ้ งทดสอบระดบั ชาติเป็นผทู้ ดสอบและปรับแต่ง แลว้ ส่งกลบั มายงั กลมุ่ โรงงานอตุ สาหกรรมน้นั พร้อมกบั ออกใบรับรองค่าผิดพลาด โดยยดึ หรือเทียบกบั คา่ มาตรฐานหลกั ข้นั ตน้ 4. มาตรฐานการวดั ของงาน (Working Standard) เป็นมาตรฐานที่สาคญั ในการปฏิบตั ิงานโดยจะ เป็นการนาเคร่ืองมือ เคร่ืองวดั ตา่ ง ๆ ในโรงงานมาปรับปรุงแกไ้ ขใหไ้ ดค้ วามเท่ียงตรง หรือ การ ทางานของเครื่องมือ เครื่องวดั ใหอ้ ยใู นมาตรฐานที่กาหนด ตวั อยา่ งเช่น ผผู้ ลิตความตา้ นทาน แบบมีค่าผิดพลาดต่าๆ กจ็ ะตอ้ งมีความตา้ นทานมาตรฐาน ตวั ตา้ นทานตวั น้ี เรียกวา่ มาตรฐาน การวดั ของงาน ซ่ึ งแผนกควบคุมคุณภาพจะตอ้ งมีตวั ตา้ นทานมาตรฐานข้นั ตน้ น้ีและตดั สินใจวา่ คา่ ความคลาดเคลื่อนเป็นเท่าไรจากคา่ มาตรฐานเป็นเปอร์เซ็นต์ เป็นตน้

6 ชนิดเครื่องมือวัดไฟฟ้าเบื้องต้น การศึกษาหรือการเก่ียวขอ้ งทางดา้ นไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ จาเป็นตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั ปริมาณไฟฟ้า หลายชนิด เช่น แรงดนั กระแส ความตา้ นทาน และกาลงั ไฟฟ้า เป็นตน้ ปริมาณไฟฟ้าเหล่าน้ีไม่สามารถ ตรวจสอบตรวจวดั คา่ ไดด้ ว้ ยการสมั ผสั การไดย้ นิ ดว้ ยหู การดูดว้ ยตา หรือการดมกลิ่น การจะตรวจสอบ ตรวจวดั ปริมาณไฟฟ้าเหลา่ น้ีได้ จาเป็นตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือวดั ไฟฟ้า (Electrical Instruments) ช่วยในการวดั และ ช่วยในการแสดงคา่ ปริมาณไฟฟ้าที่ถูกตอ้ งออกมา เครื่องมือวดั ไฟฟ้าเบ้ืองตน้ ที่ควรทราบ ไดแ้ ก่ มลั ติมิเตอร์ (Multimeter) ซ่ึงถือไดว้ า่ เป็นเครื่องมือวดั ไฟฟ้าที่จาเป็นตอ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั ปริมาณไฟฟ้าตา่ งๆ ซ่ึง สามารถวดั ปริมาณไฟฟ้าไดห้ ลายชนิด มีราคาถกู เลก็ กะทดั รัด พกพาไปไดส้ ะดวก มลั ติมิเตอร์ท่ีผลิต มาใชง้ านแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่ มลั ติมิเตอร์ (ก) มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก ชนิดแอนะลอ็ ก (Analog Multimeter) เป็นมลั ติมิเตอร์ท่ี การแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าใชเ้ ขม็ ช้ีบา่ ยเบนช้ีคา่ ปริมาณไฟฟ้าท่ีวดั ไดอ้ อกมา และมลั ติมิเตอร์ชนิด ดิจิตอล (Digital Multimeter) เป็นมลั ติมิเตอร์ที่การ แสดงคา่ ปริมาณไฟฟ้า ใชแ้ สดงค่าดว้ ยตวั เลขบอกค่า ปริมาณไฟฟ้าที่วดั ไดอ้ อกมา รูปร่างลกั ษณะ มลั ติ มิเตอร์แตล่ ะชนิด แสดงดงั รูปท่ี 2.1 มลั ติมิเตอร์เป็นมิเตอร์ท่ีสามารถนาไปใชว้ ดั (ข) มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล ปริมาณไฟฟ้าไดห้ ลายชนิด การใชง้ านจาเป็นตอ้ งต่อ รูปที่ 2.1 มลั ติมิเตอร์แตล่ ะชนิด ข้วั วดั และปรับแต่งค่าใหถ้ กู ตอ้ งก่อนนาไปใชง้ าน

7 มัลติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก หรือมลั ติมิเตอร์ชนิดเขม็ ช้ี เป็นมลั ติมิเตอร์พ้นื ฐานท่ีถกู นามาใชง้ าน ยาวนานหลายสิบปี แลว้ จนถึงปัจจุบนั กย็ งั เป็นที่นิยมใชง้ านอยู่ เพราะดว้ ยคุณสมบตั ิท่ีดีหลายประการของมลั ติมิเตอร์ชนิดน้ีท่ีพิเศษ คือ สามารถวดั ตรวจสอบดี เสีย ชนิด และขา ของอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ไดห้ ลาย ประเภท การจะนามลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ กไปใชง้ าน จาเป็นตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจในส่วนประกอบ และรายละเอียดตา่ งๆ ของมลั ติมิเตอร์ชนิดน้ีก่อนการใชง้ าน เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เกิด ความปลอดภยั ในการใชง้ าน ลกั ษณะรูปร่างและส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ กแบบหน่ึง แสดงดงั รูปที่ 2.2 มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ กตามรูปที่ 2.2 เป็นมลั ติมิเตอร์แบบหน่ึงท่ีมีขายทว่ั ไป มีราคาถกู ใชง้ านไดด้ ี ส่วนประกอบตา่ งๆ ไม่แตกต่าง ไปจากมลั ติมิเตอร์แอนะลอ็ กแบบอ่ืน ตวั เลขที่ช้ี แสดงไว้ บอกช่ือของส่วนประกอบ หนา้ ที่การ ทางาน และการใชง้ าน มีรายละเอียดดงั น้ี หมายเลข 1 เป็นหนา้ ปัดแสดงสเกล บอกคา่ ตา่ งๆ ของปริมาณไฟฟ้าที่วดั ได้ หมายเลข 2 เป็นไดโอดเปลง่ แสง (LED) จะเปล่งแสงสวา่ งออกมา แสดงถึงการต่อวงจร (Continuity) เมื่อต้งั ยา่ นวดั โอหม์ (Ω) ท่ียา่ น x1 รูปท่ี 2.2 ส่วนประกอบมลั ติมิเตอร์ชนิด ในขณะช็อตปลายสายวดั เขา้ ดว้ ยกนั แอนะลอ็ ก หมายเลข 3 เป็นเขม็ ช้ีของมิเตอร์

8 หมายเลข 4 เป็นสกรูใชป้ รับแตง่ ใหเ้ ขม็ ช้ีในสภาวะมิเตอร์ไม่ทางาน ช้ีท่ีตาแหน่งซา้ ยมือสุดของ สเกลพอดี (ที่ , 0 V, 0 A) ช่วยใหม้ ิเตอร์อยใู่ นสภาวะพร้อมใชง้ าน และขณะใชง้ านจะแสดงคา่ ที่วดั ได้ ออกมามีคา่ ถูกตอ้ ง หมายเลข 5 เป็นป่ มุ ปรับใหเ้ ข็มช้ีของมิเตอร์ช้ีที่ตาแหน่งศนู ยโ์ อหม์ พอดี (0 Ω.ADJ) ใชร้ ่วมกบั การต้งั ยา่ นวดั โอหม์ (Ω) โดยขณะท่ีชอ็ ตปลายสายวดั มิเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เขม็ มิเตอร์จะตอ้ งบา่ ยเบนไปทางขวามือช้ีที่ ตาแหน่ง 0 Ω พอดี ถา้ เขม็ ช้ีไม่อยทู่ ่ีตาแหน่ง 0 Ω พอดีตอ้ งปรับป่ ุมน้ีช่วย เพ่ือใหก้ ารวดั ค่าความตา้ นทานมีคา่ ถูกตอ้ ง หมายเลข 6 เป็นข้วั ต่อเอาตพ์ ตุ (OUTPUT) ใชส้ าหรับวดั ความดงั ของเสียงจากเคร่ืองขยายเสียง หรือ เคร่ืองรับวิทยุ วดั ออกมาเป็นเดซิเบล (dB) ใชง้ านร่วมกบั ข้วั หมายเลข 9 หมายเลข 7 เป็นสวิตชป์ รับเลือกยา่ นวดั คา่ ปริมาณไฟฟ้าที่เหมาะสม สามารถปรับหมุนไดร้ อบตวั หมายเลข 8 เป็นข้วั ตอ่ สายวดั มิเตอร์ข้วั บวก (+) ใชส้ าหรับตอ่ สายวดั สีแดง หมายเลข 9 เป็นข้วั ต่อสายวดั มิเตอร์ข้วั ลบ (-COM) ใชส้ าหรับต่อสายวดั สีดา สเกลหน้าปัดมลั ติมิเตอร์ชนดิ แอนะลอ็ ก สเกลหนา้ ปัดของมลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก หรือชนิดเขม็ ช้ีจะมีสเกลแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าหลาย ชนิด ปริมาณไฟฟ้าแตล่ ะชนิดแสดงคา่ ออกมาแตกตา่ งกนั ทาใหส้ เกลท่ีกาหนดไวท้ ่ีหนา้ ปัดแต่ละสเกลมี ความแตกตา่ งกนั ถูกแยกออกเป็นสเกลหลายช่องหลายแถว แตล่ ะช่องแตล่ ะแถวใชแ้ สดงปริมาณไฟฟ้าแต่ ละชนิด โดยเฉพาะการใชง้ านและการอ่านค่าเป็นส่ิงจาเป็นตอ้ งทาความเขา้ ใจ เพอื่ การใชง้ านมีความถกู ตอ้ ง ลกั ษณะสเกลหนา้ ปัดของมลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก แสดงดงั รูปที่ 2.3 สเกลหนา้ ปัดมลั ติมิเตอร์ชนิดแอ นะลอ็ ก ตามรูปที่ 2.3 แสดงสเกลค่าปริมาณไฟฟ้าแตล่ ะชนิดของมลั ติมิเตอร์แบบหน่ึงถูกกา กบั ไวด้ ว้ ย หมายเลขเพือ่ บอกชื่อปริมาณไฟฟ้าแตล่ ะส่วนอธิบายรายละเอียดไดด้ งั น้ี หมายเลข 1 คือ สเกลโอหม์ () ใชส้ าหรับอา่ นค่าความตา้ นทานที่วดั ไดอ้ อก มาเม่ือต้งั ยา่ นวดั ความตา้ นทานหรือยา่ น  รูปที่ 2.3 สเกลหนา้ ปัดมลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก หมายเลข 2 คือ สเกลแรงดนั ไฟตรง

9 กระแสไฟตรง และแรงดนั ไฟสลบั (DCV, A & ACV) ใชส้ าหรับอ่าน ค่าแรงดนั ไฟตรง เมื่อต้งั ยา่ นวดั แรงดนไฟตรง (DCV) ใชส้ าาหรับอา่ นคา่ กระแสไฟตรง เม่ือต้งั ยา่ นวดั กระแสไฟตรง (DCmA) และใช้ สาหรับอา่ นคา่ แรงดนั ไฟสลบั เมื่อต้งั ยา่ นวดั แรงดนั ไฟสลบั (ACV) หมายเลข 3 คือ สเกลแรงดนั ไฟสลบั เฉพาะยา่ น 10 โวลต์ (AC 10 V) ใชส้ าหรับอา่ นค่าแรงดนั ไฟ สลบั เมื่อต้งั ยา่ นวดั ที่ 10 ACV หมายเลข 4 คือ สเกลค่าอตั ราขยายกระแสไฟตรงของตวั ทรานซิสเตอร์ (hFE) ใชส้ าหรับอ่านค่า อตั ราขยายกระแสไฟตรงของตวั ทรานซิสเตอร์เม่ือต้งั ยา่ นวดั โอห์ม () ที่ตาแหน่ง x10 (hFE) หมายเลข 5 คือ สเกลค่ากระแสร่ัวไหล (Leakage Current) ของตวั ทรานซิสเตอร์ (ICEO) ใชส้ าหรับ อ่านคา่ กระแสร่ัวไหลของตวั ทรานซิสเตอร์ท่ีขาคอลเลกเตอร์ (C) และขาอิมิตเตอร์ (E) เมื่อขาเบส (B) เปิ ด ลอย ขณะต้งั ยา่ นวดั โอหม์ () ที่ x1 (150 mA), x10 (15 mA), x100 (1.5 mA) และ x1k (150 A) นอกจากน้นั ยงั ใชแ้ สดงค่ากระแสภาระ (Load Current) ในการวดั ไดโอด (LI) ใชส้ าหรับอ่านกระแสภาระที่ ไหลผา่ นไดโอด เม่ือวดั ดว้ ยยา่ นวดโั อหม์ () หมายเลข 6 คือ สเกลคา่ แรงดนั ภาระ (Load Voltage) ในการวดั ไดโอด (LV) ใชส้ าหรับอ่านแรงดนั ภาระที่ตกคร่อมไดโอด เมื่อวดั ดว้ ยยา่ นวดั โอหม์ () เป็นการวดั ค่าในเวลาเดียวกบั การวดั LI หมายเลข 7 คือ สเกลคา่ ความดงั ของสัญญาณเสียง บอกค่าการวดั ออกมาเป็นเดซิเบล (dB) ใช้ สาหรับ อ่านค่าความดงั ของสัญญาณเสียง เมื่อต้งั ยา่ นวดั ท่ีแรงดนั ไฟสลบั (ACV) หมายเลข 8 คือ กระจกเงาใชส้ ะทอ้ นเขม็ ช้ีเพ่ือช่วยใหก้ ารอ่านปริมาณไฟฟ้าค่าตา่ งๆ มีความถูกตอ้ ง ที่สุด โดยขณะอา่ นค่าตอ้ งให้ตาแหน่งเขม็ ช้ีจริง และเขม็ ช้ีในกระจกเงาซอ้ นทบั กนั พอดี

10 การใช้งานมลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก สามารถใชว้ ดั หาปริมาณไฟฟ้าค่าตา่ งๆ ไดห้ ลายชนิด เช่น แรงดนั ไฟ ตรง (DCV) แรงดนั ไฟสลบั (ACV) กระแสไฟตรง (DCmA) และความตา้ นทาน () เป็นตน้ ส่ิงสาคญั ใน การใชง้ านของมลั ติมิเตอร์ชนิดน้ีอยทู่ ่ีคา่ ที่อา่ นออกมาไดจ้ ากการบ่ายเบนไปของเขม็ ช้ีถกู แสดงคา่ ออกมาเป็น สเกลท่ีแบ่งไว้ การอา่ นค่าท่ีถูกตอ้ งของคา่ ท่ีเขม็ ช้ีช้ีบอกไวจ้ าเป็นตอ้ งใชค้ า่ การแบ่งออกเป็นอตั ราส่วนจาก ค่าตวั เลขที่บอกไวใ้ นตาแหน่งใกลเ้ คยี งท้งั ดา้ นซา้ ยและดา้ นขวาของเขม็ ช้ีอตั ราส่วนท่ีแบง่ ออกมีความ แตกตา่ งกนั ไปในแต่ละสเกลและแตล่ ะค่า ซ่ึงส่ิงน้ีเองเป็นผลทาใหก้ ารอา่ นค่าเกิดความผิดพลาดไดง้ า่ ย การจะนามลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อกไปใชง้ านจาเป็นตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจการใชง้ านและการอา่ นคา่ ให้ ถกู ตอ้ งเสียก่อน การวดั แรงดันไฟตรง (DCV) การวดั แรงดนั ไฟตรง โดยปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปที่ DCV มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อกรุ่น มาตรฐาน จะมียา่ นวดั แรงดนั ไฟตรงท้งั หมด 7 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คอื ยา่ น 0.1 V, 0.5 V, 2.5 V, 10 V, 50 V, 250 V และ 1,000 V การต้งั ยา่ นวดั ที่ DCV แสดงดงั รูปท่ี 2.4 การอา่ นคา่ แรงดนั ไฟตรง อ่านท่ีหนา้ ปัดรูปที่ 2.3 หมายเลข 2 สเกล DCV, A & ACV ข้นั ตอนการวดั คา่ ปฏิบตั ิดงั น้ี รูปที่ 2.4 ยา่ นวดั แรงดนั ไฟตรง (DCV) รูปท่ี 2.5 การต่อมลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟตรง 1. เสียบสายวดั สีแดงเขา้ ท่ีข้วั ต่อข้วั บวก (+) เสียบสายวดั สีดาเขา้ ท่ีข้วั ต่อข้วั ลบ (-COM) ของมิเตอร์ นาสายวดั ท้งั สองเส้นไปวดั ค่าแรงดนั ไฟตรงท่ีตอ้ งการ 2. ปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั DCV ไปยา่ นที่เหมาะสม หากไมท่ ราบค่าแรงดนั ไฟตรงท่ีตอ้ งการวดั ให้ ปรับต้งั ยา่ นวดั ไปที่ยา่ นสูงสุดไวก้ ่อนที่ยา่ น 1,000 V

11 3. การวดั แรงดนั ไฟตรงตอ้ งนามิเตอร์ไปต่อวดั แบบขนานกบั วงจร (ต่อคร่อมอุปกรณ์) และขณะวดั ตอ้ งคานึงถึงข้วั ของมิเตอร์ใหต้ รงกบั ข้วั ของแรงดนั ท่ีวดั โดยยดึ หลกั ดงั น้ีใกลบ้ วกแหล่งจ่ายแรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั บวก (+) ของมิเตอร์ ใกลล้ บแหล่งจ่ายแรงดั ต่อวดั ดว้ ยข้วั ลบ (–) ของมิเตอร์ การต่อมลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟตรง แสดงดงั รูปที่ 2.5 4. การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกลและการอ่านค่า แสดงไดต้ ามตารางท่ี 2.1 ตารางที่ 2.1 การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอ่านคา่ แรงดนั ไฟตรง (DCV) ตัวอย่างท่ี 2.1 ต้งั ยา่ นมลั ติมิเตอร์ไวท้ ่ี DCV เพอื่ วดั แรงดนั ไฟตรง เขม็ ช้ีมิเตอร์ช้ีค่าออกมาตามรูปท่ี 2.6 จง อา่ นคา่ แรงดนั ไฟตรงทุกยา่ นวดั บนสเกลหนา้ ปัด วธิ ที า อา่ นคา่ แตล่ ะยา่ นวดั เตม็ สเกล (สเกลสีดาใตก้ ระจกเงา DCV) ตอบ ยา่ น 0-10 V อา่ นได้ = 6.4 V ยา่ น 0-50 V อ่านได้ = 32 V ยา่ น 0-250 V อา่ นได้ = 160 V รูปท่ี 2.6 เขม็ ช้ีแสดงค่ายา่ นวดั แรงดนั ไฟ ตรง (DCV) ใชใ้ นตวั อยา่ งที่ 2.1

12 การวดั แรงดันไฟสลบั (ACV) การวดั แรงดนั ไฟสลบั โดยปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปที่ ACV มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อกรุ่น มาตรฐาน จะมียา่ นวดั แรงดนั ไฟสลบั ท้งั หมด 4 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คอื ยา่ น 10 V, 50 V, 250 V และ 1,000 V การต้งั ยา่ นวดั ท่ี ACV แสดงดงั รูปที่ 2.7 การอา่ นคา่ แรงดนั ไฟสลบั อา่ นที่หนา้ ปัดรูปที่ 2.3 หมายเลข 2 สเกล DCV, A & ACV และหมายเลข 3 สเกล AC 10 V ข้นั ตอนการวดั คา่ ปฏิบตั ิดงั น้ี รูปท่ี 2.7 ยา่ นวดั แรงดนั ไฟสลบั (ACV) รูปที่ 2.8 การตอ่ มลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟสลบั (ACV) 1. เสียบสายวดั สีแดงเขา้ ท่ีข้วั ต่อข้วั บวก (+) เสียบสายวดั สีดาเขา้ ที่ข้วั ต่อข้วั ลบ (-COM) ของมิเตอร์ นาสายวดั ท้งั สองเสน้ ไปวดั ค่าแรงดนั ไฟสลบั 2. ปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ACV ไปยา่ นที่เหมาะสม หากไม่ทราบค่าแรงดนั ไฟสลบั ที่จะวดั ใหต้ ้งั ยา่ นวดั ไปท่ียา่ นสูงสุดไวก้ ่อนท่ี 1,000 V 3. การวดั แรงดนั ไฟสลบั ตอ้ งนามิเตอร์ไปตอ่ วดั แบบขนานกบั วงจร (ต่อคร่อมอุปกรณ์) และขณะ วดั ไม่จาเป็นตอ้ งคานึงถึงข้วั ของมิเตอร์ สามารถวดั สลบั ข้วั ได้ การต่อมลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟสลบั แสดงดงั รูปท่ี 2.8 4. ก่อนต่อมลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟสลบั ค่าสูง ควรตดั ไฟของวงจรท่ีจะวดั ออกก่อน เมื่อตอ่ มลั ติ มิเตอร์เขา้ วงจรเรียบร้อยแลว้ จึงจ่ายไฟเขา้ วงจรท่ีตอ้ งการวดั 5. อยา่ จบั สายวดั หรือตวั มลั ติมิเตอร์ขณะวดั แรงดนั ไฟสลบั ค่าสูง เม่ือวดั เสร็จเรียบร้อยควรตดั ไฟที่ ทาการวดั เสียก่อน จึงปลดสายวดั ของมลั ติมิเตอร์ออกจากวงจร 6. การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ แสดงไดต้ ามตารางท่ี 2.2

13 ตารางท่ี 2.2 การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ แรงดนั ไฟสลบั (ACV) ตัวอย่างที่ 2.2 ต้งั ยา่ นมลั ติมิเตอร์ไวท้ ี่ ACV เพื่อวดั แรงดนั ไฟสลบั เขม็ ช้ีมิเตอร์ช้ีคา่ ออกมาตามรูปที่ 2.9 จง อา่ นค่าแรงดนั ไฟสลบั ทุกยา่ นวดั บนสเกลหนา้ ปัด วธิ ีทา อา่ นคา่ แต่ละยา่ นวดั เตม็ สเกล (สเกลสีดาใตก้ ระจกเงา ACV และสเกลสีแดง AC 10 V ดา้ นลา่ ง) ตอบ ยา่ น 0-10 V อ่านได้ = 3.6 V ยา่ น 0-50 V อา่ นได้ = 18 V ยา่ น 0-250 V อา่ นได้ = 90 V ยา่ น AC 10 V อา่ นได้ = 3.8 V รูปท่ี 2.9 เขม็ ช้ีแสดงค่ายา่ นวดั แรงดนั ไฟสลบั (ACV) ใชใ้ นตวั อยา่ งท่ี 2.2

14 การวดั กระแสไฟตรง (DCmA) การวดั กระแสไฟตรง โดยปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปท่ี DCmA มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อกรุ่น มาตรฐาน จะมียา่ นวดั กระแสไฟตรงท้งั หมด 4 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คือ ยา่ น 50 A, 2.5 mA, 25 mA และ 250 mA (0.25 A) การต้งั ยา่ นวดั ที่ DCmA แสดงดงั รูปท่ี 2.10 การอ่านคา่ กระแสไฟตรง อา่ นที่หนา้ ปัดรูปท่ี 2.3 หมายเลข 2 สเกล DCV, A & ACV ข้นั ตอนการวดั ค่าปฏิบตั ิดงั น้ี รูปท่ี 2.10 ยา่ นวดั กระแสไฟตรง รูปที่ 2.11 การต่อมลั ติมิเตอร์วดั กระแสไฟตรง (DCmA) 1. เสียบสายวดั สีแดงเขา้ ที่ข้วั ต่อข้วั บวก (+) เสียบสายวดั สีดา เขา้ ที่ข้วั ต่อข้วั ลบ (-COM) ของมิเตอร์ นาสายวดั ท้งั สองเสน้ ไปวดั ค่ากระแสไฟตรง 2. ปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั DCmA ไปยา่ นที่เหมาะสม หากไมท่ ราบค่ากระแสไฟตรงที่จะวดั ใหต้ ้งั ยา่ นวดั ไปที่ยา่ นสูงสุดไวก้ ่อนที่ 250 mA 3. การวดั กระแสไฟตรงตอ้ งนามิเตอร์ไปต่ออนุกรมกบั วงจร (ตดั วงจรออกนามิเตอร์เขา้ ไปต่อร่วม เป็นส่วนหน่ึงของวงจร) และขณะตอ่ วดั ตอ้ งคานึงถึงข้วั ของมิเตอร์ให้ตรงกบั ข้วั ของแรงดนั แหล่งจ่าย โดย ยดึ หลกั ดงั น้ี ใกลบ้ วกแหล่งจ่ายแรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั บวก (+) ของมิเตอร์ ใกลล้ บแหล่งจ่ายแรงดนั ตอ่ วดั ดว้ ย ข้วั ลบ (–) ของมิเตอร์ การต่อมลั ติมิเตอร์วดั กระแสไฟตรง แสดงดงั รูปท่ี 2.11 4. ยา่ นวดั กระแสไฟตรง 50 A เป็นยา่ นเดียวกบั ยา่ นวดั แรงดนั ไฟตรง 0.1 V ในยา่ นน้ีทาหนา้ ที่เป็น ท้งั มิเตอร์วดั แรงดนั ไฟตรงเตม็ สเกล 0.1 V และเป็นมิเตอร์วดั กระแสไฟตรงเตม็ สเกล 50 A 5. การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ แสดงไดต้ ามตารางที่ 2.3

15 ตารางท่ี 2.3 การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ กระแสไฟตรง (DCmA) ตัวอย่างท่ี 2.3 ต้งั ยา่ นมลั ติมิเตอร์ไวท้ ี่ DCmA เพ่ือวดั กระแสไฟตรง เขม็ ช้ีมิเตอร์ช้ีคา่ ออกมาตามรูปท่ี 2.12 จง อา่ นค่ากระแสไฟตรงทกุ ยา่ นวดั บนสเกลหนา้ ปัด วธิ ีทา อ่านคา่ แตล่ ะยา่ นวดั เตม็ สเกล (สเกลสีดาใตก้ ระจกเงา DCmA ที่ใชม้ ี 2 ยา่ น คอื 50,250) ตอบ ยา่ น 0-50 mA อ่านได้ = 46 mA ยา่ น 0-250 mA อา่ นได้ = 230 mA รูปท่ี 2.12 เขม็ ช้ีแสดงคา่ ยา่ นวดั กระแส ไฟตรง (DCmA) ใชใ้ นตวั อยา่ งท่ี 2.3 การวดั ความต้านทาน () การวดั ความตา้ นทาน โดยปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปที่  มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อกรุ่นมาตรฐาน จะมียา่ นวดั ความตา้ นทานท้งั หมด 4 ถึง 5 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คือ ยา่ น x1, x10, x100, x1k และ x10k (บางรุ่นไม่ มียา่ น x100 และบางรุ่นไมม่ ียา่ น x10k ) การต้งั ยา่ นวดั ที่  แสดงดงั รูปท่ี 2.13 การอ่านคา่ ความตา้ นทาน อ่านที่หนา้ ปัดรูปที่ 2.3 หมายเลข 1 สเกล  ข้นั ตอนการวดั ค่าปฏิบตั ิดงั น้ี

16 1. เสียบสายวดั สีแดงเขา้ ที่ข้วั ต่อข้วั บวก (+) เสียบสายวดั สีดาเขา้ ที่ข้วั ตอ่ ข้วั ลบ (-COM) ของมิเตอร์ นาสายวดั ท้งั สองเสน้ ไปวดั คา่ ความตา้ นทาน 2. ปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั  ก่อนนาโอห์ม มิเตอร์ไปใชว้ ดั ตวั ตา้ นทานทุกคร้ัง ในทุกยา่ นวดั ท่ีต้งั วดั โอหม์ ตอ้ งปรับแต่งเขม็ ช้ีของมิเตอร์ใหช้ ้ีที่คา่ 0  ก่อนเสมอ โดยช็อตปลายสายวดั ท้งั สองเส้นขอมิเตอร์ รูปท่ี 2.13 ยา่ นวดั ความตา้ นทาน () เขา้ ดว้ ยกนั ปรับแต่งป่ มุ ปรับ 0  ADJ จนเขม็ ช้ีของ มิเตอร์ช้ีที่ตาแหน่ง 0  พอดี ลกั ษณะการปรับแตง่ โอหม์ มิเตอร์ใหพ้ ร้อมใชง้ าน แสดงดงั รูปท่ี 2.14 3. นาโอห์มมิเตอร์ไปวดั ค่าความตา้ นทานไดต้ ามตอ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง ค่าท่ีอ่านออกมาไดจ้ ากโอห์ม มิเตอร์ คือ ค่าความตา้ นทานของตวั ตา้ นทานตวั ที่วดั ลกั ษณะการวดั ตวั ตา้ นทานดว้ ยมลั ติมิเตอร์ชนิดแอ นะลอ็ ก แสดงดงั รูปที่ 2.15 4. การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ แสดงไดต้ ามตารางที่ 2.4 รูปที่ 2.14 การปรับแต่งโอห์มมิเตอร์ใหช้ ้ีที่ 0  พอดี รูปท่ี 2.15 การวดั ความตา้ นทานดว้ ยโอห์มมิเตอร์

17 ตารางที่ 2.4 การต้งั ยา่ นวดั การใชส้ เกล และการอ่านค่าความตา้ นทาน () ตัวอย่างท่ี 2.4 ต้งั ยา่ นมลั ติมิเตอร์ไวท้ ี่  เพอ่ื วดั ความตา้ นทาน เขม็ ช้ีมิเตอร์ช้ีค่าออกมาตามรูปท่ี 2.16 จง อา่ นความตา้ นทานที่แสดงบนสเกลหนา้ ปัดทกุ หมายเลขเขม็ ช้ี วิธีทา อา่ นค่าทกุ หมายเลขเขม็ ช้ี (สเกลสีดาเหนือกระจกเงา ) ตอบ หมายเลข 1 อ่านได้ = 1.4  หมายเลข 2 อ่านได้ = 8.5  หมายเลข 3 อ่านได้ = 42  หมายเลข 4 อา่ นได้ = 180  รูปที่ 2.16 เขม็ ช้ีแสดงคา่ ยา่ นวดั ความตา้ นทาน () ใชใ้ นตวั อยา่ งที่ 2.4

18 มัลติมเิ ตอร์ชนดิ ดจิ ิตอล มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล สามารถใชว้ ดั หาปริมาณไฟฟ้าคา่ ตา่ งๆ ไดห้ ลายชนิดเช่นเดียวกบั มลั ติ มิเตอร์ชนิด แอนะลอ็ ก เช่น แรงดนั ไฟตรง (DCV) แรงดนั ไฟสลบั (ACV) กระแสไฟตรง (DCmA) และ ความตา้ นทาน () เป็นตน้ ส่ิงสาคญั ในการใชง้ านของมลั ติมิเตอร์ชนิดน้ีอยทู่ ี่การแสดงคา่ ออกมาเป็น ตวั เลขอา่ นคา่ ไดโ้ ดยตรง อ่านไดร้ วดเร็ว มีความถกู ตอ้ ง เท่ียงตรง เกิดความสะดวก การจะนามลั ติมิเตอร์ ชนิดดิจิตอลไปใชง้ าน จาเป็นตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจในส่วนประกอบ และรายละเอียดต่างๆ ก่อนการ ใชง้ าน เพ่ือทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เกิดความปลอดภยั ท้งั ตวั มลั ติมิเตอร์และตวั ผใู้ ชง้ าน รูปร่างและส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล แสดงดงั รูปที่ 2.17 มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลตามรูปที่ 2.17 เป็นมลั ติมิเตอร์แบบหน่ึงท่ีมีขายทวั่ ไป มีราคา ถูก ส่วนประกอบไม่แตกตา่ งไปจากมลั ติมิเตอร์ ชนิดดิจิตอลแบบอื่นๆ มากนัก (บางรุ่นมีข้วั วดั ปริมาณไฟฟ้าอ่ืนๆ ไดเ้ พ่มิ ข้ึน) ตวั เลขที่ช้ีแสดงไว้ บอกชื่อของส่วนประกอบ หนา้ ท่ีการทางาน และ การใชง้ านมีรายละเอียดดงั น้ี หมายเลข 1 เป็นหนา้ ปัดแสดงผลการวดั ค่าปริมาณไฟฟ้า แสดงเป็นตวั เลขจานวน 3 1/2 หลกั และตวั อกั ษร จอเป็นคริสตอลเหลว (LCD) หมายเลข 2 เป็นสวติ ชเ์ ลือกค่าปริมาณ ไฟฟ้าท่ีตอ้ งการวดั ปรับหมุนไปซา้ ยหรือขวาได้ รูปที่ 2.17 ส่วนประกอบมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล อยา่ งอิสระ หมายเลข 3 เป็นข้วั เสียบไวส้ าหรับวดั ตวั ทรานซิสเตอร์ เพื่อหาคา่ อตั ราขยายกระแส (hFE) ของตวั ทรานซิสเตอร์ ใชท้ างานร่วมกบั ตาแหน่งหมายเลข 13 ยา่ น hFE หมายเลข 4 เป็นข้วั ต่อสายวดั มิเตอร์สีแดง เพอ่ื ใชว้ ดั คา่ กระแสไฟตรงค่าสูง (10A ) วดั ค่าไดส้ ูงสุด 10 A ใชท้ างานร่วมกบั ข้วั ต่อหมายเลข 6 และตาแหน่งหมายเลข 12 ยา่ น 10 A หมายเลข 5 เป็นข้วั ต่อสายวดั มิเตอร์สีแดง เพื่อใชว้ ดั ค่าแรงดนั ไฟตรง (DCV) แรงดนั ไฟสลบั (ACV) กระแสไฟตรงคา่ ต่า (DCmA) และความตา้ นทาน () ใชท้ างานร่วมกบั ข้วั ต่อหมายเลข 6

19 หมายเลข 6 เป็นข้วั ต่อสายวดั มิเตอร์สีดา (COM) เป็นข้วั ต่อสายวดั ข้วั ร่วม ใชร้ ่วมกบั ข้วั หมายเลข 4 และข้วั หมายเลข 5 ใชว้ ดั คา่ ปริมาณไฟฟ้าตา่ งๆ หมายเลข 7 เป็นตาแหน่งเลือกการปิ ดสวติ ชห์ ยดุ ใชง้ านมิเตอร์ (OFF) เพื่อหยดุ การจ่ายไฟใหม้ ิเตอร์ เป็นการหยดุ ทางานของมิเตอร์ หมายเลข 8 เป็นตาแหน่งเลือกการทางานเป็นโวลตม์ ิเตอร์ไฟตรง (V) วดั แรงดนั ไฟตรงไดส้ ูงสุด 1,000 V หมายเลข 9 เป็นตาแหน่งเลือกการทางานเป็นโวลตม์ ิเตอร์ไฟสลบั (V~) วดั แรงดนั ไฟสลบั ไดส้ ูงสุด 750 V หมายเลข 10 เป็นตาแหน่งเลือกการทางานเป็นแอมมิเตอร์ไฟตรง (A) วดั กระแสไฟตรงไดส้ ูงสุด 200 mA หมายเลข 11 เป็นตาแหน่งเลือกการทางานเป็นโอหม์ มิเตอร์ () วดั ความตา้ นทานไดส้ ูงสุด 2,000 k หมายเลข 12 เป็นตาแหน่งเลือกการทางานเป็นแอมมิเตอร์ไฟตรงคา่ สูง (10A) วดั กระแสไฟตรงได้ สูงสุด 10 A หมายเลข 13 เป็นตาแหน่งเลือกใชม้ ิเตอร์ทางานเป็นเครื่องวดั อตั ราขยายกระแส (hFE) ของตวั ทรานซิสเตอร์ ใชท้ างานร่วมกบั ตาแหน่งหมายเลข 3 หมายเลข 14 เป็นตาแหน่งเลือกใชม้ ิเตอร์ทางานเป็นเคร่ืองวดั ตวั ไดโอด การใช้งานมัลติมเิ ตอร์ชนิดดิจิตอล การนามลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลไปใชง้ าน ใชไ้ ดเ้ ช่นเดียวกบั มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก เม่ือตอ้ งการ วดั ปริมาณไฟฟ้าชนิดใด ก็ปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั หมายเลข 2 ของรูปที่ 2.17 ไปยา่ นปริมาณไฟฟ้าท่ีตอ้ งการ วดั ถา้ ไม่ทราบคา่ ปริมาณไฟฟ้าน้นั ใหต้ ้งั ค่าท่ียา่ นวดั สูงสุดไวก้ ่อน และค่อยๆ ปรับต่าลงมาในยา่ นท่ี เหมาะสม มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลจะแสดงคา่ ปริมาณไฟฟ้าออกมาเป็นตวั เลขอ่านคา่ ไดท้ นั ที การจะนามลั ติ มิเตอร์ชนิดดิจิตอลไปใชง้ าน จาเป็นตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจการใชง้ านและการอา่ นคา่ ใหถ้ กู ตอ้ งเสียก่อน การวดั ปริมาณไฟฟ้าชนิดตา่ งๆ ทาไดด้ งั น้ี การวดั แรงดันไฟตรง (DCV) การวดั แรงดนั ไฟตรงดว้ ยมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล โดยปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปท่ีแรงดนั ไฟตรง (V ) มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลรุ่นท่ีใชง้ านตามรูปที่ 2.17 มียา่ นวดั แรงดนั ไฟตรงท้งั หมด 5 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คอื ยา่ น 200 mV, 2,000 mV, 20 V, 200 V และ 1,000 V ตวั เลขที่แสดงใหเ้ ห็นบนหนา้ ปัดขณะวดั คา่ คอื ค่า

20 แรงดนั ไฟตรงท่ีวดั ได้ การต่อวดั ค่าโดยยดึ หลกั ดงั น้ีใกลบ้ วกแหล่งจ่ายแรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั บวก (+) ของ มิเตอร์ ใกลล้ บแหล่งจ่ายแรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั ลบ (–) ของมิเตอร์ กรณีท่ีวดั คา่ แลว้ เกิดเคร่ืองหมายลบ (–) แสดงอยดู่ า้ นหนา้ ตวั เลขท่ีบอกคา่ ไวบ้ อกใหท้ ราบวา่ การต่อสายวดั แรงดนั ไฟตรงผดิ ข้วั ใหส้ ลบั ข้วั สายวดั ใหม่ การต้งั ยา่ นวดั และการต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั แรงดนั ไฟตรง แสดงดงั รูปท่ี 2.18 รูปที่ 2.18 การต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั แรงดนั ไฟตรง การวัดแรงดนั ไฟสลบั (ACV) การวดั แรงดนั ไฟสลบั ดว้ ยมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล โดยปรับสวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปท่ีโวลตม์ ิเตอร์ไฟ สลบั (V~) มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลรุ่นท่ีใชง้ านตามรูปที่ 2.17 มียา่ นวดั แรงดนั ไฟสลบั ท้งั หมด 2 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คอื ยา่ น 200 V และ 750 V ขณะวดั คา่ มิเตอร์จะแสดงคา่ ท่ีวดั ไดอ้ อกมา การวดั แรงดนั ไฟสลบั ไม่ จาเป็นตอ้ งคานึงถึงข้วั วดั ของมิเตอร์ ใชส้ ลบั ข้วั วดั ได้ การต้งั ยา่ นวดั และการตอ่ มลั ติมิเตอร์ชนิดตวั เลขวดั แรงดนั ไฟสลบั แสดงดงั รูปท่ี 2.19 รูปท่ี 2.19 การต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั แรงดนั ไฟสลบั

21 การวดั กระแสไฟตรง (DCA) การวดั กระแสไฟตรงดว้ ยมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล โดยปรับสวิตชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปที่แอมมิเตอร์ ไฟตรง (A) มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลรุ่นที่ใชง้ านตามรูปท่ี 2.17 มีท้งั หมด 5 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คือ ยา่ น 200 A, 2,000 A, 20 mA, 200 mA และ 10 A การต่อวดั กระแสไฟตรงตอ้ งต่อแบบอนุกรม ตวั เลขท่ีแสดงให้ เห็นบนหนา้ ปัดขณะวดั คา่ คือ ค่ากระแสไฟตรงที่วดั ได้ การต่อวดั ค่าโดยยดึ หลกั ดงั น้ีใกลบ้ วกแหล่งจ่าย แรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั บวก (+) ของมิเตอร์ ใกลล้ บแหล่งจ่ายแรงดนั ต่อวดั ดว้ ยข้วั ลบ (–) ของมิเตอร์ กรณีท่ีวดั ค่าแลว้ เกิดเคร่ืองหมายลบ (–) แสดงอยดู่ า้ นหนา้ ตวั เลขที่บอกคา่ ไว้ บอกใหท้ ราบวา่ การต่อสายวดั กระแส ไฟตรงผดิ ข้วั ใหส้ ลบั ข้วั สายวดั ใหม่ และเมื่อตอ้ งการวดั กระแสไฟตรงค่าสูงเป็นแอมแปร์ต้งั ท่ี 10 A เปลี่ยน ตาแหน่งข้วั ต่อสายวดั เสน้ สีแดง ไปเสียบที่ข้วั ต่อหมายเลข 4 ตามรูปท่ี 2.17 การต้งั ยา่ นวดั และการตอ่ มลั ติ มิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั กระแสไฟตรง แสดงดงั รูปท่ี 2.20 รูปท่ี 2.20 การต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั กระแสไฟตรง การวดั ความต้านทาน () การวดั ความตา้ นทานดว้ ยมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล โดยต้งั สวติ ชเ์ ลือกยา่ นวดั ไปที่โอหม์ มิเตอร์ () มลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลรุ่นท่ีใชง้ านตามรูปท่ี 2.17 มีท้งั หมด 5 ยา่ นวดั เตม็ สเกล คอื ยา่ น 200, 2,000, 20 k, 200 k และ 2,000 k การวดั คา่ ความตา้ นทานดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ชนิดดิจิตอล ไมจ่ าเป็นตอ้ งชอ็ ตปลายสายวดั เขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ปรับแตง่ ความถกู ตอ้ ง สามารถนาไปวดั คา่ ไดเ้ ลยในทุกยา่ นวดั ตวั เลขที่แสดงใหเ้ ห็นคือค่าความ ตา้ นทานท่ีวดั ได้ การต้งั ยา่ นวดั และการต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล วดั ค่าความตา้ นทาน แสดงดงั รูปที่ 2.21

22 รูปที่ 2.21 การต่อมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอลวดั คา่ ความตา้ นทาน โอห์มมเิ ตอร์ หลกั การของโอห์มมเิ ตอร์ การวดั ความตา้ นทานเราสามารถทาไดโ้ ดยใชว้ ิธีการวดั กระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นตวั ตา้ นทานซ่ึงไม่ทราบค่า และวดั แรงเคลื่อนไฟฟ้าท่ีตกคร่อมตวั ตา้ นทานแลว้ เรากจ็ ะสามารถหาความตา้ นทานได้ ชนดิ ของโอห์มมิเตอร์แบ่งออกเป็ น2ประเภทคือ 1.โอหม์ มิเตอร์แบบอนั ดบั 2.โอหม์ มิเตอร์แบบขนาน

23 โอห์มมเิ ตอร์แบบอนั ดบั จะประกอบดว้ ยเคร่ืองวดั ชนิดขดลวดเล่ือนที่ต่ออนั ดบั กบั ตวั ความตา้ นทานและตวั แบตเตอร์ร่ี ในวงจรโอหม์ มิเตอร์จะมีคา่ ความตา้ นทานจะใชใ้ นการปรับคา่ ศูนยข์ องโอห์มมิเตอร์ กค็ ือ การ ต่อสายตวั นาใหล้ ดั วงจร ผลของการปรับคา่ ศนู ยจ์ ะทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นวงจรมีค่าสูงสุด ซ่ึงสามารถ ปรับค่าความตา้ นทานจนกระทงั่ เขม็ มิเตอร์ช้ีค่ากระแสสูงสุดของสเกลกค็ ือตาแหน่ง “ศูนยโ์ อหม์ ”บนสเกล การปรับค่าศูนยจ์ ะตอ้ งมีการกระทาทุกคร้ัง เม่ือจะใชว้ ดั ค่าความตา้ นทาน เพือ่ ค่าท่ีจะไดจ้ ากการวดั ที่ถกู ตอ้ ง โอห์มมิเตอร์แบบขนาน เป็นวงจรที่ประกอบแบตเตอร์ร่ีต่ออนั ดบั กบั ความตา้ นทานปรับคา่ ได้ และขดลวด เคลื่อนท่ีของมิเตอร์ แอมป์ มิเตอร์ เป็นอปุ กรณ์ท่ีใชว้ ดั กระแสไฟฟ้าซ่ึงดดั แปลงจากการนาความตา้ นทานที่มีค่านอ้ ยๆ มาต่อขนานเพื่อแบ่ง กระแสไม่ใหไ้ หลผา่ นแกลแวนอมิเตอร์มากเกินไปจนทาใหแ้ กลแวนอมิเตอร์พงั ได้ เม่ือเราต้องการวัดกระแสทม่ี ีค่ามากทาได้ดงั นี้ 1.นาความตา้ นทานต่อขนานกบั แกลแวนอมิเตอร์ 2.ความตา้ นทานตอ้ งมีค่านอ้ ยๆ เพื่อใหก้ ระแสมีความตา้ นทานมากๆ เพื่อช่วยลดกระแสท่ีจะไหลผา่ นแกล แวนอมิเตอร์

24 คณุ สมบตั ขิ องแอมมเิ ตอร์ท่ีดี 1.มีความแมน่ ยาสูงซ่ึงเกิดจากความตา้ นทานนอ้ ยๆมาต่อเพื่อวา่ เมื่อนาแอมมิเตอร์ไปต่ออนุกรมในวงจรแลว้ จะไม่ทาใหค้ วามตา้ นทานรวมของวงจรเปลี่ยนแปลงทาใหก้ ระแสท่ีวดั ไดม้ ีความแมน่ ยาสูงหรือมีความ ผดิ พลาดจากการวดั นอ้ ย 2.มีความไวสูงเมื่อความตา้ นทานมีค่านอ้ ยกระแสที่ไหลผา่ นจะมีค่ามากทาใหก้ ระแสที่ไหลผา่ นแกลแวนอ มิเตอร์มีค่านอ้ ยนน่ั คือแอมมิเตอร์ที่ดีจะสามารถตรวจวดั ค่ากระแสนอ้ ยไดก้ ล่าวคอื ถึงแมว้ งจรจะมีกระแส ไหลนอ้ ยแอมมิเตอร์ก็สามารถวดั คา่ ได้ แคลมป์ มิเตอร์ Clamp Meter (แคลมป์ มเิ ตอร์) เคร่ืองมือทางไฟฟ้าประเภทหน่ึงท่ีใชส้ าหรับวดั คา่ กระแสไฟฟ้าที่ไหลใน วงจรโดยไม่ตอ้ งหยดุ การทางานของอปุ กรณ์ไฟฟ้าในขณะท่ีทาการวดั โดยพ้นื ฐานหลกั การทางานจะใช้ หลกั การของสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้า เม่ือทาการคลอ้ งปากแคลมป์ เขา้ กบั สายไฟท่ีตอ้ งการวดั คา่ บริเวณ โดยรอบของสายไฟจะเกิดสนามแม่เหลก็ และปากแคลมป์ จะทาหนา้ ที่ตรวจจบั สนามแม่เหลก็ ที่เกิดข้ึน บริเวณโดยรอบสายไฟแลว้ นาสญั ญาณที่ไดส้ ่งผา่ นไปยงั วงจรต่างๆ และส่งไปยงั หนา้ จอแสดงผล

25 แคลมป์ มิเตอร์ท่ีใชก้ นั ในปัจจุบนั น้ีมีการแสดงผลดว้ ยกนั 2 แบบคือ แบบ Analog ที่แสดงผลดว้ ยเขม็ และ แบบ Digital ท่ีแสดงผลออกมาเป็นตวั เลข ซ่ึงแบบ Digital น้นั มีความแมน่ ยาและวดั คา่ ไดร้ วดเร็วกวา่ แบบ เขม็ และมีฟังกช์ นั การทางานท่ีหลากหลายมากกวา่ Clamp Meter สามารถวดั ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และไฟฟ้ากระแสสลบั (AC) ได้ ซ่ึงไฟฟ้ากระแสสลบั ท่ีวดั น้นั จะมีลกั ษณะของสญั ญาณเป็น Sine wave ในบางคร้ังสญั ญาณท่ีวดั อาจมีความถ่ีปะป่ นอยู่ (Harmonic) ใน การวดั ไฟฟ้ากระแสสลบั ตอ้ งมีการแปลงไฟฟ้ากระแสสลบั ใหเ้ ป็นไฟฟ้ากระแสตรงโดยใชส้ มการ RMS (root mean square) ภายในแคลมป์ มิเตอร์น้นั จะมีวงจรเรียงกระแส ซ่ึงมีดว้ ยกนั 2 วธิ ี คือ True RMS Method กบั Mean Method ซ่ึงอุปกรณ์ท่ีเป็นประเภท TRUE RMS น้นั จะมีความแม่นยาในการวดั มากกวา่ แบบ Mean เน่ืองจาก TRUE RMS ถกู ออกแบบมาใหพ้ ิจารณาแรงดนั ทกุ wave form แลว้ นาค่าน้นั เขา้ สมการ RMS เพือ่ อ่านค่า ส่วน อปุ กรณ์ที่เป็นประเภท Mean จะวดั ไดเ้ พยี ง wave form แบบ pure sine เท่าน้นั ในทอ้ ง

26 บทสรุป เคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าเบ้ืองตน้ ท่ีควรทราบ ไดแ้ ก่ มลั ติมิเตอร์ ซ่ึงถือไดว้ า่ เป็นเครื่องมือวดั ไฟฟ้าที่จาเป็น ต่อช่างไฟฟ้า ช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ และช่างที่จาเป็นตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั ปริมาณไฟฟ้าต่างๆ มลั ติมิเตอร์สามารถวดั ปริมาณไฟฟ้าไดห้ ลายชนิด มีราคาถูก เลก็ กะทดั รัด พกพาไปไดส้ ะดวก มลั ติมิเตอร์ที่ผลิตมาใชง้ านแบง่ ออก ไดเ้ ป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่ มลั ติมิเตอร์ชนิดแอนะลอ็ ก และมลั ติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล การวดั ปริมาณไฟฟ้าชนิดไฟตรง (DC) ไม่วา่ เป็นแรงดนั หรือกระแส ขณะตอ่ มลั ติมิเตอร์วดั วงจรไฟฟ้าน้นั ๆ ตอ้ งคานึงถึงข้วั ของมลั ติมิเตอร์ และข้วั แรงดนั ของแหล่งจ่ายในวงจร ตอ้ งเหมือนกนั โดยยดึ หลกั การตอ่ วดั ดงั น้ี ใกลบ้ วกต่อบวก ใกลล้ บต่อลบ จึงสามารถวดั ค่าปริมาณไฟฟ้าน้นั ๆ ได้ ส่วนปริมาณ ไฟฟ้าชนิดไฟสลบั (AC) ไมว่ า่ เป็นแรงดนั หรือกระแส ขณะตอ่ มลั ติมิเตอร์วดั วงจรไฟฟ้าน้นั ๆ ไมต่ อ้ ง คานึงถึงข้วั ของมลั ติมิเตอร์และข้วั แรงดนั ของแหล่งจ่ายในวงจร สิ่งสาคญั ที่ตอ้ งคานึงถึงก่อนนามลั ติมิเตอร์ไปใชง้ าน คือ การต้งั ยา่ นวดั ปริมาณไฟฟ้า ตอ้ งต้งั ยา่ นวดั ใหถ้ ูกตอ้ งตามชนิดของปริมาณไฟฟ้าน้นั ๆ เพราะ การต้งั ยา่ นวดั ผิดชนิดอาจมีผลทาให้ มลั ติมิเตอร์ชารุด เสียหายได้ และการต้งั ยา่ นวดั ในค่าท่ีเหมาะสมเป็นส่ิงจาเป็นเช่นกนั จะช่วยใหก้ ารอ่านค่าการวดั มีความ ถูกตอ้ งมากข้ึน การวดั ปริมาณไฟฟ้าบางชนิดตอ้ งทาการปรับแต่งมิเตอร์ก่อนการวดั ค่าเสมอ เช่น การวดั ความตา้ นทาน ซ่ึงการวดั จะถูกตอ้ งได้ ก่อนการวดั ค่าตอ้ งปรับแตง่ มิเตอร์ก่อนการใชง้ านทุกคร้ัง

27 อ้างองิ http://www.ayuttech.ac.th/2017/images/pdf/charuwat/Electronics-Instrument.pdf http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088452532_15051510103528.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook