12. ความเข้าใจผิดเก่ียวกบั การสรา้ งนวตั กรรม ความจริง ความเข้าใจผิด 1. การสรา้ งนวตั กรรมเป็นหน้าท่ีของแผนกวิจยั 1. นวตั กรรมอาจเกิดจากใครกไ็ ด้โดย และพฒั นา (R&D Department) ท่ีต้องมีการ ไมต่ ้องวางแผนอย่างเป็นทางการ วางแผนอย่างเป็ นทางการเท่านัน้ 2. เทคโนโลยีเป็นแรงผลกั ดนั และปัจจยั 2. ลกู ค้าหรือตลาดคือแรงผลกั ดนั และปัจจยั ความสาเรจ็ ของนวตั กรรม ความสาเรจ็ ของนวตั กรรม 3. มีความจาเป็นต้องมีการเตรียมความพรอ้ ม 3. การเตรียมความพร้อมทางวิชาการเป็นส่ิงที่ ทางเทคนิคหรอื วิชาการเป็นอย่างดี ดีแต่มกั ใช้เวลานานเกินไปการใช้กลยทุ ธ์ ทดลอง ทดสอบ และปรบั ปรงุ (try-test- revise) จะทาให้เกิดนวตั กรรมได้มากกว่า 4. โครงการขนาดใหญ่จะสร้างนวตั กรรมได้ดีกว่า 4. การทางานในกล่มุ ขนาดเลก็ จะสร้าง นวตั กรรมได้ดีและเรว็ กว่า
13. คณุ ลกั ษณะสาคญั ของนักนวตั กรรม เนื่องจากนวตั กรรมสร้างโดยนักนวตั กรรม (innovators cause innovation) คณุ ลกั ษณะสาคญั ของนักนวตั กรรม มี 10 ประการ คือ (1) มีความมงุ่ มนั่ และความขยนั หมนั่ เพียร (determination and perseverance) (2) มีแรงผลกั ดนั มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ (achievement drive) (3) ม่งุ เป้าประสงค์ (goal orientation) (4) เน้นการควบคมุ จากภายในตนเอง (internal locus of control) (5) มีความอดทนต่อความไมช่ ดั เจน (tolerance for ambiguity)
13. คณุ ลกั ษณะสาคญั ของนักนวตั กรรม (ต่อ) (6) มีความอดทนต่อความล้มเหลว (tolerance for failure) (7) มีความสามารถในการประเมินและการบริหารความเสี่ยง (calculated risk taking) (8) มีพลงั คณุ ภาพสงู (high energy level) (9) มีความคิดสรา้ งสรรค์ (creativity) (10) มีวิสยั ทศั น์ (vision)
14. การค้มุ ครองนวตั กรรมด้วยการจดสิทธิบตั ร สิทธิบตั ร (patent) คือ เอกสารทางกฎหมายท่ีตราไว้เพ่ือ คุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ และการออกแบบผลิตภณั ฑ์ ท่ีให้สิทธ์ิ เจ้าของในการผลิต ขาย ให้เช่า หรือแจกจ่ายในประเทศท่ีได้รบั การค้มุ ครอง
ภายใต้กฎหมายไทย สิทธิบัตร แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดงั นี้ ประเภท การคุ้มครอง 1. สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 1.1 การประดษิ ฐ์ลกั ษณะ องค์ประกอบ กลไก โครงสร้าง กระบวนการ หรือ กรรมวิธี ที่มี การใช้งานหรือ มปี ระโยชน์ใช้สอยทีต่ รงกบั เกณฑ์ 3 ข้อ คือ (1) เป็ นสิ่งประดษิ ฐ์ใหม่ (2) มขี ้ันการประดษิ ฐ์ทสี่ ูงขึน้ (3) สามารถใช้ในอุตสาหกรรมได้ 1.2 มีอายุ 20 ปี นับจากวันทย่ี ื่นจดสิทธิบตั รและ คุ้มครองในประเทศทยี่ ่ืนจดเท่าน้ัน
ประเภท การคุ้มครอง 2. อนุสิทธิบตั ร 2.1 การประดษิ ฐ์ลกั ษณะ องค์ประกอบ กลไก โครงสร้าง กระบวนการ หรือ กรรมวธิ ี ที่มี การใช้งานหรือ มีประโยชน์ใช้สอยทตี่ รงกบั เกณฑ์ 2 ข้อ คือ (1) มีความใหม่ (2) สามารถใช้ในอตุ สาหกรรมได้ 2.2 มีอายุ 6 ปี นับจากวนั ทย่ี ื่นจดและคุ้มครอง ในประเทศทย่ี ่ืนจดเท่าน้ัน สามารถยื่นต่ออายุ ได้ 2 คร้ัง คร้ังละ 2 ปี แต่ท้งั หมดไม่เกิน 10 ปี
ประเภท การคุ้มครอง 3. สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ์ 3.1 คุ้มครองรูปลกั ษณ์ ลวดลาย หรือ สีสันของ งานออกแบบผลติ ภัณฑ์ เท่าน้ัน (ไม่รวมการ ใช้งานหรือประโยชน์ใช้สอย) ตรงกบั เกณฑ์ 2 ข้อ คือ (1) มคี วามใหม่ (2) สามารถใช้ในอุตสาหกรรม หรือ งาน หัตกรรมได้ 3.2 มอี ายุ 10 ปี นับต้ังแต่วนั ทย่ี ื่นจดและได้รับ การคุ้มครองในประเทศทยี่ ่ืนจดเท่าน้ัน
ตัวอย่างสิทธิบตั ร 1. สิทธิบัตรการประดษิ ฐ์ 1.1 กรรมวธิ ีการผลติ ผงซักฟอกใหม่ทมี่ สี ่วนประกอบของสมุนไพร 1.2 ระบบไฮบริคใหม่ทใ่ี ช้พลงั งานไฮโตรเจนในเคร่ืองยนต์ 1.3 ระบบผลติ ไม้กอล์ฟแบบใช้ข้อมูลดจิ ติ อลมาประกอบการผลติ 2. อนุสิทธิบตั ร 2.1 จุลชีพ หรือสิ่งทส่ี กดั ออกมาจากพืชหรือสัตว์ 2.2 ทฤษฎีหรือกฎวทิ ยาศาสตร์/คณติ ศาสตร์ 2.3 ฐานข้อมูล โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3. สิทธิบัตรการออกแบบ 3.1 กระถางต้นไม้ทม่ี กี ้นเป็ นรูปทรงกลมมน 3.2 ตู้เยน็ ทมี่ รี ูปร่างคล้ายนกเพนกวนิ 3.3 รถจกั รยานยนต์ที่มคี วามหลากหลายดีไซน์แต่มกี ารใช้งานคล้ายกนั
Search