Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01รูปเล่ม CBL อำเภอบ้านผือ(กลุ่มที่ 1)

01รูปเล่ม CBL อำเภอบ้านผือ(กลุ่มที่ 1)

Published by MiddleLevel Public, 2022-08-09 02:34:31

Description: 01รูปเล่ม CBL อำเภอบ้านผือ(กลุ่มที่ 1)

Keywords: CBL-Banphue

Search

Read the Text Version

มาตรการปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุบนท้องถนน อำเภอบ้านผอื จงั หวัดอุดรธานี โดย ผเู้ ข้ารบั การอบรมหลกั สตู รผู้บรหิ ารการสาธารณสุข ระดบั กลาง รนุ่ ท่ี 35 กลมุ่ ท่ี 1 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี

คำนำ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ภายใต้แผน ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) นี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อน นโยบายสู่การปฏิบัติของ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้ บรรลุเป้าหมายประชาชนสุขภาพดี เจ้ำหน้ำที่มีความสุขระบบสุขภาพยั่งยืนอันจะนำพาประเทศไปสู่ ความมั่นคงมั่งค่ังยั่งยืน โดยวางกรอบแนวคิด ให้มีความเชือ่ มโยงกบั แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาลการปฏริ ปู ด้านสาธารณสุขปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 โดยแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ความเป็น เลิศ 4 ด้านของกระทรวง สาธารณสุขคือ 1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence) 2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) 3) ด้าน บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) และ 4) บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) รวมทัง้ หมด 14 แผนงาน 38 โครงการและ 65 ตัวชวี้ ดั เพ่อื สร้างความเข้าใจร่วมกันใน การ ดำเนินงานด้านสาธารณสุขใหแ้ ก่ทุกหนว่ ยงานในสงั กดั กระทระสาธารณสุข ในการนี้ คณะผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุข รุ่นที่ 35 กลุ่มที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชะนีอุดรธานี ได้ลงศึกษาบริบทพื้นที่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี จึง จัดทำเอกสารฉบับนี้เพื่อช่วยเสริมภาระกิจด้านการลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร ของประชาชนนในพ้ืนทอ่ี ำเภอบา้ นผือ ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เน้นหนัก ให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกันและใช้เป็นกรอบแนวทางการถ่ายทอดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้าน สุขภาพ สู่การปฏิบตั ขิ อง หน่วยงานในสังกัดทุกระดบั และขอขอบคุณคณะกรรมการและคณะทำงาน ทุกท่าน ตลอดจนหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน ที่ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำ เอกสารฉบบั นี้

กิตติกรรมประกาศ ผู้เข้าอบรมหลักสตู รผู้บรหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลางรุ่นที่ 35 กลุ่มที่ 1 ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.อเุ ทน หาแกว้ รองนายแพทยส์ าธารณสขุ จังหวดั อุดรธานี ทใี่ ห้คำชแี้ นะแนวทางในการ เรียนรู้โดยใช้ชุมชน เป็นฐาน (Community Base Leaning: CBL) นายวิมล สุระเสน นายอำเภอ บ้านผือ นายจักรพงษ์ ศรีราช สาธารณสุขอำเภอบ้านผือ นพ.ทวีรัชต์ ศรีกุลวงศ์ ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลบ้านผือ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลทกุ ตำบลและเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข ทุกท่าน ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.จิราพร วรวงศ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี และอาจารย์ ดร.เนตรนภา กาบมณี รอง ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี อาจารย์ท่ปี รึกษาประจำกลมุ่ ท่ี 1 ที่อนุเคราะห์ให้คำแนะนำ แนวทางในการศึกษาหาข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทำ รายงานหวงั เปน็ อย่างยิง่ ว่า รายงานฉบบั นจี้ ะเป็นประโยชน์แกผ่ ูน้ ำไปใช้ คณะผู้จัดทำ ปี พ.ศ.2565

สารบัญ หนา้ สารบญั (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) หลักการและเหตผุ ล 1 วธิ กี ารศึกษา 4 ผลการศกึ ษา 7 86 1.ขอ้ มูลท่วั ไป 10 2.วิเคราะห์สภาพปัญหา 9 10 3.การนำกลยทุ ธจ์ าก TOWS MATRIX สูก่ ารดำเนินแผนงาน 9 82 บรรณานกุ รม 85 ภาคผนวก 86 10 ภาคผนวก ก นวัตกรรม 9 ภาคผนวก ข คู่มือการใช้นวัตกรรม

สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 21 33 1 สาเหตุการป่วยของผปู้ ่วยนอก 5 ปีย้อนหลังโรงพยาบาลบา้ นผอื 33 2 สาเหตกุ ารป่วยของผปู้ ว่ ยใน 5 ปียอ้ นหลังโรงพยาบาลบา้ นผอื 47 3 อัตราปว่ ยโรคที่เฝา้ ระวงั ทางระบาดวิทยาอำเภอบ้านผือ 49 4 แสดงการจัดลำดบั ความสำคัญของปัญหา 55 5 การวิเคราะหป์ จั จัยภายในตามแบบ 7 S Model 59 6 การวเิ คราะห์ปัจจัยภายนอกตามแบบ PESTEL Model & HEP Model 61 7 การวิเคราะห์ สวอท. (SWOT Analysis) 61 8 การสังเคราะหท์ าวส์ (TOWS Matrix) 9 โครงการสรา้ งนวัตกรรม Mobile application

สารบญั ภาพ หนา้ ภาพที่ 16 20 1 แผนที่อำเภอบา้ นผอื 2 โครงสรา้ งประชากรจำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ



1 หลกั การและเหตผุ ล ด้วยวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี ได้จัดอบรมหลกั สตู รผูบ้ รหิ ารระดบั กลาง เพื่อมุ่ง พฒั นาสมรรถนะด้านการบรหิ ารของผู้บริหารสาธารณสขุ ระดบั กลาง ทางด้านสภาวะผนู้ ำ วิสยั ทัศน์การวางกลยทุ ธ์ ภาครัฐ ศักยภาพเพ่ือนำการปรับเปลยี่ นการควบคมุ ตนเองและการสอนงานและการมอบหมายงานครอบคลมุ ทักษะการปฏบิ ตั ิงาน ทกั ษะอารมณ์และทกั ษะการทำงานในยุคดิจทิ ัล ผ่านขบวนการแลกเปลยี่ นเรียนรูโ้ ดยใช้ ชุมชนเปน็ ฐานการเรียนรู้ (Community-based Learning : CBL)ภายใต้ความเชอ่ื ในคุณคา่ ของตนเองและผู้อ่ืน (Value-based) เพอื่ ใหส้ ามารถขับเคลื่อนองค์การ ไปสู่ความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีกำหนด กลุ่มที่ 1 ประกอบดว้ ย บคุ ลากรสาธารณสขุ หลากหลายทักษะและตำแหน่งงาน ซ่งึ ได้รับมอบหมายให้ศกึ ษาข้อมูลของอำเภอบ้านผือ จังหวัดอดุ รธานี เพอื่ สรา้ งยุทธศาสตรพ์ ฒั นาจุดแข็งแก้ไขจุดอ่อน โดยใช้องคป์ ระกอบของโอกาสและอุปสรรค ภายนอก ในการแก้ปัญหาตอ่ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ศึกษาข้อมูลของอำเภอบ้านผือ 2. เพอ่ื ค้นหาปัญหาสาธารณสขุ ในอำเภอบ้านผือ 3. เพ่ือสร้างกลยุทธใ์ นการแก้ไขปัญหาของอำเภอบ้านผือ วิธกี ารศึกษา 1. ศึกษาขอ้ มูลท่วั ไปของอำเภอบ้านผอื 2. วิเคราะห์สภาพปัญหาที่มีอยู่ 3. จัดลำดับความสำคัญของปญั หา (พัฒนาจาก คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล) 4. คน้ หาสาเหตขุ องปญั หาที่ใหค้ วามสำคญั 5. วิเคราะห์จดุ แข็งจดุ อ่อนโอกาสและอปุ สรรค ดว้ ยวิธกี าร SWOT Analysis โดยใช้เครอ่ื งมือ วิเคราะห์ปจั จยั ภายในดว้ ย 7S (McKinsey) และปจั จยั ภายนอกดว้ ย PESTEL (Thomas L. Wheelen and J. David Hunger, 2002) 6. สงั เคราะห์ TOWS Matrix เพ่ือหากลยทุ ธจ์ ากจุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค 7. เลอื กกลยุทธ์เพ่อื สร้างแผนปฏบิ ตั กิ าร/นวัตกรรม ผลการศึกษา 1. ขอ้ มูลทวั่ ไป คำขวัญ “แหล่งอารยธรรมภูพระบาท พระมหาธาตุเจดีย์ บารมีหลวงพ่อนาค หลายหลากพระเถระดศี รีบา้ นผือ เลอื่ งลือวฒั นธรรมไทยพวน” ลักษณะทั่วไป เปน็ ที่ราบสงู เชิง เขาภูพาน ประกอบดว้ ยทุ่งนา ป่าไม้ ภเู ขา พ้นื ท่ีเหมาะแก่การทำนา ทำไร่ ลำนำ้ ทส่ี ำคัญทห่ี ล่อเลีย้ งพน้ื ทม่ี ีหลายสาย แตเ่ ป็นสายเลก็ ๆ ที่สำคัญมหี ว้ ยน้ำโมง หรอื ลำน้ำโมง ไหลแต่ภูเขา ภูพานผ่านตำบลจำปาโมง ตำบลบ้านผอื ตำบลกลางใหญ่ ผ่านอำเภอทา่ บอ่ ไปออกแมน่ ำ้ โขง และมีลำนำ้ สายเลก็ อกี หลายสาย เชน่ ลำน้ำฟา้ ลำนำ้ งาว ลำน้ำซดี ลำน้ำสวย หว้ ยคกุ อำเภอบ้านผอื มีเทือกเขาภพู านเปน็ เทือกเขา หินทราย

2 อำเภอบา้ นผือ ตง้ั อยู่ทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ ของจังหวดั อุดรธานี หา่ งจากจังหวัดอดุ รธานีตามเส้นทาง หลวงจงั หวดั หมายเลข 2021 ระยะทาง 55 กโิ ลเมตร (เสน้ ทางสายอดุ ร-บา้ นผือ-น้ำโสม) มีพ้ืนที่ท้ังสน้ิ 9916 ตารางกิโลเมตร หรือ 619,375 ไร่ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับเขตการปกครองข้างเคยี งดังต่อไปนี้ ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ อำเภอนายูง อำเภอสงั คม และอำเภอโพธิ์ตาก (จังหวดั หนองคาย) ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ อำเภอท่าบ่ออำเภอสระใคร (จงั หวดั หนองคาย) อำเภอเพ็ญ และ อำเภอเมืองอดุ รธานี ทศิ ใต้ ติดต่อกับ อำเภอกดุ จบั ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ อำเภอสุวรรณคูหา(จังหวดั หนองบัวลำภู) และอำเภอนำ้ โสม รูปภาพท่ี 1 แผนท่อี ำเภอบ้านผือ อำเภอบา้ นผือ ประกอบดว้ ย 13 ตำบล 164 หมู่บา้ น 33,902 หลงั คาเรอื น ประชากร 109,811 คน เพศชาย 54,826 คน เพศหญงิ 54,985 คน ความหนาแนน่ ของประชากร 110.35 คน/ตร.กม. เทศบาล ตำบล 3 แหง่ องค์การบริหารส่วนตำบล 11 แห่ง มโี รงพยาบาลบา้ นผือ ขนาด 90 เตียง เปิดให้บริการ 110 เตียง (M2) 1 แหง่ PCU 1 แห่ง โรงพยาบส่งเสรมิ สุขภาพตำบล 20 แห่ง ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี ทางการเกษตรกรรม มีพืน้ ท่ีทำการเกษตรท้ังสน้ิ 431,344 ไร่ ครัวเรอื นเกษตรกร จำนวน 17,900 ครอบครัว 85,258 คน สภาพการผลติ พชื เศรษฐกจิ ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ข้าว อ้อย ยางพารา มนั สำปะหลงั กลมุ่ ประชากรทีส่ ำคัญ อายตุ ่ำกว่า 1 ปี 767 คน กลมุ่ อายุ 35-60 ปี 38,505 คน สตรี 30-60 ปี 23,524 คน ผู้สงู อาย1ุ 6,419 คน ผู้สูงอายุ 100 ปีขน้ึ ไป จำนวน 19 คน ปัญหาสขุ ภาพอำเภอบา้ นผือ

3 รูปภาพท่ี 2 โครงสร้างประชากรจำแนกตามเพศและกล่มุ อายุ สถานการณแ์ ละแนวโนน้ ด้านสุขภาพของประชาชนอำเภอบา้ นผอื สาเหตกุ ารป่วยของผู้ป่วยนอก ตารางท่ี 1 สาเหตุการปว่ ยของผปู้ ว่ ยนอก 5 ปยี ้อนหลังโรงพยาบาลบ้านผือ ที่มา : งานเวชระเบยี นและสถิติ ณ 30 มถิ ุนายน 2565 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน ตารางท่ี 2 สาเหตุการป่วยของผ้ปู ่วยใน 5 ปีย้อนหลงั โรงพยาบาลบา้ นผือ ทีม่ า : งานเวชระเบยี นและสถติ ิ ณ 30 มิถุนายน 2565

4 โรคท่เี ฝา้ ระวงั ทางระบาดวทิ ยา ตารางที่ 3 อตั ราป่วยโรคทีเ่ ฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยาอำเภอบา้ นผอื ทีม่ า : โปรแกรมเฝา้ ระวงั ทางระบาดวิทยา(R506) อำเภอบ้านผอื 2.วิเคราะหส์ ภาพปญั หา จากการวเิ คราะห์ข้อมูลปัญหาดา้ นสุขภาพของประชาชนอำเภอบา้ นผือ พบวา่ มีปัญหาโรคอุจจาระร่วง โรคไม่ตดิ ต่อ Covid 19 อบุ ัติเหตุทางถนน ไขเ้ ลอื ดออก ยาเสพติด ซงึ่ สอดคล้องกบั ปัญหาของคณะกรรมการ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอำเภอ ประกอบดว้ ย 1. โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) 2. อบุ ตั ิเหตทุ างถนน 3. ไข้เลือดออก 4. ยาเสพตดิ 5. ภูมทิ ศั น์ชุมชน กลมุ่ ที่ 1 ได้ระดมความคิดเห็นสมควรนำปัญหาของ คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดบั อำเภอมา วิเคราะหก์ ลยทุ ธ์เพื่อพัฒนาส่งเสริมแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่มี ีอยู่เพราะมีความร่วมมือของภาคีเครือข่ายเปน็ ทุนเดิมจึงได้จดั ลำดับความสำคัญของปัญหาตามตารางที่ 4 ดงั น้ี ตารางที่ 4 แสดงการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ลำดบั ประเด็น ขนาด ความรนุ แรง ความร่วมมือ รวม อันดับ 1 Covid 19 ลอ้ ตามนโยบายชาติ 2 ไข้เลือดออก 30 4 73 3 อบุ ตั ิเหตุจราจร 5 5 4 14 1 4 ยาเสพตดิ 54 2 11 2 5 ปรบั ภมู ิทัศน์ ประเด็นเสรมิ ตาม พชอ. ประยุกตใ์ ช้จากคณะสาธารณสขุ ศาสตรม์ หาวิทยาลยั มหดิ ล

5 จากตารางที่ 4 พบว่าปัญหาอุบตั เิ หตจุ ราจรมขี นาดความรุนแรงและความร่วมมือเปน็ อันดับท่ี 1 จงึ ได้ นำมาวเิ คราะห์เพื่อหากลยทุ ธ์ตอ่ ไป การวิเคราะห์รากเหง้าของปัญหา ประยกุ ต์ใช้แนวคิดหลกั ระบาดวิทยาของดร.จอห์น กอร์ดอน (อ้างถึงใน สวณี เต็งรงั สรรค์, ๒๕๕๑) ได้เปน็ ผทู้ ีค่ ิดเปรยี บเทยี บความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ ที่ทำให้เกิดโรคโฮสทแ์ ละสง่ิ แวดล้อม โดยเปรียบเทียบปจั จยั ท้ังสาม เหมอื นกบั การเลน่ ไม้กระดกมีส่ิงทที่ ำให้เกิดโรค (Agent) ซ่ึงเปรยี บเทียบได้กบั รถท่ีทำใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุรวมถึงแรง กระแทกจากท้องถนนและโฮสท์ (Host) คือผู้ใชร้ ถใชถ้ นน เป็นนำ้ หนักอยสู่ องข้างและมีสิ่งแวดลอ้ ม (Environment) ซ่งึ คือถนน แสงสวา่ ง ทศั นวิสัย เปน็ ฟัลครมั อยู่ตรงกงึ่ กลางซ่ึงมีความสัมพนั ธ์ดังน้ี 1. ปัจจยั ด้านคน ผู้ประสบเหตุทเี่ สียชวี ติ สว่ นใหญ่กลมุ่ อายุ 10-29 ปี คิดเป็นร้อยละ 57.14 และส่วนใหญ่มีอาชพี รบั จ้าง นักเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 60 ผเู้ สียชวี ติ สว่ นใหญ่ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขบั ขี่ยานพาหนะ คิดเป็นร้อยละ 43 ดม่ื เครือ่ งดื่มที่มีแอลกอฮอล์ขณะขับข่ียานพาหนะ คิดเปน็ ร้อยละ 32.43 ขับขยี่ านพาหนะความเรว็ เกินกฎหมาย กำหนด คดิ เป็นร้อยละ 21.62 ผเู้ สียชีวติ เป็นคนในพ้ืนท่ี คิดเป็นร้อยละ 95.65 ผู้เสียชวี ติ เป็นเพศชาย คดิ เป็น รอ้ ยละ 86.96 เสยี ชวี ิตท่จี ดุ เกดิ เหตุ คิดเปน็ ร้อยละ 52.17 2. ปัจจัยด้านรถ อุบตั เิ หตสุ ว่ นใหญเ่ กิดจากรถจักรยานยนต์ คิดเป็นร้อยละ 86.95 รถกระบะ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.70 รถการเกษตร คดิ เป็นร้อยละ 4.35 ตามลำดบั 3. สภาพแวดลอ้ มในการขับข่ี ขอ้ มูลจากการสมั ภาษณ์พบว่า ถนนเสน้ ทางรองไม่มไี หล่ทาง แคบ ถนนมืด (ส่วนใหญ่เกดิ อุบตั เิ หตุใน ชว่ งเวลา16.00 น. – 20.00 น. ) บางจุดมีหญา้ วัชพืชและปา้ ยบดบงั ทศั นวิสยั จุดเกิดเหตุเป็นทางตรง คิดเป็น ร้อยละ 60.87 ตารางที่ 5 การวิเคราะหป์ จั จัยภายในตามแบบ 7 S Model 7 S Strength Weakness Model การปฏบิ ตั ติ ามแผนไมค่ รบถ้วน ไม่ครอบคลมุ 1. 1.แผนกลยทุ ธข์ ององค์กรทีช่ ัดเจน เนอ่ื งจากการระบาดของโรคโควดิ -19 Strategy 2.แผนปฏบิ ัตกิ ารสอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ 1. โครงสร้างเป็นแบบ Top down ต้องใชเ้ วลา และคา่ นยิ มขององคก์ ร ตัดสินใจ 3.ผ้บู ริหารใหค้ วามสำคัญต่อยุทธศาสตร์ 2. เปลี่ยนผู้รบั ผิดชอบงานบอ่ ย 2. 1.โครงสร้างองคก์ าร เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของ Structure บคุ ลากร ในเครือข่าย 2.มกี ารแบง่ ผู้รบั ผิดชอบงานแต่ละงานทช่ี ัดเจน 3. 1. มรี ะบบข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศทาง 1. ระบบการตดิ ตาม ประเมินผล ยงั ไม่มคี วามต่อเนื่อง System การแพทย์ ทำใหข้ าดความชัดเจนในการประเมินผลงานท่ีชดั เจน 2. มีระบบบรหิ ารยาและเวชภณั ฑ์ 2. หนว่ ยงานขาดการคนื ข้อมูลท่ีถูกวิเคราะห์แล้วแก่ 3. มีรบบบรหิ ารทางการเงนิ การคลงั พน้ื ที่

6 7S Strength Weakness Model 4. Staff 4. มแี นวทางการให้บรกิ ารท่เี ปน็ มาตรฐาน 5. Skill เดยี วกัน บุคลากรมีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ 6. Style ในการปฏิบัตหิ น้าท่ี ในความรับผิดชอบ 1. บุคลากรมีทกั ษะ ความเช่ยี วชาญในการปฏิบตั ิ 7. Share หนา้ ที่ในความรบั ผิดชอบ Value 2. มบี คุ ลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้าน 3. มกี ารฟ้ืนฟูความร้แู กบ่ ุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุก ระดับอยา่ งต่อเน่ือง 1. ผูบ้ ริหารยินดีรับฟังความคิดเห็นของ ผ้ใู ต้บังคับบญั ชา 2. มีการส่งเสรมิ ผ้ใู ต้บังคับบัญชามีสว่ นรว่ มกับ กจิ กรรม 3. ผูบ้ ริหารให้ความสำคัญกบั การพัฒนางาน อุบตั ิเหตุ 1. วิสัยทศั น์/พันธกจิ องค์กรเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร ชัดเจนที่บุคลากรทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการกำหนด 2. มกี ารกำกบั ตดิ ตาม การปฏิบัตติ ามพนั ธกจิ เพ่ือองค์กร ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ปจั จัยภายนอกตามแบบ PESTEL Model & HEP Model PESTEL Opportunity Threat Model Politics 1. มนี โยบายและมาตรการด้านสขุ ภาพใน 1. ไดร้ ับมอบหมายนโยบายเร่งด่วน ที่ไมม่ ีอยแู่ ผนปฏิบัติ Economic ระดับท้องถน่ิ การในปีงบประมาณ Social 2. พรบ.ผปู้ ระสบภยั จากรถ 3. เป็นประเด็น พชอ. 1. ประชาชนส่วนใหญม่ ีอาชพี ทางด้าน 1. ค่าใชจ้ ่ายในการให้บรกิ าร รกั ษาสุขภาพของประชาชน เกษตรกรรม รบั จา้ ง มตี น้ ทุนสูงเพิ่มข้ึน 2. ภาวะเงินเฟอ้ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการครองชพี สงู รายได้ น้อย 1. อปท. มคี วามเขม้ แขง้ มเี ครือขา่ ย ทำ งานบญุ ประเพณี ประจำถน่ิ ให้การตดิ ต่อประสานงานไดร้ วดเรว็ ทั่วถงึ 2. ภาคีเครอื ขา่ ยด้านเอกชน และภาครฐั มี ความเข็มแข็ง

7 3. กองทนุ สขุ ภาพตำบล ที่เข้มแขง็ และ บรหิ ารจัดการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ Technology มอี ปุ กรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ 1. สัญญาณอนิ เตอร์เน็ตไม่ท่วั ถงึ คอมพวิ เตอร์ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ต 2. ประชาชนในพืน้ ทีม่ ีความรู้ในดา้ นเทคโนโลยีน้อย เพียงพอ Environment 1.มีการบรหิ ารจัดการพน้ื ท่สี ำหรับอยู่ 1. ถนนเสน้ ทางรอง 2 ช่องจราจรไมม่ ีไหล่ทาง/ไหล่ทาง อาศัย พื้นท่ีเกษตร พื้นทป่ี ศุสัตว์ แคบ แสงสวา่ งไม่เพยี งพอ 2. การคมนาคมสำหรับเดินทางระหว่าง 2.มีนกั ทอ่ งเที่ยวเข้ามาในเขตพ้ืนท่ีในชว่ งเทศกาลจำนวน จังหวดั อำเภอ หม่บู ้าน มีความสะดวก มากเสี่ยงต่อการเกิดอุบตั เิ หตุจราจร Law 1. มีมาตรการทางสงั คม เจ้าหนา้ ที่ผบู้ ังคบั ใช้กม. เลือกปฏบิ ตั ิ 2. กฎหมายบงั คบั 3. มธี รรมนญู หมู่บา้ น HEP Model Opportunity Threat Health 1. มนี โยบายสง่ เสริมสขุ ภาพประชาชนใน ประชาชนไม่เคารพกฎหมายจราจร ชมุ ชนท้องถ่นิ 2. มีเครอื ข่ายป้องกัน ดูแลสขุ ภาพใน ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ 3. มกี ารจัดการระบบบรกิ ารดแู ลสขุ ภาพ ใหป้ ระชาชนได้รบั ความสะดวก เขา้ ถงึ บรกิ ารได้ง่ายและทวั่ ถงึ 4. มจี นท. อสม. เพ่ือช่วยในการบริหาร จดั การดแู ลสุขภาพประชาชนเบือ้ งต้นครบ ทุกตำบล Environment 1.มีการบรหิ ารจัดการพื้นทีส่ ำหรับอยู่ มเี ขตพ้นื ทรี่ อยตอ่ ระหว่างอำเภอและใกลเ้ ขตประเทศลาว อาศัย พ้ืนที่เกษตร พ้ืนทีป่ ศุสัตว์ ทำใหเ้ ป็นปัญหาอปุ สรรคในการบรกิ ารสขุ ภาพ สิทธิการ 2. การคมนาคมสำหรบั เดินทางระหวา่ ง รกั ษาพยาบาล จงั หวัด อำเภอ หม่บู า้ น มีความสะดวก 3.เสน้ ทางรอง 2 ชอ่ งไม่มไี หล่ทาง แสง สวา่ งไม่เพียงพอ People 1. ประชาชนขาดความตระหนักในการ ประชาชนเข้าถงึ การดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์มากข้นึ ปฏิบัตติ ามกฎจราจร เชน่ ไม่สวมหมวก กนั น๊อค 2. ประชาชนมพี ฤตกิ รรมการดืม่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลม์ ากขน้ึ 3. ประชาชนมีการใช้รถจักรยานยนตแ์ ละ รถยนต์เพมิ่ มากขนึ้

8 ตารางท่ี 7 การวเิ คราะห์ สวอท. (SWOT Analysis) จุดแข็ง S จดุ ออ่ น W - แผนยทุ ธศาสตร์ดา้ นอบุ ตั เิ หตทุ ่ชี ัดเจน S1 -แผนยทุ ธศาสตร์ไม่ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเป้าหมาย W1 - คำสัง่ มอบหมายงานท่ชี ดั เจน S2 -ผู้รบั ผดิ ชอบงาน EMS มจี ำนวนไม่เพยี งพอต่อภาระ -บคุ ลากรดา้ นฉุกเฉนิ มีจำนวนครบถ้วน ตามโครงสร้าง งาน W2 S3 -บคุ ลากรดา้ นสารสนเทศมีจำนวนไม่เพยี งพอ W3 -มรี ะบบสารสนเทศด้านสาธารณสขุ สุขภาพท่ีทนั สมัย - ระบบคำสั่งสว่ นใหญเ่ ปน็ แบบบนลงลา่ ง ทำใหม้ ี S4 ความล่าช้าในการตัดสินใจตอ่ เหตุการณฉ์ ุกเฉิน W4 -บคุ ลากรมที ักษะในการให้บริการและมกี ารอบรม -การบนั ทกึ ขอ้ มูลในระบบ IS มีหัวขอ้ และรายละเอียด ฟน้ื ฟูตามมาตรฐาน S5 สำคัญจำนวนมาก เนื่องจากต้องนำไปใช้ทำรายงาน -ผูบ้ ริหารทกุ ระดบั ในพนื้ ท่ยี อมรับฟังข้อเสนอแนะของ ตามมาตรฐาน W5 ผใู้ ต้บังคับบัญชา S6 -การเขา้ ถึงระบบ IS มคี วามยุ่งยาก ซบั ซ้อน ตอ้ งมกี าร -การปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี ช้รูปแบบการทำงานแบบมีส่วนรว่ ม ระบแุ ละยนื ยนั ตวั ตนผรู้ ับผิดชอบการใชง้ านระบบ IS S7 W6 -วธิ ีการปอ้ งกันอุบตั เิ หตุ มีทิศทางเดียวกัน S8 -ภูมิทศั นใ์ นพ้ืนทยี่ งั มีมมุ อบั และพนื้ ทีเ่ ส่ยี งทตี่ ้องได้รบั -มีช่องทางการสื่อสารเฉพาะกล่มุ งาน เช่น Line กล่มุ การปรบั ปรุง W7 SRRT, กลมุ่ หมอครอบครัว,FB : เครอื ขา่ ยนักปฏบิ ตั ิ -ไม่มปี ระสทิ ธิภาพในการสอ่ื สารในพืน้ ที่ท่เี ปน็ รอยต่อ รพ.บา้ นผือ S9 เรื่องส่งต่อผูป้ ว่ ยฉุกเฉิน W8 - การส่ือสารประชาสมั พนั ธ์เรอื่ งการดำเนนิ งานดา้ น การแก้ไขปญั หาอุบตั เิ หตทุ างทอ้ งถนนและการขับข่ี อย่างปลอดภัยยังไม่ครอบคลุมกลุม่ เปา้ หมาย โดยเฉพาะกลมุ่ เสย่ี งในพืน้ ท่ี W9 โอกาส O อุปสรรค T -มีนโยบายระดบั ชาติในการป้องกันอุบตั เิ หตุ O1 -ยังมีประชาชนไมป่ ฏบิ ัตติ ามกฎจราจร T1 -อปท.ใหค้ วามร่วมมือในงานป้องกันอุบัตเิ หตุ O2 -ประชาชนขาดความตระหนักในการขับขปี่ ลอดภยั -ระบบ IT ทันสมยั ครอบคลุมพ้ืนที่ O3 T2 -ประชาชน มีสว่ นร่วมคิด ร่วมทำ รว่ มรบั ผิดชอบใน -สภาพถนนเอื้อตอ่ การเกดิ อบุ ัติเหต(ุ มดื ก่อสร้าง บด มาตรการ หรอื ระเบยี บของภาครัฐ คณะกรรมการ บังทศั นยี ภาพ) T3 หมู่บา้ น O4 -ช่องทางการแจง้ เหตซุ ับซอ้ นหลายขัน้ ตอน T4 -ประชาชน มสี ่วนร่วมในการปฏิบตั งิ านกู้ชพี O5

9 ตารางที่ 8 การสงั เคราะห์ทาวส์ (TOWS Matrix) กลยทุ ธเ์ ชงิ รกุ SO กลยทุ ธ์เชิงแกไ้ ข WO - พฒั นาตำบลต้นแบบขบั ข่ปี ลอดภัยลดอบุ ตั ิเหตทุ าง สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือและกลไกการทำงานแบบ ทอ้ งถนนสู่คณุ ภาพชีวติ คนบา้ นผอื (BAN PHUE RTI บูรณาการท่ีมีประสิทธภิ าพกับหน่วยงานภาคีเครือขา่ ย Model) (S2 S7 S8 O1 O2 O4 O5) ทกุ ภาคสว่ น ในการแกไ้ ขปญั หาอุบัตเิ หตทุ างถนน - พฒั นาระบบการแจง้ เหตุอุบัติเหตทุ างถนนในชุมชน (W5 W6 W8 W9 O1 O3 O4 O5) ผ่านmobile application (ลดเหตุแรง แจง้ เหตุไว ลด อบุ ัตภิ ยั ทางท้องถนน) (S3 S9 O3) กลยทุ ธเ์ ชงิ รับ ST กลยทุ ธ์เชิงปอ้ งกนั WT พฒั นาวิธีการในการแจ้งเหตุอุบตั ิเหตุทางท้องถนน สรา้ งความตระหนักร้เู รอื่ งการขับข่ีปลอดภยั ให้กับ ใหแ้ กท่ ีมและภาคีเครือข่ายและประชาชนทัว่ ไป (S3 ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสย่ี ง (W7 T1 T2 T3) S4 S5 S6 S7 T4) ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ดังนี้ แผนปฏบิ ัตริ าชการดา้ นสาธารณสุข คปสอ.บา้ นผือ ปีงบประมาณ 2566 1.ยุทธศาสตร์กระทรวง ดา้ นสง่ เสรสิ ุขภาพปอ้ งกนั และคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค (PP&P Excellence) และ ยทุ ธศาสตรด์ ้านบรกิ าร (Service Excellence) 2.ยุทธศาสตร์ สสจ.อุดรธานี ดา้ นส่งเสริสขุ ภาพปอ้ งกนั และค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค (PP&P Excellence) และ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นบรกิ าร (Service Excellence) 3.ประเดน็ มงุ่ เน้น สสจ.อุดรธานี Post crash RTI, ECS 4.ตัวชวี้ ดั สสจ.อุดรธานี 1.อัตราตายอุบัตเิ หตุถนนไมเ่ กิน 20/แสน ปชก 2.ลดการบาดเจ็บและเสียชวี ติ ในกล่มุ อาย1ุ 0-19ปี 10% 3.อัตราการเสยี ชีวิตผู้ป่วยวิกฤตฉิ ุกเฉนิ ภายใน 24 ชม.<8% 4.ปชก.เขา้ ถึงบรกิ าร แพทยฉ์ ุกเฉนิ 60 % 5.ผปู้ ว่ ยฉุกเฉินเข้าถงึ ACLS 30% 6.อบุ ตั ิเหตุฉุกเฉินของรถ Ambulance =0 7.ร้อยละ การสง่ ต่อผปู้ ว่ ยนอกเขตสุขภาพลดลงรอ้ ยละ100 8.รอ้ ยละ รพศ.ผ่านเกณฑ์คุณภาพร้อยละ100 9.ตำบลมีการ ดำเนินงานคุณภาพตามแบบ Swiss Cheese Model 5.ยทุ ธศาสตร์ คปสอ.บ้านผือ ยทุ ธศาสตรบ์ ริหารเปน็ เลิศดา้ นธรรมาภิบาล ( Governance Excellence ) 6.ประเด็นมุ่งเน้น RTI,EMS,ER,REfer 7.ตัวช้วี ดั คปสอ.บ้านผือ Post crash RTI, ECS

การนำกลยทุ ธจ์ าก TOWS MATRIX สู่การดำเนนิ แผนงาน ตารางท่ี 9 โครงการสร้างนวัตกรรม mobile application (ลดเหตแุ รง แจ้งเหตุไว ลด แผนงาน/โครงการ วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย สร้างนวัตกรรม mobile เพือ่ เพ่ิมช่อทางการ ประชาชนอำเภอ 1.วเิ คราะห์สำ application (ลดเหตุแรง สือ่ สารใหก้ ับ บา้ นผือ และผู้ 2.ประชุมออก แจง้ เหตไุ ว ลดอุบตั ภิ ัยทาง ประชาชนในการ ประสบเหตุทาง 3.สร้างนวตั ก ท้องถนน) แจ้งเหตุอุบตั ิเหตุ ถนนในเขต 4.ประชาสมั พ ทางท้องถนน อำเภอบา้ นผือ 5.สำรวจจุดเส 6.ตดิ QR co

10 ดอบุ ัตภิ ัยทางท้องถนน) ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ วิธีการดำเนินงาน ไตร ไตร ไตร ไตร ำรวจความจำเปน็ ในการใชน้ วตกรรม กแบบ mobile application (prototype) มาส มาส มาส มาส กรรม mobile application พันธ์ให้ความร้ใู นการใช้งานแก่ประชาชน 1234 สีย่ งตา่ งๆ ode ตามจดุ เสย่ี งตา่ งๆ คปสอ.บา้ นผอื



11

12 บรรณานุกรม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบ้านผือ. แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัตริ าชการดา้ นสาธารณสขุ . 2565 เอกกมล เอย่ี มศรี. (2563). กรอบแนวคดิ 7s McKinsey. สืบคน้ เม่อื 12 มกราคม 2563, จาก https://eiamsri.wordpress.com/2011/07/15/กรอบแนวคดิ -7s-mckinsey/ แนวคดิ PESTEL Model & HEP Model การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา การวเิ คราะห์ สวอท. (SWOT Analysis) Thomas L. Wheelen and J. David Hunger, 2002

13 ภาคผนวก

14 นวตั กรรม “ลดเหตแุ รง แจ้งเหตุไว ถนนบา้ นผอื ปลอดภยั ” ความเป็นมา อุบัติเหตทุ างถนนเปน็ หน่ึงในปัญหาสำคัญระดบั ชาติท่ีส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชากรใน ประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก แต่ละปีมีผู้ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรประมาณ 1.2 ล้านคน และ บาดเจ็บประมาณ 50 ล้านคน จากสถติ ขิ ององค์การอนามยั โลก พบวา่ การบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุจราจรเปน็ สาเหตุ การตายอันดับที่ 2 ของประชากรทั่วโลก จากรายงานสถานการณโ์ ลกด้านความปลอดภัยทางถนน ปี พ.ศ.2561 (Global Report on Road Safety 2018) โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า การบาดเจ็บและสูญเสียชีวิต จากอุบัตเิ หตุทางถนนมีแนวโนม้ เพ่ิมข้ึนโดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนา จากฐานขอ้ มูลของปี พ.ศ. 2556 พบว่า อตั ราผเู้ สียชีวติ บนท้องถนนสูงถึง 1.25 ล้านคนตอ่ ปี และการบาดเจ็บ และสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของ ประเทศไทย ติดอันดับ 2 ของโลกโดยมีผู้เสียชีวิต 36.2 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน หรือเฉลี่ยปีละ 24,326 คน นอกจากนี้ยังพบว่า อัตราผู้เสียชีวิตบนท้องถนนเพิ่มขึ้นเป็น 1.35 ล้านคนต่อปี กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมาก ทส่ี ดุ อายุระหว่าง 5-14 ปี และเยาวชนอายุ 15-29 ปี โดยประเทศไทยตดิ อันดบั 9 ของโลก และมปี ระมาณการ ผู้เสียชีวิต 32.7 ตอ่ ประชากรหน่ึงแสนคน (60 คนตอ่ วัน) คดิ เป็นจานวนเฉล่ียปีละ 22,491 คน (สำนักนโยบาย และแผนการขนสง่ และการจราจร, 2562) ด้วยในปัจจุบันสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนนมแี นวโน้มเพิ่มข้ึน และทวีความรุนแรงอย่างต่อเน่อื ง ก่อให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในทุกพื้นที่ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคม โดยรวม ซึ่งพบว่าประชาชนมีการใช้รถ ใช้ถนนเป็นจานวนเพิ่มขึ้น ทาให้ปริมาณการจราจร บนถนนทางหลวงสาย ตา่ ง ๆ หนาแน่น และมคี วามเส่ียงตอ่ การเกดิ อุบตั ิเหตุ สงู มากขึน้ เรอื่ ย ๆ ดงั น้นั เพือ่ ใหก้ ารป้องกนั และแก้ไขปัญหา อุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ ให้ลดความสูญเสียจากการบาดเจ็บ เสียชีวิต ทรัพย์สินจากอุบัติเหตุทางถนน ให้ลดลง เหลือน้อยที่สุด และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (https://dip.ddc.moph.go.th/new/IS61-65, สำนักนโยบาย และแผนการขนสง่ และการจราจร, 2563) ในช่วง 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2565 จากข้อมูลผลการดำเนินงานอบุ ัตเิ หตุฉกุ เฉิน โรงพยาบาลบ้านผือ จังหวดั อุดรธานี พบวา่ มีอุบตั ิเหตุทางถนน (Road Traffic Injury: RTI) ท้งั หมด 457 ครง้ั มผี บู้ าดเจบ็ 548 ราย เสียชีวิต 23 ราย คิดเป็น 20.82 ต่อแสนประชากร (ตัวชี้วัดกำหนดอัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร) ในตำบลบ้านผือ มีอัตราตายมากกว่า 18 ต่อแสนประชากร (สูงที่สุดใน 13 ตำบล และมี 2 ตำบล คือ ตำบลจำปาโมงและตำบลหนองหัวคู ไม่มีผู้เสียชวี ิต) ความรุนแรงส่วนใหญ่เสยี ชีวิตท่ีจุดเกิดเหตุ ร้อยละ 52.17 (12 ราย) ผู้เสยี ชวี ติ สว่ นใหญเ่ ป็นเพศชาย ร้อยละ 86.96 (20 ราย) ส่วนใหญ่เปน็ คนในพื้นที่อำเภอบ้าน ผือ ร้อยละ 95.65 (22 ราย) ยานพาหนะประเภทรถจักรยานยนต์เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด ร้อยละ 86.95 (20 ราย) และเป็นผขู้ บั ข่ี รอ้ ยละ 91.3 (21 ราย) และเกดิ เหตุในจดุ ทางตรงเปน็ จำนวนมากท่ีสุด รอ้ ยละ 60.87 (14 ราย) เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดในช่วงเวลา 16.01-20.00 น. ร้อยละ 43.47 (10 ราย) ส่วนใหญ่ของผู้เสียชีวิตมี อายุช่วงระหว่าง 10-19 ปี ร้อยละ 33.33 (7 ราย) โดยไม่สวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 4.25 (16 ราย) ผู้เสียชีวติ เมาแล้วขับ ร้อยละ 32.43 (12 ราย) โดยมีกิจกรรมดำเนินงานเพื่อลดและปอ้ งกันอุบัติเหตุทางถนน อำเภอบ้าน ผือ ไดแ้ ก่ -พัฒนาคุณภาพในการดแู ลผปู้ ่วย Pre-Hos,In-Hos,Post-Hos -พัฒนาสมรรถนะของผู้ปฏบิ ตั ิการฉุกเฉิน (EMR,ENP,RN,AEMT) -ประชุมสอบสวนเหตุ -MM Conference ทบทวน case ท่ีมีปัญหาในการดแู ล

15 -ปรับปรุงกระบวนการทางานในข้นั ตอนที่ล่าช้า/มปี ัญหา -ซอ้ มแผนอุบัตเิ หตหุ มู่ -ระบบข้อมูล (Injury Surveillance System: IS, Public Health Emergency Response: PHER) จากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น ได้พบปัจจัยความสำเร็จในด้านการทำงานเป็นทีมร่วมกับภาคี เครือข่าย ทีมบุคลากรเข็มแข็งในความร่วมมือกันดำเนินกิจกรรม เกิดการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่องสำหรับ บุคลากรในองค์กร โดยมีข้อเสนอแนะให้เพิ่มการเข้าถึงบริการ 1669 และการพัฒนาระบบข้อมูลผู้บาดเจ็บ (IS, PHER) นอกจากนี้จากการวิเคราะห์ SWOT ในด้านสุขภาพตามยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและ คมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค (PP&P Excellence) ตามตัวชว้ี ดั (KPI) ดังน้ี 1. อัตราตายดว้ ยอบุ ัติเหตุทางถนนไมเ่ กิน 18 ตอ่ แสนประชากร 2. ลดการบาดเจ็บและเสยี ชีวิตในกลุม่ อายุ10-19ปี ร้อยละ10 3. อัตราการเสยี ชีวติ ของผปู้ ่วยวิกฤตฉุกเฉนิ ภายใน24ชม<รอ้ ยละ8 4. ประชากรเขา้ ถงึ บริการการแพทย์ฉุกเฉินร้อยละ80 5. ผู้ป่วยวกิ ฤตฉุกเฉนิ (สีแดง) เขา้ ถึงบริการ ALS ร้อยละ30 6. อบุ ตั ิเหตทุ างถนนของรถ Ambulance ขณะขนย้ายผ้ปู ่วยเปน็ ศูนย์ 7. รอ้ ยละการส่งต่อผูป้ ่วยนอกเขตสขุ ภาพลดลงรอ้ ยละ100 8. ร้อยละของโรงพยาบาลศนู ย์ ผา่ นเกณฑ์คุณภาพรอ้ ยละ100 9.ตำบลมีการดำเนนิ งานตาม Swiss Cheese Model ภายใตก้ ลยทุ ธ์ “พฒั นาวธิ กี ารในการแจง้ อุบัติเหตุทางท้องถนน ใหแ้ กท่ ีมและภาคเี ครือข่ายและประชาชน ทั่วไป” เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการแจ้งให้มีคุณภาพ จึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนานวัตกรรมเป็นมาตรการหลักใน การดำเนินการโดยมีการประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ผสมผสานกับเทคโนโลยีกลุ่มเมฆ (Cloud System) ดังแสดงในรปู ท่ี 1 ในการแจ้งอบุ ตั เิ หตทุ างถนนในเขตอำเภอบา้ นผือ

16 รปู ที่ 1 แบบร่างการสรา้ งนวตั กรรม “ลดเหตุแรง แจง้ เหตุไว ลดอุบัติเหตุบนถนน”

17 วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื สร้างนวตั กรรมการแจ้งอุบตั ิเหตุบนถนน อำเภอบ้านผือ จงั หวดั อุดรธานี กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทกุ ทา่ นในเขตอำเภอบ้านผอื จงั หวดั อุดรธานี ขอ้ ดี 1. ใชแ้ จง้ เหตุงา่ ยเพยี งสแกน QR-Code สะดวก สง่ ขอ้ มลู แจ้งเหตไุ ดท้ ้ังข้อความ ภาพถ่าย VDO ไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่าย 2. ผู้แจ้งเหตุ สามารถสง่ ข้อมูลไดท้ ้งั ข้อความ ภาพถ่าย และVDO ในครงั้ เดียว และข้อมูลแจ้งเหตสุ ามารถ กระจายไปยังผูร้ บั แจ้งเหตุได้หลายกลุ่ม (ข้นึ อยูก่ ับการบริหารจดั การ) ไมเ่ ปน็ จุดเดยี วเหมือน 1669 3. สามารถปรับแกไ้ ขข้อมลู ที่ต้องการไดเ้ อง ไม่ตอ้ งใชค้ วามรูเ้ ฉพาะ (เขยี นโปรแกรม) 4. ข้อมลู แจง้ เหตมุ หี ลายรปู แบบ ทำให้หนว่ ยงานผู้รบั ผดิ ชอบสามารถประเมินสถานการณ์ต่อได้อย่าง ถกู ต้อง 5. ชว่ ยประชาสัมพันธ์และรว่ มรณรงค์การปอ้ งกันอุบตั ิเหตุในอำเภอบ้านผือ ทำให้ประชาชนทุกกลมุ่ วยั ได้ มีส่วนรว่ ม (ใช้นวตั กรรมฯ) ป้องกันและตระหนกั ถึงอุบตั ภิ ยั บนถนน 6. สามารถพัฒนาไปใชส้ ำหรับการแจ้งเหตุอืน่ ๆ ได้ เพราะเป็น QR-code เผยแพร่ไดส้ ะดวก นำไปแสดง ได้ง่าย 7. เวลาในการแจง้ ข้อมลู สัน้ ๆ ไม่ตอ้ งรอเจา้ หน้าท่ีมารับสายเหมอื น 1669 8. ประชาชนมไี อดีไลน์ (LINE app.) เปน็ พนื้ ฐานของเทคโนโลยีการสอื่ สารในปจั จบุ ันเหมือนการใช้ นวตั กรรมฯ น้ี ข้อเสยี 1. ต้องมีสญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต 2. โทรศพั ท์แบบ Smart Phone ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั 1. เป็นเคร่ืองมือหนึ่งทจ่ี ะทำให้ประชาชนในพน้ื ที่อำเภอบ้านผือ ไดม้ ีสว่ นร่วมมือกับภาครฐั ในการแจง้ 2. ภาคประชาชนไดม้ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมดา้ นการป้องกนั อุบัติเหตทุ างถนน ส่งเสริมสนับสนุนมาตรการ 3 หมอ ตามนโยบายด้านสาธารณสุขของจังหวดั อุดรธานี (ความร่วมมือ อสม. เจ้าหนา้ ที่รพสต. และแพทย์ใน โรงพยาบาล) 3. นวัตกรรมฯ สนับสนนุ สง่ เสริมการเพิ่มประสิทธิภาพข้อมูลการแจง้ เหตุ 1669 และระบบข้อมูล IS ให้ ครบถ้วนข้ึน 4. นวัตรกรรมฯ สามารถแจง้ ข้อมูลในจุดของตำแหน่งที่เกดิ เหตุ ระยะทางและระยะเวลาการเดินทางจาก ระหว่างจุดเกิดเหตุกับตำแหน่งฐานรับแจ้งเหตุที่กำหนดไว้ (เช่น กำหนดให้ รพ.บ้านผือ เป็นจุดฐานรับ แจ้งเหตุ นวัตกรรมฯ จะแสดงตำแหน่งที่เกิดอุบัติเหตุ ระยะทางจากจุดเกิดอุบัติเหตุถึง รพ.บ้านผือ และเวลาที่ใช้เดินทาง จากจุดเกิดอุบัติเหตุถึง รพ.บ้านผือ) ให้กับอาสาป้องกันภัยเอกชน หน่วย EMS และ/หรือเจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับ

18 มอบหมายให้รับผิดชอบรับแจ้งเหตุ ผ่านการสื่อสารข้อมูลทางไลน์ (ข้อมูล: ข้อความ ตำแหน่งเกิดเหตุและ ขอ้ มูลภาพถา่ ย/VDO) 5. ประโยชน์ทางอ้อมในประชาชนกลุ่มอายุ 10-19 ปี (วันรุ่น) กล่าวคือ เมื่อพบอุบัติเหตุแล้ว มีการแจ้ง เหตุ ก็จะทำใหร้ ู้สึกกลัวได้ เมือ่ เหน็ ภาพที่เกิดเหตุ สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมการขับขย่ี านพาหนะอย่างระมัดระวัง เคารพ กฎจราจรขึ้น วัสดแุ ละอุปกรณท์ ต่ี ้องการ ผแู้ จ้งเหตุ ตอ้ งมี 1. โทรศพั ท์แบบ Smart Phone 2. มีสญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต 3. e-mail เพื่อระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) การยนื ยนั ข้อมลู สำหรบั บันทกึ ในฐาน นวัตกรรมฯ และความถูกต้องในการสง่ ข้อมูลแจ้งเหตุผ่านนวัตกรรม “ลดเหตแุ รง แจ้งเหตุไว้ ลดอบุ ตั ภิ ยั ทางถนน” (เฉพาะคร้ังแรก) 5. จิตอาสาที่ช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ ผรู้ ับแจง้ เหต/ุ เจา้ หน้าทผี่ รู้ บั ผิดชอบ ต้องมี 1. โทรศัพทแ์ บบ Smart Phone 2. สัญญาณอินเทอร์เนต็ 3. LINE app. 4. จติ อาสาทีช่ ว่ ยเหลือผอู้ น่ื 5. ได้รบั สทิ ธิ์เข้า LINE กลมุ่ อสม. LINE กลุ่มผู้รบั แจ้งเหตขุ องรพสต., LINE กลมุ่ ผู้รับแจ้งเหตขุ อง โรงพยาบาลบ้านผอื , LINE กลุ่มเอกชนอาสามลู นิธิ หรอื LINE กลุ่มเฉพาะผ้รู ับผิดชอบรับแจ้งเหตตุ ามท่ีได้รับ มอบหมาย สำหรับเจ้าหน้าที่ ADMIN ต้องมี 1. มีเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ PC /โทรศัพทแ์ บบ Smart Phone 2. ได้รับสิทธิใ์ นการเข้าถงึ ฐานข้อมลู Google Sheet นวตั กรรม “ลดเหตุแรง แจ้งเหตไุ ว้ ลดอุบตั ภิ ัยทาง ถนน” 3. e-mail บญั ชี @gmail.com 4. จิตใจที่เขม็ แข็งสำหรบั การยอมรบั เทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนางานในยคุ ดิจิทัล

19 คมู่ ือการใช้งาน นวตั กรรม “ลดเหตแุ รง แจ้งเหตุไว ถนนบ้านผือปลอดภัย” หากมอี ุบัตเิ หตุทางถนนเกิดข้ึนในเขตอำเภอบา้ นผือ จงั หวดั อุดรธานแี ล้ว มปี ระชาชนมาพบเห็นอุบัติเหตุ ตอ้ งการแจ้งอุบัติเหตุทเ่ี กดิ ข้ึน สามารถดำเนินการแจง้ เหตุไดท้ ันที นวตั กรรมฯ แบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน ประกอบดว้ ย 1. ผแู้ จง้ อบุ ตั เิ หตุ 2. ผู้รบั แจ้งเหตุ 1. ผแู้ จง้ เหตสุ ามารถใช้มอื ถือแจง้ เหตไุ ดต้ ามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 1.1. ใชโ้ ทรศัพท์มือถือ สแกน QR-Code ตามรปู ท่ี 2 รูปที่ 2 QR-Code “ลดเหตุแรง แจ้งเหตุไว ถนนบา้ นผือปลอดภัย” 1.2. หลงั จากสแกน QR-Code ตามรปู ทีห่ นา้ จอ Google Form ตามรูปที่ 3 รปู ท่ี 3 หนา้ จอ Google Form สำหรับแจ้งเหตุ

1.3. เม่ือกดปมุ่ Submit 20 ในหน้า Google Form จะปรากฏหน้าต่าง ตามรปู ท่ี 4 คลกิ ท่ี URL-Link เพ่อื บนั ทกึ ขอ้ มลู แจง้ เหตุ รูปที่ 4 หนา้ จอสำหรับยืนยนั การบนั ทกึ ข้อมลู แจ้งเหตลุ งในฐานข้อมลู นวตั กรรมฯ 1.4. เมือ่ ทำขนั้ ตอนในข้อ 1.3 แล้วจะปรากฏหนา้ จอ ตามรูปท่ี 5 ซึง่ ในขนั้ ตอนนี้ เป็นข้ันตอนท่ี ความสำคัญในการแจ้งจุดตำแหน่งของการแจ้งเหตุ โดยตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากเจ้าของโทรศัพท์เพ่ือยืนยันการ สง่ พิกดั แจ้งเหตไุ ปยังต้นสงั กดั หรอื หน่วยงานที่รับผิดชอบการแจง้ เหตุของนวตั กรรมฯ น้ี ซึ่งแบง่ ได้เป็น 2 กรณี คือ 1.4.1 เจา้ ของโทรศพั ทผ์ ้แู จง้ เหตไุ มเ่ คยยืนยนั การเข้าตำแหนง่ ระบบ GPS เจ้าของ โทรศัพท์ต้องทำการยนื ยันหรือยอมรับการเข้าถงึ ตำแหน่ง GPS ของโทรศพั ท์ก่อน เมอ่ื ยืนยันหรอื ยอมรับเรยี บร้อย แล้ว จะปรากฎหน้าจอ ตามรูปที่ 5 1.4.2 เจ้าของโทรศัพท์ผูแ้ จง้ เหตุยืนยัน/ยอมรบั การเข้าถงึ ตำแหนง่ ระบบ GPS แลว้ จะ ปรากฏหน้าจอ ตามรูปที่ 5 รูปที่ 5 หนา้ จอยืนยนั การบนั ทกึ ข้อมูลในฐานข้อมลู นวัตกรรมฯ แลว้

21 2. สว่ นผรู้ ับแจง้ เหตุ หากมีการสง่ ขอ้ มูลแจ้งอบุ ตั ิเหตุเรยี บร้อย (ส่งข้อมูลแจง้ เหตคุ รบถ้วนจากข้อ 1.1-1.4) กลุ่มไลน์ของผู้รับ แจ้งเหตุที่ได้รับสิทธิ์มอบหมายหน้าที่ในการบริหารจัดการระบบแจ้งเหตุของอำเภอบ้านผือ จะมีการเตือนว่ามี ข้อความใหม่ในไลน์กลุ่มรับแจ้งเหตุ และเมื่อกดเปิดอ่านข้อความในไลน์ จะแสดงข้อมูลการแจ้งเหตุที่ได้ส่งผ่าน นวัตกรรมฯ มา ตามรูปที่ 6 คือ ข้อมูลผู้แจ้งเหตุ, จุดเกิดเหตุ หากต้องการทราบตำแหน่งที่เกิดเหตุ สามารถกดที่ ตำแหน่ง URL ตามรูปที่ 7 ในข้อความแจ้งเหตุ มีข้อมูลเบื้องต้นของอุบัติเหตุที่สำคัญ คือ เบอร์โทรผู้แจ้งเหตุ, ภาพถ่าย (สูงสุด 3 ภาพ) และระยะทางระหว่างจุดตำแหน่งที่เกิดอุบัติเหตุที่ผู้แจ้งเหตุส่งข้อมูลถึงรพสต.ที่เป็น ขอ้ มูลฐานของนวัตกรรมฯ พรอ้ มด้วยข้อมูลระยะเวลาเดินทาง ไลนก์ ลมุ่ 1 ไลนก์ ลมุ่ 2 รปู ท่ี 6 ข้อความแจ้งเหตุในไลน์กลมุ่ ต่าง ๆ ที่ได้รบั รปู ท่ี 7 การเขา้ ถึงจุดตำแหน่งที่เกิดอบุ ัติเหตุจาก URL ของขอ้ ความไลนก์ ลุ่มผรู้ ับแจ้งเหตุ

22 นอกจากน้ียงั สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ภาพถ่ายจากผู้แจ้งเหตุได้ ทั้งนี้ ผแู้ จ้งเหตุสามารถส่งได้ทง้ั รปู ถ่าย ไฟล์ VDO จำนวนสงู สุดได้ 3 ไฟล์ ตามรปู ท่ี 8 รูปที่ 8 ข้อมูลจากไลน์ สามารถแสดงข้อความและข้อมูลภาพจากผู้แจ้งเหตุท่บี ันทึกในฐานขอ้ มูลของนวตั กรรมฯ ข้อมูลของนวัตกรรมฯ จะถูกจัดเก็บอยู่ใน Google Sheet ซึ่งสามารถนำไปใช้วิเคราะห์ ใช้เป็นข้อมูล เบอ้ื งตน้ สำหรบั การนำเขา้ ระบบ IS หรือ PHER ตอ่ ไป ตามรูปท่ี 9 รปู ท่ี 9 Google Sheet ข้อมลู ผูแ้ จ้งเหตใุ นฐานข้อมูลนวตั กรรมฯ

23 นวัตกรรมฯ นี้ สามารถติดตั้งเป็นไอคอนบนหน้าจอมือถือได้ ทำให้สะดวกมากยิ่งขึ้นในการแจ้งอุบัติเหตุ การติดตั้งมีขั้นตอนวิธีทำ ตามรูปที่ 10 ดังนั้นเมื่อผู้ต้องการแจ้งเหตุพบอุบัติเหตุ ผู้แจ้งเหตุสามารถแจ้งข้อมูล อุบัติเหตุผ่านทางนวตั กรรมฯ ได้ ตามรปู ท่ี 11 รูปที่ 10 การติดตงั้ นวัตกรรมฯ บนหน้าจอหลักในโทรศัพท์ รูปที่ 11 แสดงไอคอนนวตั กรรมฯ บนหนา้ จอหลักของโทรศัพท์และสรปุ ข้ันตอนการใชน้ วตั กรรมฯ

24

25 คณะผู้จัดทำ 1. นางกลั ยาภัสร์ คำชมภู ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2. นางจิรฐั ติกาล สตุ วณชิ ย์ ตำแหนง่ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ 3. นางสาวเจนจริ า ตนั ทอง ตำแหน่งเจา้ พนักงานสาธารณสุขอาวโุ ส 4. นางชลดิ า ดอนเสนา ตำแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการพิเศษ 5. นางสาวญาริณฎา กนั ติศาฤทธิ ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 6. นางดวงรัตน์ ดาบพลอ่อน ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ 7. นายวชั รินทร์ วรรณา ตำแหน่งนักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ 8. นางวริ ิยา นาคพันธ์ ตำแหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ 9. นายสฤษฏ์ชัย ปรีดาวลั ย์ ตำแหนง่ วทิ ยาจารยช์ ำนาญการพเิ ศษ 10. นายสุระศักด์ิ เจริญคณุ ตำแหน่งนกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 11. นางเสาวลกั ษณ์ จกั รบุตร ตำแหนง่ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ 12. นายอุทิศ ดวงผาสขุ ตำแหน่งนกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ ขอขอบพระคณุ ผู้มรี ายนามต่อไปนี้ 1. ดร.อุเทน หาแก้ว รองนายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัดอดุ รธานี 2. นายวมิ ล สุระเสน นายอำเภอบา้ นผือ จงั หวัดอดุ รธานี 3. นพ.ทวีรัชต์ ศรีกลุ วงศ์ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลบ้านผอื 4. นายจักรพงษ์ ศรรี าช สาธารณสขุ อำเภอบ้านผือ จังหวดั อดุ รธานี 5. ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลทุกตำบล 6. คณะเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอบ้านผือ อาจารย์ทปี่ รึกษาประจำกลุ่ม 1 1. ดร.จิราพร วรวงศ์ ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนอี ดุ รธานี 2. ดร.เนตรนภา กาบมณี รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook