Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book ( หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ) M.1

E-book ( หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ) M.1

Published by myloyp ff, 2022-02-17 06:32:42

Description: ไพโรจน์เลขที่9
ทัศนัย เลขที่7

Search

Read the Text Version

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) บทท่ี 1 แนวคิดเชิงนามธรรม โรงเรยี นบ้านหมูมน้ (สหมติ รวิทยาคาร) สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 1

คานา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนีจ้ ัดทาเพ่ือเป็ น สว่ นหนึง่ ของวิชาวิทยาการคานวณ และใช้เป็ นส่ือ ในการเรี ยนการสอนกระผมหวังว่าหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ต่อคุณครู นักเรี ยน และผู้ท่ีสนใจ ไม่มากก็น้ อย หา ก ผดิ พลาดประการใดก็ขออภยั ไว้ ณ ท่ีนี ้

แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstract thinking / Abstraction) เป็นองค์ประกอบหนงึ่ ของแนวคดิ เชิงนามธรรม (Computational thinking) ซ่งึ ใช้กระบวนการคดั แยกคณุ ลกั ษณะที่สาคญั ออกจากรายระเอียดปลีกย่อยในปัญหาหรืองานท่ี กาลงั จะพจิ ารณา เพื่อให้ได้ข้อมลู ท่ีจาเป็นและเพยี งพอในการแก้ปัญหา

1.ให้นกั เรียนลากเส้นตรงผ่านจดุ ทกุ จดุ โดยใช้จานวนเส้นท่ีลากน้อยท่ีสดุ

การนาแนวคิดเชิงนามธรรมไปใช้ในการแก้ปัญหา ส่ิงท่ีสาคัญท่ีสุดคือการคัดแยกคุณลักษณะท่ีสาคัญ ออกจากรายละเอียดท่ีไม่จาเป็ น เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีจาเป็ น เพียงพอ และกระชับในการถ่ายทอดองค์ประกอบของ ปัญหา ทาให้การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพมากขึน้ ช่วยให้การออกแบบขัน้ ตอนวิธีในการหาคาตอบทาได้ง่ายขึน้ อีกทงั้ ยังเพ่มิ โอกาสท่จี ะพบว่าปัญหาท่ีกาลังแก้ใขเป็ นส่ิงเดียวกันกับปัญหาเดมิ ท่ีเคยแก้ไขแล้ว ส่งผลให้สมารถนา วธิ ีการท่ีมีอยู่แล้วมาประยุกต์ใช้งานได้โยไม่ต้องออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาใหม่ตงั้ แต่ต้น

บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปัจจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคญั และส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงในทกุ ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็ น ด้านการดาเนินชีวติ ประจาวนั การศกึ ษา เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และดาเนินงานในทกุ สาขาอาชีพ ทาให้ทกุ คน ในสงั คมต้องมีการปรับตวั และพฒั นาตนตนเองให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศมีทัง้ คณุ และ โทษนักเรียนต้องศึกษาเพื่อใช้งานได้อย่างรู้เท่าทัน และสมารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย ในสังคมปัจจุบัน นอกจากนีย้ งั ต้องสามารถเลอื กและใช้เทคโนโลยีสารสนเทคด้านตา่ งๆ อยา่ งสร้างสรรค์และมีจริยธรรม

6.1.1 วิธีการคกุ คาม ภยั คมุ คามท่ีมาจากมนษุ ย์นนั้ มีหลากวิธี โดยมีตงั้ แต่การใช้ความรู้ขนั้ สงู ด้านไอทีไปจนถึงวิธีที่ไม่จาเป็ นต้องใช้ ความสมารถทางเทคนิคเช่น 1) การคมุ คามโดยใช้หลกั จิตวิทยา เป็ นการคกุ คามท่ีใช้การหลอกลวงเพ่ือให้ได้ข้อมลู ท่ีต้องการโดยไม่ต้องใช้ ความชานาญด้านไอทีเช่น การใช้กลวิธีในการหลอกเพื่อให้ได้รหสั ผา่ นหรือสง่ ข้อมลู ที่สาคัญให้ โดยหลอกว่าจะ ได้รับรางวลั แต่ต้องทาตามเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่งสิ่งที่เกิดขึน้ อาจป้ องกนั ได้ยากเพราะเกิดจากความเช่ือใจ แต่ ป้ องกนั ได้โดยให้นกั เรียนระมดั ระวงั ในการให้ข้อมลู สว่ นตวั กบั บคุ คลใกล้ชิดหรือบคุ คลอ่ืน 2) การคกุ คามด้วยเนือ้ หาที่ไมเ่ หมาะสม ข้อมลู และเนือ้ หาท่มี อี ยใู่ นแหลง่ ตา่ งๆ บนอนิ เทอร์เน็ตมีเป็ นจานวนมาก เพราะสามารถสร้างและเผยแพร่ได้ง่าย ทาให้ข้อมลู อาจไมไ่ ด้รับการตรวจสอบความถกู ต้องและความเหมาะสม ดงั นนั้ ข้อมลู บางสว่ นอาจก่อให้เกิดปัญหากบั นกั เรียนได้

3) การคกุ คามโดยใชโ้ ปรแกรม เป็นการคุกคามโยใชโ้ ปรแกรมเครอ่ื งมอื สาหรบั ก่อปญั หา ดา้ นไอที โปรแกรมดงั กลา่ วเรยี กวา่ มลั แวร์ (malicious software: malware) ซง่ึ มหี ลากหลาย ประเท เช่น

ไวรัสคอมพวิ เตอร์ (computer virfus) เป็นโปรแกรมที่เขียนด้วยเจตนาร้าย อาจทาให้ผ้ใู ช้งาน เกิดความราคาญหรือ กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อข้อมลู หรือระบบ โดไวรัสคอมพวิ เตอร์จะติด มากบั ไฟล์ และสามารถแพร่กระจายเมื่อมีการเปิ ก ไฟล์ เชน่ ไอเลฟิ ยู (ILOVEYOU), เมลิสซา (Melissa)

เวิร์ม (worm) เป็นโปรแกรมอนั ตรายที่สามารถแพร่กระจายไปสู่เครื่องคอมอีกเคร่ืองคอมพิวเตอร์อื่น ในเครือข่ายดว้ ยตวั อง โดยตวั เอง โดยใชว้ ธิ ีหาจุดอ่อนของระบบรักษาความปลอดภยั แลว้ แพร่กระจายไปบน เครือข่ายไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและก่อใหเ้ กิดความเสียหายที่รุนแรง เช่นโคด๊ เรด (Code Red) ท่ีมีการแพร่ในเครื่อง แม่เครือข่ายเวบ็ ของไมโครซอฟทใ์ นปี พ.ศ. 2544 ส่งผลให้เคร่ืองแม่ข่ายทวั่ โลกกว่า 2ลา้ นเคร่ืองตอ้ งหยุด ใหบ้ ริการ

ประตูกล (backdoor/trapdoor) เป็ นโปรแกรมที่มีการเปิ ดช่องโหว่เพ่ือผู้ไม่ประสงค์ดีสามารถเข้าคุกคามระบบ สารสนเทศหรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ผา่ นทางระบบเครือข่ายโดยท่ีไม่มีใครรับรู้ บริษัทรับจ้างพฒั นาระบบสารสนเทศบางแห่ง อาจตดิ ตงั้ ประตกู ลไว้เพื่อดงึ ข้อมลู หรือความลบั ของบริษัทโดยท่ีผ้วู า่ จ้างไมท่ ราบ

ม้าโทรจนั (Trojan horse virus) เป็นโปรแกรมที่มีลกั ษณะคล้ายโปรแกรมทวั่ ไปเพ่ือหลวกลวงผ้ใู ช้ให้ติดตงั้ และเรียกใช้ งาน แตเ่ ม่ือเรียกใช้แล้วก้จะเริ่มทางานเพ่ือสร้างปัญหาตา่ ง ๆ ตามที่ผ้เู ขียนกาหนด เชน่ ทาลายข้อมลู หรือหลวกลวงข้อมลู ที่เป็ นความลบั

ระเบิดเวลา (logic bomb) เป็นโปรแกรมอนั ตรายที่จะเริ่มทางานโดยมีตวั กระต้นุ บางอย่างหรือกาหนดเง่ือนไขการทางาน ขนึ ้ มา เช่น แอบสง่ ข้อมลู ออกไปยงั เครื่องอื่น หรือลบไฟล์ข้อมลู ทงิ ้

โปรแกรมดักจับข้อมูล หรือสปายแวร์ (spyware) เป็ นโปรแกรมท่ีแอบขโมยข้อมูลของผู้ใช้ระบบระหว่างใช้งาน คอมพิวเตอร์ เพ่ือนาไปใช้แสวงหาประโยชน์ตา่ ง ๆ เช่น เกบ็ ข้อมลู พฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตเพื่อนาไปใช้ในการโฆษณา เก็บข้อมลู รหสั ผา่ นเพ่ือนาไปใช้ในการโอนเงินออกจากบญั ชีผ้ใู ช้

โปรแกรมโฆษณาหรือแอดแวร์ ( advertising Supported Software : adware) เป็ นโปรแกรมท่ีแสดง โฆษณา หรือดาวน์โหลดโฆษณาอตั โนมตั ิหลงั จากที่เครื่องคอมพิวเตอร์นนั้ ติดตงั้ โปรแกรมที่มี แอดแวร์ อยู่ นอกจากนีแ้ อด แวร์บางตวั อาจจะมีสปายแวร์ท่ีคอยดกั จบั ข้อมลู ของผ้ใู ช้งานเอาไว้เพ่ือสง่ โฆษณาท่ีตรงกบั พฤติกรรมการใช้งาน ทงั้ นีอ้ าจจะ สร้างความราคาญให้กบั ผ้ใู ช้งาน เนื่องจากโฆษณาจะสง่ มาอยา่ งตอ่ เน่ือง ในขณะท่ีผ้ใู ช้ไมต่ ้องการ

โปรแกรมเรียกค่าไถ่ (ransomware) เป็ นโปรแกรมขัดขวางการเข้ าถึงไฟล์ข้ อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ โทรศพั ท์มือถือด้วยการเข้ารหสั จนกว่าผ้ใู ช้จะจ่ายเงินให้ผ้เู รียกค่าไถ่ จึงจะได้รับรหสั ผ่านเพ่ือท่ีจะสามารถใช้งานไฟล์นนั้ ได้ เช่น คริปโตล็อกเกอร์ (CryptoLocke) ในปี พ.ศ. 2556 ที่มีการเผยแพร่กระจายไปทกุ ประเทศทว่ั โลกผ่านไฟล์แนบใน อีเมล์ และ วนั นาคราย (wannacry) ในปี พ.ศ. 2560 ที่แพร่กระจายได้ด้วยวิธีเดียวกบั เวิร์ม

6.1.2 รูปแบบการป้ องกนั ภยั คกุ คาม แนวคิดหนึ่งที่ใช้สาหรับการป้ องกนั ภยั คกุ คามด้านไอที คือการตรวจสอบ และยืนยนั ตวั ตนของผ้ใู ช้งานก่อนการเริ่มต้นใช้งาน การตรวจสอบเพือ่ ยืนยนั ตวั ตนของผ้ใู ช้งานสามารถดาเนินการได้ -รูปแบบดงั นี ้

ตรวจสอบจากสงิ่ ท่ีผ้ใู ช้รู้ เป็นการตรวจสอบตวั ตนจากส่งิ ท่ีผ้ใู ช้งานรู้แตเ่ พียงผ้เู ดียว เชน่ บญั ชีรายชื่อผ้ใู ช้กบั รหสั ผา่ นการตรวจสอบวธิ ีนีเ้ป็นวธิ ีท่ีได้รับ ความนิยมสงู สดุ เนื่องจากเป็นวิธีท่ีง่าย และระดบั ของความปลอดภยั เป็นที่ยอมรับได้ หากนกั เรียนลมื รหสั ผา่ น สมารถติดตอ่ ผ้ดู แู ลเพ่ือขอรหสั ผา่ นใหม่

ตรวจสอบจากส่งิ ท่ีผ้ใู ช้มี เป็ นการตรวจสอบตัวตนจากอุปกรณ์ท่ีผู้ใช้งานต้องมี เช่น บัตรสมาร์ตการ์ด โทเก้น อย่างไรก็ตามการ ตรวจสอบวิธีนีม้ ีคา่ ใช้จ่ายในสว่ นของอปุ กรณ์เพิ่มเติม และมกั มีปัญหา คือ ผ้ใู ช้งานมักลมื หรือทาอปุ กรณ์ท่ีใช้ ตรวจสอบหาย

ตรวจสอบจากสงิ่ ท่ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของผ้ใู ช้ เป็นการตรวจสอบข้อมลู ชีวมาตร (biometrics) เชน่ ลายนิว้ มือ มา่ นตา ใบหน้า เสียง การตรวจสอบนีท้ ่ีมี ประสทิ ธิภาพสงู สดุ แตม่ ีคา่ ใช้จา่ ยที่สงู เมื่อเปรียบเทียบกบั วิธีอ่ืน และต้องมีการจดั เก็บลกั ษณะเฉพาะของบคุ คล ซงึ่ ผ้ใู ช้บางสว่ นอาจจะเหน็ วา่ เป็นการละเมดิ สทิ ธ์ิความเป็นสว่ นตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook