Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องการเมืองการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ.1781-2006

เรื่องการเมืองการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ.1781-2006

Published by jeeranan3427, 2021-12-26 14:28:58

Description: เรื่องการเมืองการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ.1781-2006

Search

Read the Text Version

0

1 หน่วยท่ีการเรียนรทู้ ี่ วิวฒั น์การเมืองการปกครองไทย ผลการเรยี นรู้ เรอื่ ง การเมืองการปกครองสมัยกรุงสโุ ขทัย (พ.ศ.1781-2006) 1. อธบิ ายววิ ฒั นาการการเมืองการปกครองของไทยต้งั แต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั ได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายวิวฒั นาการการเมืองการปกครองสมัยสุโขทยั ได้ สาระการเรียนรู้ สาร1ะ.กาครวเารมียเปน็นรมู้ าของสโุ ขทัย 2. ววิ ัฒนาการการเมอื งการปกครองสมยั สโุ ขทยั พ.ศ.1781 - 2006 ความเปน็ มาของสโุ ขทัย https://www.youtube.com/watch? v=XV1Tp_vgEZA เลา่ เร่ืองเมืองสุโขทัย สุโขทัย คำวา่ \"สโุ ขทยั \" มาจากสองคำ คือ \"สุข+อุทัย\" หมายความว่า \"รงุ่ อรณุ แหง่ ความสุข\" รอยอดตี แห่ง ความรงุ่ เรอื ง เห็นได้จากอุทยานประวตั ิศาสตรส์ โุ ขทัยและศรีสชั นาลยั ซึ่งเปน็ ท่รี ้จู ักของชาวไทยและตา่ งประเทศ จารึกวดั ศรชี ุม จารกึ หลกั ท่ี 2 จารึกวัดศรชี ุม ได้กลา่ วถงึ การก่อต้ังแควน้ สุโขทยั ไว้วา่ พ่อขุนศรีนาวนำถุม เป็นกษัตริย์ครองศรีสัชนาลัย-สุโขทัย มีพระโอรส 2 พระองค์ คือ พระองค์แรก พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด (ผู้เป็นราชบุตรเขยของ พระเจา้ ชัยวรมนั ท่ี 7 แหง่ อาณาจักรเขมร) พระองคท์ ี่ 2 พระยาคำแหงพระราม เม่ือสิ้นสมัยพ่อขุนนาวนำถุม เหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นคือ ขอมสบาดโขลญลำพง ยดึ เมอื งศรสี ชั นาลัยและเมืองสุโขทัยไว้ได้ ต่อมาพ่อขนุ ผาเมอื งและพ่อขุนบางกลางหาวพระสหาย รว่ มมือกันยกทัพปราบ ของสบาดโขลญลำพง ได้เมืองศรีสัชนาลัยและเมืองสุโขทัยกลับคืนมา หลังจากน้ัน พ่อขุนผาเมือง ได้อภิเษกพ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็นกษัตริย์สุโขทัย เฉลิมพระนาม ว่า “ศรีอินทรบดินทราทิตย์” หรือ “ศรีอินทราทิตย์” ซึ่งพ่อขุนผาเมืองได้รับ พระราชทานจากพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 แห่งอาณาจักรเขมรว่า “กมรเตงอัญศรี อนิ ทรบดินทราทติ ย”์

2 เหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้นคร้ังน้ีถือกันวา่ เป็นการก่อต้ังแควน้ สุโขทัย สันนิษฐานว่าคงจะเกิดข้นึ ในปลายพุทธศตวรรษ ที่ 18 ประมาณ พ.ศ.1792 เม่ือพิจารณาจากปีที่ก่อตั้งจะเห็นได้ว่า สุโขทัยก่อเกิดก่อนแว่นแคว้นและอาณาจักรที่อยู่ร่วม สมัยกัน เช่น แคว้นล้านนา และอาณาจักรอยุธยา จึงเป็นเรื่องน่าสนใจ ว่า เหตุใดกลุ่มชนในพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตอนบนจึงสามารถรวมตัวกันและก่อต้ังเป็นแว่นแคว้นได้สำเร็จ ก่อนชนอ่ืนๆ ที่กระจายอยู่ท่ัวไปในอาณาบริเวณนี้ และพ้ืนทใ่ี กลเ้ คียง ระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 16-18 อาณาจักรเขมรมีอิทธิพลมาก ได้แผ่เข้ามาในพ้ืนท่ีแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตอนล่าง และเพ่ือควบคุมดินแดนแถบนี้ เขมรได้ตั้งเมืองละโว้หรือลพบุรีเป็นเมืองหน้าด่าน อย่างไรก็ตามอำนาจ ทางการเมืองของเขมรในแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างไม่ได้อยู่ในฐานะท่ีมั่นคง ข้ึนๆ ลงๆ ตามสภาพการณ์ แวดล้อม ดงั จะเห็นไดว้ ่าบางครั้งละโว้ไดต้ ั้งตัวเป็นอิสระ ช่วยอาณาจักรเขมรมอี ำนาจมาก คือรัชสมัยพระเจ้าสุรยิ วร มันที่ 1 (พ.ศ.1545-1593) พระเจ้าสุริยวรมันท่ี 2 (พ.ศ.1656-หลัง พ.ศ.1688) และพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ.1724- 1760) สุโขทัย ตั้งอยู่ในพ้ืนที่ลุ่มแม่น้ำเจา้ พระยาตอนบน หรือภาคเหนือตอนล่าง ซง่ึ เป็นอาณาบรเิ วณทอี่ ยู่หา่ งจากนครธม หรือพระนครหลวงราชธานีของอาณาจักรเขมร อำนาจทางการเมืองของเขมรแผ่มาถึงอาณาบริเวณนี้จึงมีไม่มากเท่ากับ แถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ด้วยเหตุน้ีสุโขทัยจึงมีโอกาสที่จะก่อร่างสร้างแว่นแคว้นได้มากกว่าและก่อนกลุ่มชน แถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง นอกจากน้ันในช่วงระยะที่ชว่ งไทยในเขตตอนบนของลุ่มแม่นำ้ เจา้ พระยากำลังแผ่ขยาย พื้นท่ีและเริ่มมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น ตรงกับรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 กษัตริย์ที่ย่ิงใหญ่องค์สุดท้ายของ อาณาจักรเขมร พระองคท์ รงมนี โยบายแผ่ขยายอำนาจของอาณาจกั รเขมรดว้ ยการทำสงครามกบั อาณาจักรจามปา (อยใู่ นภาคกลางของเวียดนาม) ซึ่งตอ่ มากลายเป็นสงครามยืดเย้อื ) การที่ตอ้ งพะวงกับ การทำสงคราม ในขณะเดียวกันก็ต้องคอยควบคุมดูแลดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตอนล่าง ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีมีความสำคัญต่ออาณาจักรเขมรมากในแง่ยุทธศาสตร์ เพราะ สามารถเขา้ ถงึ กรุงยโสธรหรอื นครธม เมืองหลวงของอาณาจักรเขมรได้อยา่ งง่ายดาย ทำให้ พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 ทรงไม่สามารถจัดการกับการขยายบทบาททางการเมืองของกลุ่ม ชนชาวไทยในเขตตอนบนของลุ่มแมน่ ้ำเจ้าพระยาได้อย่างเต็มที่ รูปป้นั พระเจ้าชัยวรมนั ท่ี 7 เม่ือไม่มีทางเลือกพระองค์จึงทรงสนับสนุนการก่อร่างสร้างบ้านของชนชาวไทย ใน เขตตอนบนของลมุ่ แม่น้ำเจา้ พระยาในฐานะผู้ใหญใ่ หค้ วามอนเุ คราะห์ผนู้ ้อย เพอ่ื ผูก บา้ นเมอื งท่ีกำลงั จะเรม่ิ เติบโตให้มคี วามสัมพนั ธ์อยา่ งใกล้ชดิ กับเขมรในลักษณะของ ผู้พง่ึ พิง ดังนั้นจะเห็นไดจ้ ากการทพี่ ระเจา้ ชัยวรมันที่ 7 พระราชทานพระขรรค์ชยั ศรี พระนามกมรเตงอัญศรีอนิ ทรา- บดินทราทิตย์ (เป็นพระนามของพ่อขุนบางกลางหาวสหายของพ่อขุนผาเมืองตอนขึ้นเป็นกษัตริย์สุโขทัย) และ พระราชธิดา ช่ือ พระนางสขุ รเทวี แกพ่ ่อขนุ ผาเมือง

3 นอกจากนั้นเม่ือพิจารณาการวางแผนผังเมืองและการวางระบบ เสริมความรู้ : ตำนานพระร่วง ชลประทานเพ่ือนำน้ำมาใช้ในเมืองสุโขทัยแล้วกล่าวได้ว่า พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 คงจะทรงมีส่วนในการพระราชทานทรัพย์สิน สิ่งของ และช่างฝีมือแก่ผู้นำ ชาวไทยในพ้ืนท่ีตอนบนของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อช่วยเหลือให้การสร้าง บา้ นเมืองแว่นแควน้ นามวา่ “สุโขทยั ” บรรลุผลสำเรจ็ https://www.youtube.com/watch?v=co6NHo พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทติ ย์ fR_xo พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ได้ทรงปกครองอาณาจักรสุโขทัย เป็นกษัตริย์องค์แรกของ ราชวงศ์พระร่วงโดยมีการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับพ่อขุนผาเมือง (เจ้าเมืองราด) เป็น พระสหายของพ่อขุนท้ังสองและเครือญาติสนิททางการสมรสคือ พระมเหสีของพ่อขุนศรี อินทราทิตย์นั้นมีเชื้อพระวงศ์เป็นพระขนิษฐาของพ่อขุนผาเมืองมีพระนามว่า “นางเสือง” ซ่งึ ตอ่ มาได้มีโอรสเสวยราชสมบัติปกครองอาณาจักรสุโขทัยให้มีความเจริญรุ่งเรอื งสืบต่อมาถึง 2 พระองค์ คือ พ่อขนุ บานเมืองและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์ ปจั จยั ใดเอ้อื ต่อการสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทัย ? ปจั จัยที่เออ้ื ตอ่ การสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ในพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นช่วงเวลาท่ีอาณาจักรสุโขทัยได้รับการสถาปนาเป็นราช ธานี อาณาจักร สุโขทัยกลายเป็นอาณาจักรที่มีความเข้มแข็ง มีความเจริญรุ่งเรืองอย่าง รวดเร็ว เนื่องมาจากปัจจัยเก้ือหนุน 2 ประการ คือ ปัจจยั ภายในและปัจจยั ภายนอก ดังนี้ ปจั จยั ภายใน 1. ความเหมาะสมในทำเลที่ต้ังของอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งมีอาณาเขตกว้างขวางสมบูรณ์เหมาะ แก่การทำการเกษตรกรรม มีแม่น้ำยมไหลผ่าน ทำให้การคมนาคมสะดวก สามารถติดต่อกับหัวเมืองต่าง ๆ ได้ โดยง่าย อีกทั้งสโุ ขทยั ยงั ตั้งอยู่หา่ งไกลศนู ย์กลางอำนาจ ของขอม ทำให้สุโขทยั สามารถแยกตนเปน็ อิสระไดง้ ่าย 2. สุโขทัยมีผู้นำท่ีมีความเข้มแข็ง ในสมัยการก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย ผู้นำท่ีมีความสามารถ มีความรอบคอบและเฉลียวฉลาด ท้ังยังกล้าหาญและเข้มแข็ง คือ พ่อขุนผาเมืองและพ่อขุนบางกลางหาว โดยได้ รว่ มมอื กัน ขบั ไลข่ อมออกจากสุโขทัย ให้คนไทยได้รับอิสรภาพไมต่ ้องเป็นเมอื งขน้ึ ของใคร 3. คนไทยมีความรักในอิสระ เพราะนิสัยคนไทยไมช่ อบโดนกดขี่ข่มเหงหรือ ถูกบังคับ จึงเป็นสาเหตุให้ คนไทยในอาณาจักรสุโขทัยแยกตนเป็นอิสระได้สำเร็จโดยการร่วมมือกันของพ่อขุนผาเมืองและพ่อขุนบางกลางหาว ขับไล่ขอมออกไป

4 ปจั จัยภายนอก ปัจจัยภายนอกท่เี กื้อหนุนต่อการสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทยั คอื 1. ขอมมักจะรุกรานและแผ่อำนาจเข้าไปในอาณาจักรอื่น ๆ ต้องทำสงครามรบพุ่งเป็นระยะเวลา ยาวนาน โดยเฉพาะกับอาณาจักรจามปา กษัตริย์ขอมต้องทำสงครามยึดเยื้อหลายรัชกาล ต้องเสียกำลังคน เสบียง อาหาร ทรพั ยากรและขาดการทำนบุ ำรุงบา้ นเมอื ง ทำให้ตอ้ งเผชญิ กบั ปัญหาเศรษฐกิจประชาชนท้อแท้เบือ่ หน่าย 2. การที่ขอมขยายอาณาเขตออกไปไกล ทำให้ไม่สามารถรักษาอำนาจไว้ได้อย่างถาวร แม้จะ แก้ปัญหาโดยต้ังเมืองใหญ่ให้เป็นศูนย์อำนาจ เช่น ลพบุรีสุโขทัยแต่การปกครองก็มิได้มีประสิทธิภาพในที่สุดก็ ไม่สามารถรกั ษาอำนาจของคนในดินแดนชาตอิ ่นื ทีต่ นยึดครองไว้ได้ 3. การสร้างปราสาทหรือเทวสถาน ไว้ประดิษฐานศิวลึงค์เพื่อการบูชาและการสร้างสาธารณูปโภค ของกษัตริย์แต่ละพระองคก์ ็เป็นอีกเหตุหน่ึงที่ทำให้ขอมเส่ือมอำนาจ เพราะต้องใช้แรงงาน ใช้ทรัพยากรและเสบียง อาหารจำนวนมากมายความอ่อนแอทางเศรษฐกิจทำให้ต้องเก็บภาษีจากประชาชนมากข้ึน ประชาชนจึงไม่ร่วมมือ กับทางราชการ ด้วยเหตุดังกล่าวนี้อาณาจักรขอมจึงเส่ือมลง เปิดโอกาสให้คนไทยได้ร่วมกันกำจัดอำนาจอิทธิพล ของขอมไดส้ ำเรจ็ อาณาจักรสุโขทัยตั้งอยทู่ ี่ไหน ? ก่อนทอี่ าณาจักรสโุ ขทยั จะสถาปนาขึ้นในปลายปีพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ดนิ แดนสวุ รรณภูมิ ไมไ่ ด้มีเฉพาะชนชาติ ไทยทต่ี ้ังถ่นิ ฐานอยู่เทา่ น้นั แต่ยังมชี นชาติอนื่ ทีม่ ีอำนาจครอบครองดินแดนบริเวณนี้อยู่ดว้ ยเชน่ กัน คอื เหนอื มีอาณาจักรโยนกเชียงแสน และอาณาจักรหรภิ ญุ ชยั ตะวนั ออก มีอาณาจักรมอญ และอาณาจักรพุกาม ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มอี าณาจกั รกัมพชู า ใต้ มีอาณาจกั รนครศรีธรรมราช และอาณาจกั รศรวี ิชัย ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ 17อาณาจักรตา่ ง ๆ ในดินแดนแถบนตี้ กอยู่ ภายใต้อำนาจของขอม แตใ่ นชว่ งปลายพทุ ธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรขอมได้ เส่ือมอำนาจลงอาณาจกั รต่าง ๆ ทอี่ ยู่ภายใต้อำนาจขอมต่างพากันต้งั ตนเป็น อิสระ และหนง่ึ ในนนั้ คือ อาณาจักรสโุ ขทยั อาณาเขตของแคว้นสโุ ขทัยท่ีปรากฎใน ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 (จารกึ พอ่ ขนุ รามคำแหง) มีข้อความบอกชื่อเมืองท้ังส่ีทิศในสมัยพอ่ ขุนรามคำแหงไว้วา่ ทศิ เหนอื จรดเมอื งแพร่ เมืองม่าน เมอื งพลัว เมอื งหลวงพระบาง ทศิ ตะวนั ออก จรดเมืองสระหลวงสองแคว เมืองลุมบาจาย เมอื งสคา เมืองเวยี งจนั ทน์ เมืองเวียงคำ ทิศใต้ จรดเมืองคนที เมืองพระบาง เมอื งแพรก เมอื งสุพรรณภมู ิ เมอื งราชบุรี เมืองเพชรบุรี เมืองนครศรีธรรมราช ทิศตะวันตก จรดเมอื งฉอด เมืองหงสาวดี

5 เมื่อดูจากชื่อเมืองตามอาณาเขตของแคว้นสุโขทัยท่ีปรากฎใน ศิลาจารึกหลักที่ 1 (จารึกพ่อขุน รามคำแหง) กว้างไกลครอบคลุมไปถึงหัวเมืองลาว หัวเมืองมอญ และตะวันตกของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาลงไป จนถึงนครศรีธรรมราช แต่ยังมีนักวิชาการบางท่านมีความเห็นว่าแคว้นสุโขทัยน่าจะมีอำนาจเฉพาะในบริเวณ ตอนล่างของลุ่มแม่น้ำยม น่า ปิงและตอนล่างของลุ่มแม่น้ำป่าสักเท่านั้น โดยพิจารณาจากหลักฐานทาง โบราณสถานและโบราณวัตถุตามเมอื งเหล่านี้ซงึ่ พบวา่ มรี ปู แบบของศลิ ปกรรมของสุโขทัย ทิศเหนือ จรดเมอื งแพร่ ทศิ ตะวนั ออก จรดเมืองสะค้าในเขตอสี านตอนเหนือ ทศิ ตะวนั ตก จรดเมืองฉอด (จังหวัดตาก) ซ่งี มเี ส้นทางตดิ ตอ่ กับมอญ ทิศใต้ จรดเมืองเมอื งพระบาง (จงั หวัดนครสวรรค์) สภาพภมู ิศาสตร์ในปัจจบุ นั สุโขทยั เปน็ อย่างไร ? ขนาดและที่ต้ัง : ปัจจุบันสุโขทัยเป็นจังหวัดหน่ึงในประเทศไทยตั้งอยู่ภาคเหนือตอนล่าง ติดกับภาคกลางตอนบน ห่างจาก กรุงเทพมหานครตามระยะทางหลวงแผ่นดินประมาณ 440 กิโลเมตร จังหวัดสุโขทัย ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือ ตอนล่างตามเขตการปกครองประเทศไทย ซึ่งมีท่ีตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 16 องศา 34 ลิปดาถึง 17 องศา 46 ลปิ ดาเหนอื และลองจจิ ดู ที่ 99 องศา 24 ลปิ ดา ถึง 100 องศา 01 ลิปดาตะวันออก อาณาเขตของจังหวัด : จังหวดั สโุ ขทยั มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 6,596.092 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,122,557 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 7.19 ของพ้ืนท่ีภาคกลาง หรือร้อยละ 1.29 ของเนอ้ื ท่ปี ระเทศไทยท้งั หมด ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ และจังหวัดแพร่ ทศิ ใต้ ติดต่อกบั จงั หวดั กำแพงเพชร และจังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับ จังหวดั พิษณุโลก และจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ จงั หวัดตาก และจงั หวัดลำปาง ลักษณะภูมิประเทศ : สภาพโดยท่ัวไปของจังหวดั สุโขทัยเปน็ ทรี่ าบล่มุ แม่น้ำ มีเทอื กเขาสงู และทร่ี าบสูงทางตอนเหนอื และทาง ตะวันตกของจังหวัด สามารถแบ่งลักษณะภมู ิประเทศได้ 2 เขต ดังนี้ 1) เขตภูเขาและทีร่ าบสงู มพี ้นื ท่ีประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นทท่ี ัง้ หมด จะอยู่ในบริเวณตอนเหนอื และ บางส่วนทางตอนใต้ของจงั หวัด 2) เขตทร่ี าบล่มุ เปน็ พืน้ ที่สว่ นใหญข่ องจังหวดั สุโขทัย มเี นื้อทีป่ ระมาณ 2 ใน 3 ของพนื้ ที่ ท้ังหมด จะอยู่บริเวณทางตอนกลางบางสว่ น ทางใต้และทางตะวนั ออกของจงั หวดั ในบรเิ วณลุ่มแมน่ ้ำยมซง่ึ เปน็ แหลง่ สำคัญทางการเกษตร

6 อาณาจกั รสุโขทยั มีกษตั รยิ ์กพี่ ระองค์ ? ประมาณพทุ ธศักราช 1762 – 1792 พ่อขนุ ศรีนาวนำถุม ปกครองเรยี กวา่ “ศรสี ัชนาลยั สุโขทัย” ราชวงศ์พระรว่ งมพี ระมหากษตั รยิ ์ปกครองสบื ต่อมารวมทั้งส้ิน 9 พระองค์ เป็นระยะเวลาประมาณกว่า 200 ปี (พทุ ธศักราช 1792-2006) มีรายละเอยี ดดังน้ี ที่ พระนามพระมหากษัตริย์ ปที ีข่ น้ึ ครองราชย์ ปที ี่สวรรคต เหตกุ ารณส์ ำคัญ (พ.ศ.) (พ.ศ.) 1 พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ 1792 ไม่ปรากฎ - กอ่ ต้ังราชวงศ์พระร่วงและรวบรวม อาณาจักรสุโขทยั ให้เป็นปึกแผ่น - สรู้ บกบั ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด จนไดร้ ับชยั ชนะ 2 พอ่ ขนุ ผาเมือง ไมป่ รากฎ 1822 - ไมป่ รากฎหลกั ฐาน 3 พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช 1822 1841 - ทรงประดิษฐ์ตวั อักษรไทย (ลายสอื ไทย) - ขยายอาณาเขตแดนออกไปอยา่ ง กวา้ งขวาง - รบั พทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท ลัทธิ ลังกาวงศ์ ซง่ึ ต่อมาไดเ้ ผยแผ่อยใู่ น อาณาจักรสุโขทยั และดนิ แดนทางตอน เหนือ 4 พระยาเลอไท 1841 ไม่ปรากฎ -พระสงฆ์ชาวสโุ ขทยั เดนิ ทางไปศึกษา พระพุทธศาสนาท่ีอนิ เดยี 5 พระยาง่ัวนำถม ไม่ปรากฎ 1890 - ไม่ปรากฎหลกั ฐาน 6 พระมหาธรรมราชาท่ี 1 1890 1911 - ย้ายเมอื งหลวงไปอย่ทู ี่พิษณุโลก/ (พระยาลิไทย) สุโขทัยเป็นศนู ยก์ ลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา/ทรงผนวชในระหวา่ ง 7 พระมหาธรรมราชาที่ 2 การครองราชย/์ เกดิ ปญั หาความ (พระยาลือไทย) ขดั แย้งกับอาณาจกั รอยธุ ยา 1911 1942 - อาณาจักรสุโขทัยย่อมอ่อนน้อม ตอ่ อยธุ ยา 8 พระมหาธรรมราชาที่ 3 1942 1962 - อาณาจักรสโุ ขทัยทำสัญญาเป็น (พระยาไสยสอื ไทย) พนั ธมติ รกบั พระเจ้าน่าน 9 พระมหาธรรมราชาที่ 4 1962 1981 - อาณาจักรสุโขทยั ถกู รวมเข้าเป็นส่วน (บรมปาล) หนึ่งของอาณาจักรอยธุ ยาพ.ศ.2006

7 เพม่ิ เตมิ เหตุการณส์ ำคญั ของพระมหากษตั รยิ ก์ รงุ สโุ ขทยั ศลิ าจารึกหลักที่ 1 ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 (ประชุมศลิ าจารึกภาคที่ 1 หน้า 26) มีข้อความบนั ทึกแสดงถึงแคว้นสุโขทยั สามารถแผ่ขยายอาณาเขตออกไปได้อยา่ งกวา้ งขวางในสมัยพ่อขนุ รามคำแหง (พ.ศ.1822-1842) โดยถอดความวา่ “....มีเมอื งกว้างช้างหลาย ปราบเบ้อื งตะวนั ออก รอดสระหลวง สองแคว ลุมบาจายสคา เท้าฝงั่ ของ(แม่นำ้ โขง) เถิง(ถึง)เวียงจันทน์ เวียงคำ เป็นท่ีแล้ว เบอ้ื งหัวนอน(ทิศใต้) รอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภมู ิ ราชบุรี เพชรบรุ ี ศรธี รรมราช ฝ่ังทะเลสมุทรเปน็ ท่แี ล้ว เบ้อื ง ตะวันตก รอดเมืองฉอด เมอื ง...น หงสาวดี สมทุ รหาเป็นแดน เบื้องตีนนอน(ทศิ เหนือ) รอด เมอื งแพร่ เมืองมา่ น เมอื งน... เมืองพลัว พน้ ฝ่ังของ(แม่น้ำโขง) เมืองชวา (เมืองหลวงพระ บาง)เปน็ ท่ีแล้ว...” พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ใช้วธิ ีการอยา่ งไรจงึ ทำให้มีการแผ่อาณาเขตได้กว้างขวาง ? พ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาศัยกำลงั ทหารและการสรา้ งความสมั พนั ธ์เครือญาติ แตว่ ิธีการน้ีมีจดุ อ่อนหลงั จากส้นิ สมยั พ่อขุนรามคำแหง เนื่องจากไมม่ ีการจัดระบบ การปกครองที่รัดกมุ ในควบคุมดูแลดินแดนที่ไดม้ า ทำให้เมืองต่างๆ มีอิสระ ในการปกครองตนเองอย่างมาก การท่ีบ้านเมอื งยังดำรงอยู่ไดก้ ็ด้วยความสามารถส่วนตัวของ ผู้นำ ดังนน้ั เมื่อสนิ้ รัชสมัยพ่อขนุ รามคำแหง กษัตริย์ทค่ี รองราชย์สืบตอ่ มาไมม่ คี วามสามารถเทา่ กับพระองค์ บา้ นเมือง ในแคว้นสุโขทยั จงึ แตกแยกเป็นเมืองเล็กเมืองนอ้ ย ตามประวัตศิ าสตรม์ ีพระมหากษตั ริย์พระองค์ใดบา้ งท่ีพยายามกอบกู้ แคว้นสโุ ขทัยให้มีความยง่ิ ใหญแ่ ละเจริญรงุ่ เรอื งเหมอื นด่งั สมัยของ พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช และโดยวิธีการใด ? พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) (พ.ศ.1890-1911) พระองค์ทรงพยายามรวบรวมเมืองตา่ งๆ ทแ่ี ตกแยกออกไป โดยทรงใช้ศาสนาพทุ ธ เป็นเครอื่ งมอื เชือ่ มโยงเมืองเหลา่ นใ้ี หก้ ลับเข้ามารวมอย่กู บั แควน้ สโุ ขทัยอีกคร้ัง แต่ทรงทำได้ เพียงบางสว่ นเทา่ น้นั

8 สุโขทยั ต้องตกอยใู่ นการดแู ลของอยธุ ยาต้งั แตส่ มยั ใด ? สุโขทัยตกอยู่ในการเป็นประเทศราชของอยุธยาระหว่าง พ.ศ.1921-1931 ในรัชสมัยพระมหาธรรม ราชาท่ี 2 (ครองราชย์ พ.ศ.1911-1942) และสามารถต้ังต้นเป็นเอกราชได้ใน พ.ศ.1931 เพราะอยุธยามีปัญหา การแย่งชิงอำนาจทางการเมืองภายในระหว่างเจ้านายสายละโว้ (ราชวงศ์อู่ทอง) และเจ้านายสายสุพรรณบุรี (ราชวงศ์สุพรรณภมู )ิ หลังจากพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะง่ัว-ราชวงศ์สุพรรณภูมิ) สวรรคตใน พ.ศ.1931 พระราเมศวร(โอรสพระเจ้าอู่ทอง-ราชวงศ์อู่ทอง) ได้ชิงราชสมบัติจากพระเจ้าทองลัน (โอรสของขุนหลวงพะงั่ว) ขึ้นครองราชย์ได้เพียง 7 วนั ภาวะการเมืองที่เอ้ืออำนวยนี้เปิดโอกาสใหส้ ุโขทัยพ้นจากการเป็นประเทศราชของ อยุธยา พระมหาธรรมราชาที่ 2 ได้ฟ้ืนฟูแว่นแคว้นและแผ่ขยายอาณาเขต เพื่อให้ “เมืองกว้างช้างหลาย” เหมือนในอดตี ท่ผี ่านมาในสมยั พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ตามจารึกวัดบูรพารามให้ข้อมูลว่า เมื่อถึงพ.ศ.1939 เป็นช่วงที่รุ่งเรืองท่ีสุด “...พระองค์พร้อมด้วย เจา้ เมือง(ท้ังหลาย) ไดก้ ระทำใหอ้ าณาเขตสมบูรณ์ย่ิงขน้ึ ในทุกรฐั ...” (ประเสริฐ ณ นคร พ.ศ.2534 หน้า 66) แตใ่ น พ.ศ.1940 สุโขทัยก็เผชญิ กับทัพของพระรามราชาธิราชท่ีข้นึ มาปราบปราม (ครองราชย์ พ.ศ.1938 – 1952) เป็นกษัตริย์องค์สดุ ท้ายของราชวงศ์อ่ทู อง ซึง่ ไดป้ กครองอยุธยา สโุ ขทัยกลบั ไปเปน็ ประเทศราชของอยธุ ยาอีก ครงั้ เพียงไม่กปี่ ี (พ.ศ.1940-1943) ในพ.ศ.1943 พระมหาธรรมราชาที่ 3 (พระยาไสลือไทย) ได้ประกาศเอกราช จนถึงพ.ศ. 1962 พระองค์ สวรรคต ส่งผลตอ่ การแย่งชิงราชสมบัติกนั ในแคว้นสุโขทัย พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์บิ นั ทึกวา่ “..ในปีน้ันมหาธรรมราชานฤพานเหนือท้ังปวงเป็นจลาจล พระอินทราธิราช (พระนครอินทร์-ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ครองราชย์ พ.ศ.1952-1967) ไปถึงพระบาง (นครสวรรค์) พระยาบาลเมืองและพระยารามออกถวายบังคม ท้ังสอง เป็นโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 2...” พระอินทราธิราช จึงทรงเข้าแทรกแซงทางการเมือง ใชน้ โยบายแบ่งแยกแลว้ ปกครอง แบ่งแคว้นสุโขทัย ออกเปน็ 4 ส่วน ดังน้ี 1. พระยาบาลเมืองครองเมืองพิษณุโลก ซึ่งเป็นเมืองสำคัญ และอยู่ในฐานะเมืองหลวงใหม่ของแคว้น สุโขทยั ทรงได้รับพระนามว่า “พระเจ้าศรสี รุ ยิ วงศบ์ รมปาล มหาธรรมราชาธิราช” หรือเรียกกันสน้ั ๆ วา่ พระมหา ธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล) 2. พระยาราม ครองเมืองสโุ ขทยั 3. พระยาเชลียง ครองเมอื งเชลยี ง (สวรรคโลก) 4. พระยาแสนสอยดาว ครองเมืองกำแพงเพชร

9 จดุ เรมิ่ ตน้ ทท่ี ำให้สโุ ขทยั อยธุ ยาเปน็ หนึ่งเดยี วกันในเวลาตอ่ มานา่ จะเกิดจากเร่อื งใด ? - ความสัมพันธ์ทางเครอื ญาติ นา่ จะเป็นประเดน็ สำคัญ อนงึ่ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) มพี ่ีสาวเษกสมรสกับเจ้าสามพระยา (ครองราชย์ พ.ศ.1967 – 1991 ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ) และพระนางมีพระโอรส คอื พระบรมไตรโลกนาถ (ตอ่ มาครองราชย์ในอาณาจกั รอยุธยา พ.ศ. 1991-2031) ชว่ งแรกยังแคว้นสโุ ขทัยยงั เปน็ ประเทศราช ยงั ไม่ผนวกเขา้ เป็นส่วนหนึง่ ของอาณาจักรอยุธยา ใน พ.ศ. 1981 พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) สวรรคต พระโอรสคือ พระยายุธิษเฐียร ได้เป็นเจ้าเมือง พิษณุโลกสืบต่อมาระหวา่ ง พ.ศ.1981 – 1994 พระยายุธิษเฐยี ร ซงึ่ เปน็ ลูกพ่ลี ูกนอ้ งกับพระบรมไตรโลกนาถ ไมพ่ อใจว่าไม่ มีการทำตามสัญญาเร่ืองจะให้เป็น มหาอุปราช (เข้าใจว่าหมายถึง ให้ดำรงตำแหน่งพระมหาธรรมราชา จึงย้ายไปอยู่ฝ่าย ไปอยกู่ ับพระเจ้าติโลกราชแหง่ แควน้ ลา้ นนา (ครองราชย์ พ.ศ.1985-2030) ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สันนิษฐานว่า ระหว่างพ.ศ.1994 – 2006 พระมารดาจองพระบรมไตร- โลกนาถ (พระธิดาของพระมหาธรรมราชาท่ี 2) เป็นผู้ครองเมืองพิษณุโลก เม่ือพระนางส้ินพระชนม์ในพ.ศ.2006 พระบรมไตรโลกนาถจงึ ไปครองเมอื งพิษณโุ ลก ในฐานะท่ีเป็นหลานตาของพระมหาธรรมราชาท่ี 2 แคว้นสุโขทัยจึงผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ.2006 และอำนาจราชวงศ์ พระรว่ งกส็ ้นิ สดุ ลง ทำไมเมอื งพษิ ณโุ ลกจงึ ไดร้ ับเลือกให้เป็นเมือง สำคัญ และตอ่ มาเปน็ เมอื งหลวงแทนทีส่ โุ ขทยั จนผนวกเป็นส่วนหนง่ึ ของอาณาจกั รอยธุ ยา พ.ศ.2006 ? มีขอ้ พิจารณาว่าทำไมเมอื งพิษณโุ ลกจงึ ได้ ภาพยคุ ปัจจุบัน รับการคัดเลือกให้เป็นเมืองสำคัญ ต้ังแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ 20 สภาพการณ์ทางการเมืองระหว่างแว่นแคว้นของกลุ่มชาว ไทยมีความสำคัญ ต้ังแต่ พ.ศ. 1906 เป็นต้น พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ได้เสด็จลงมาครองเมืองพิษณุโลก และทรงต้ัง มหาเทวี ผู้เป็นกนษิ ฐาใหป้ กครองดูแลเมอื งสุโขทยั แทนพระองค์ การทีต่ ้องเสด็จออกมาประทบั ที่พิษณโุ ลก เพราะเมืองน้ตี ก อยู่ในภาวะล่อแหลมจากการรกุ รานของอยธุ ยา ตัง้ แต่ พ.ศ.1962 ปีทพี่ ระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ข้ึนครองราชย์ พิษณุโลก ก็เป็นเมืองหลวงของแคว้นสุโขทัย แทนราชธานเี ดมิ (เมอื งสโุ ขทัย) มาจนถึง พ.ศ.2006 ส้ินสุดราชวงศ์พระรว่ ง เม่ือพระบรมไตรโลกนาถเสด็จข้ึนมาครองเมืองพิษณุโลก (พ.ศ.2006) และประทับท่ีนี้บัญชาการสู้ศึกสงครามกับ ลา้ นนา ในช่วงดงั กลา่ ว เมอื งพิษณโุ ลกก็เสมอื นหน่ึงราชธานขี องอาณาจักรอยธุ ยา สว่ นทก่ี รุงศรอี ยธุ ยาทรงให้โอรสปกครอง พิษณุโลกมีความสำคัญด้านทำเลท่ีตั้ง ยุทธศาสตร์ สภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มาจนถึงทุกวันนี้ เป็น ประตูส่พู ายพั เคียงคู่มากบั ความเปลีย่ นแปลงหลากหลายด้านในหลายสายธารแห่งกาลเวลา

10 สุโขทัยแม้ในอดีตจะรุ่งเรืองเป็นราชธานี และสิ้นสุดเสื่อมไปตามกาลเวลา แต่มีเร่ืองราวท่ีทรงคุณค่า ให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาเป็นมรดกตกทอดสืบทอดมาจนถึงทุกวันน้ี เช่น การเมืองการปกครอง สภาพสังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม เป็นต้น จากประเดน็ ดังกลา่ วมีรายละเอยี ดอย่างไรบา้ ง ? การเมอื งการปกครองสมัยสุโขทยั การแบง่ ชว่ งการเมืองการปกครองของสโุ ขทัย แบง่ เป็น 2 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะแรกประมาณ พ.ศ. 1792 – 1921 เป็นสมัยทีส่ ุโขทัยมฐี านะเป็นอาณาจักรอิสระ 2. ระยะท่ี 2 นบั จากหลังพ.ศ.1921 – 2006 เปน็ สมัยทส่ี โุ ขทยั ตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา (อาจจะมบี างชว่ งทีส่ ามารถแยกตัวเปน็ อิสระได)้ การแผ่ขยายอาณาเขตครงั้ สำคญั ในสุโขทยั มี 2 สมัย ดังน้ี 1. ครง้ั แรกในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จารกึ หลกั ที่ 1 ระบวุ า่ สุโขทัยมีอาณาเขตครอบคลมุ ภาคตะวนั ตก ของลุม่ น้ำเจ้าพระยาต่อลงไปถงึ เมืองนครศรีธรรมราชและสุดคาบสมทุ รมลายู ทางตะวันตกถึงเมืองหงสาวดี เมาะตะมะ และตะนาวศรี ทางตะวันออกเฉยี งเหนือ ถงึ ฝง่ั ซา้ ยแม่น้ำโขงในเขตเมืองเวียงจันทร์และหลวงพระบาง 2. ครั้งท่สี องในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลไิ ทย) จารึกหลักท่ี 8 ระบุว่าอาณาจักรสุโขทยั สมยั พระมหาธรรมราชท่ี 1 (พระยาลไิ ทย) ครอบคลมุ จากแมน่ ำ้ ปิงไปทาง ทิศตะวันออกถงึ แมน่ ำ้ น่านและแม่น้ำป่าสัก และจากเมืองหลวงพระบาง น่าน แพร่ ลงไปทางใต้ถึงเมืองพระบาง (นครสวรรค์) ซึ่งจะมอี าณาเขตเกือบคร่ึงหนึ่งของพ่อขนุ รามคำแหงมหาราช จะเห็นไดว้ า่ อาณาเขตของอาณาจกั รสุโขทัยมคี วามไมแ่ นน่ อนขน้ึ อยกู่ ับพระปรีชาสามารถของ พระมหากษตั ริย์แตล่ ะพระองค์ ย้อนรอยการเมอื งการปกครองสมยั สโุ ขทัย ลองชมลอง ฟงั กันนะคะ พ่อปกครองลกู ธรรมราชา

11 รูปแบบการปกครองของสโุ ขทยั แบ่งเป็น 2 รปู แบบ ดังน้ี 1. การปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก (ปติ ุราชา) ประกอบด้วยพระมหากษัตรยิ ์สมัย 1) พ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ 2) พ่อขนุ บานเมือง 3) พ่อขุนรามคำแหงมหาราช (มีความเดน่ ชัดท่ีสุด) 4) พระยาเลอไทย 5) พระยางวั่ นำถม เมอ่ื แรกก่อตั้งแคว้นสุโขทัยยงั มีอาณาเขตไม่กว้างขวาง จำนวนพลเมืองยงั มีไม่มาก และกำลังอยูใ่ นระยะ ก่อร่างสร้างตนเพื่อความเป็นปึกแผ่น จึงยังคงมีความเคยชินกับการปกครองแบบดั้งเดิม ซึ่งยึดความสัมพันธ์ทาง ครอบครัวเป็นหลัก ด้วยเหตุนี้ กษัตริย์สุโขทัยในระยะต้นจึงทรงวางพระองค์ประดุจบิดาของประชาชน ทรงปกครองดูแลไพร่บ้านพลเมืองใกล้ชิดและด้วยความเอาใจใส่ เหมือนด่ังพ่อบ้านดูแลรับผิดชอบลูกบ้านของตน ในขณะเดียวกันก็ทรงมีอำนาจสิทธ์ิขาดเหนือชีวิตลูกบ้านด้วย การปกครองแบบนี้ก่อให้เกิดกษัตริย์แบบ ปิตรุ าชา ซ่ึงมกั จะใช้คำนำหนา้ พระนามวา่ “พอ่ ขุน” พ่อขุน มีหน้าท่ีบำบัดทุกข์บำรุงสุขของอาณาประชาราษฎร์ ประชาชนสามารถร้องทุกข์ต่อพ่อขุนได้ อย่างใกล้ชิด นอกจากน้ัน พ่อขนุ ยังมีภาระหน้าท่ีผู้พากษาสูงสุดในการให้ความยุติธรรมแก่ราษฎร วนิ ิจจัยช้ีขาด ข้อพิพาทต่างๆ ของราษฎร อีกท้ังยังส่งเสริมทำนบุ ำรุงพุทธศาสนา อบรมสั่งสอนศีลธรรมจรรยาแก่ราษฎรและ ช่วยเหลือดูแลการประกอบอาชีพ ในยามสงคราม จะเป็นแม่ทัพใหญ่ในการต่อสู้กับอริราชศัตรูรวมท้ังมี ภาระหนา้ ทีใ่ นการแผ่ขยายอาณาเขตเพอ่ื ความมน่ั คงของบ้านเมือง 2. การปกครองแบบธรรมราชา (ราชาผู้ทรงธรรม) ประกอบดว้ ยพระมหากษตั ริย์ 1) พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) 2) พระมหาธรรมราชาท่ี 2 (พระยาลอื ไทย) 3) พระมหาธรรมราชาที่ 3 (พระยาไสลือไทย) 4) พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ในรัชสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) สภาพการเมอื ง การปกครองได้ทวปี ญั หามากขน้ึ ทง้ั การเมืองภายใน เกิดปญั หาการสบื ราชสมบตั ทิ ำให้การขึ้นครองราชยข์ องพระองค์ใน พ.ศ.1890 มิไดเ้ ปน็ ไป อย่างราบรื่น จงึ ตอ้ งมีการใช้กำลังปราบปรามเจ้านายสุโขทัยกลุ่มอนื่ ๆ เพื่อขน้ึ ครองราชย์สมบัติ ทรงจัดการแกไ้ ขปัญหาความกระด้างกระเดอื่ ง ของเมืองเล็กเมอื งน้อยทย่ี งั คงขึ้นอยู่กับแคว้นสุโขทัยเพื่อให้เกดิ ความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย ด้านการเมืองภายนอก แคว้นล้านนาซ่ึงอยู่ทางเหนือแคว้นสุโขทัยกำลังแผ่ขยายอำนาจทางการเมือง อย่างมากและมีข้อมูลในตำนานมูลศาสนาว่า เมืองตากซ่ึงเคยเป็นเมืองในแว่นแคว้นสุโขทัย ได้ตกเป็นของล้านนา แล้ว ส่วนทางทิศใต้ของสุโขทัย อาณาจักรอยุธยาซ่ึงเพ่ิงก่อตั้งขึ้นได้ไม่นาน กำลังพยายามแผ่ขยายอำนาจทาง การเมืองของตนออกไปทุกวิถีทาง แคว้นสุโขทัยซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างบ้านเมืองทั้งสองจึงตกอยู่ในสภาวะท่ี ลอ่ แหลมมาก พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ทรงตระหนักดวี ่า ไมส่ ามารถจะแก้ไขปัญหาทางการเมือง ท่ีเกิดข้ึนด้วยการทหารเพียงอย่างเดียว จึงทรงใช้ศาสนาพุทธเป็นเคร่ืองมืออีกอย่างในการใช้ควบคู่กับการใช้ กำลังทหาร พระองค์ทรงได้ทรงเสริมสร้างบุคลิกภาพให้เป็นท่ียอมรับของราษฎร โดยยึดแนวทางการเป็น กษัตรยิ ์ที่ดแี ละกษตั ริยท์ ีป่ ระเสริฐตามแนวคิดการเมืองของพุทธศาสนา นัน่ คือ การเป็นกษัตรยิ ์แบบธรรมราชา

12 แนวคดิ เกี่ยวกบั การปกครองแบบธรรมราชามคี วามเปน็ มาอย่างไร ? ธรรมราชา หมายถึง กษัตริย์ผู้มีธรรม หรือพระราชาผู้ปฏิบัติตามธรรม “ธรรม” ในที่น้ีหมายถึง “หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา” ซง่ึ เปน็ สง่ิ ท่รี บั รรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งกษตั ริย์และราษฎร ธรรมราชาจะแผข่ ยายอำนาจทั้งทางโลกและทางธรรมและจะยอมรับการปกครองโดยธรรมเป็นส่ิงกำหนดเง่ือนไขที่ เป็นคุณค่าสำคัญสำหรับผู้ปกครองพึงประพฤติปฏิบัติ ได้แก่ ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร และราชจรรยานุวัตร อำนาจของธรรมราชาจงึ เป็นอำนาจทช่ี อบด้วยธรรม ไม่ใชอ่ ำนาจที่เกิดจากกำลงั หรือจากแหล่งอนื่ ๆ ธรรมราชาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ได้รับการยกให้สูงเด่น ด้ายการให้ฐานะเป็นเสมือน พระโพธสิ ัตวอ์ ีกฐานะหน่ึง มีหน้าท่ีพาประชาชนข้ามวัฎสงสารไปสนู่ ิพพาน “จุ่งเป็นพระพุทธ จุ่งจักเอาฝูงสัตว์ท้ังหลาย ขา้ มสงสารทกุ ขน์ ้ี” (ประชมุ ศิลาจารึกภาคที่ 1 หลักที่ 5 : 93) อัน ที่ จริงแน ว คิด ก ารเป็ น กษั ตริย์แ บ บ ธรรม ราช าห รือ การป ก ค รองโด ย ธรรม ไม่ ใช่ ส่ิ งท่ี เริ่ ม ต้ น มี ใน รัช ก าล พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) แต่เป็นแนวคิดที่แทรกอยู่ท่ัวไปในนโยบายการปกครองบ้านเมืองท่ีนับถือ พระพุทธศาสนา เช่น บริเวณทางตอนเหนือสุโขทัย แคว้นหริภุญชัย แคว้นล้านนา ส่วนในแคว้นสุโขทัยก่อนสมัยพระ มหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) กม็ ีการกล่าวถึงการปกครองโดยธรรมแล้ว ตามหลักฐาน ศิลาจารึกหลักท่ี 2 กล่าวไว้ ตอนหนึ่งว่า “...ลูกพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ผู้หน่ึง ชื่อ พ่อขุนรามราช ปราชญ์รู้ธรรม...” ดังนั้นพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) จงึ ทรงเพยี งแตน่ ำแนวคดิ เร่ืองธรรมราชามาปฏิบตั ิให้เป็นระบบอย่างจริงจงั เท่านั้น จนทำให้เป็นแนวคิดท่ี เขา้ ไปแทนทีก่ ารปกครองแบบปิตรุ าชา สโุ ขทยั จดั รปู แบบการปกครองเป็นอยา่ งไร ? หลักฐานต่าง ๆ เท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันเก่ียวกับรูปแบบการปกครองของแคว้นสุโขทัยมีอยู่น้อยมาก เราจึง ไมท่ ราบรายละเอียดเก่ียวกับการจดั รปู แบบการปกครองของสุโขทัย อย่างไรก็ตาม มักสนั นิษฐานกันว่า สุโขทยั จะแบ่ง เขตการปกครองเป็นเมืองราชธานี เมืองลูกหลวงหรือหัวเมืองชั้นในซ่ึงทำหน้าท่ีเป็นเมืองหน้าด่านอยู่ 4 ทิศ เมืองพระยามหานครหรือหวั เมอื งช้ันนอก และเมืองออกหรอื เมืองข้ึน แต่ในความเป็นจริงแล้ว แคว้นสุโขทัยมิได้มีอาณาเขตกว้างขวางเท่าใด สุโขทัยมีการแผ่ขยายอาณาเขตท่ี สำคัญเพียง 2 รัชกาลเท่าน้ัน สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชและสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) แต่ อาณาเขตจะไมแ่ นน่ อนจะขนึ้ อยู่กับแคว้นสโุ ขทัยหรอื ไม่อยู่ที่อำนาจทางการเมืองในแต่ละสมัย อาณาบริเวณที่สุโขทัยมีอำนาจอย่างแท้จริงและมีอยู่ในระยะเวลาอันยาวนานจนสามารถสร้างสรรค์ วัฒนธรรมสุโขทัยในเมืองเหล่าวน้ีได้ ได้แก่ เมืองต่างๆ ท่ีปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ กำแพงเพชร ตาก พิจิตร พิษณุโลก อุตรดิตถ์และเพชรบูรณ์ (วิไลลักษณ์ เมฆารัตน์ 2524 : 10) กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ขอบเขตของแคว้น สุโขทัยตอนเหนือจะอยู่ประมาณจังหวัดอุตรดิตถ์ ทิศตะวันออกอยู่แถบจังหวัดเพชรบูรณ์ ทิศใต้ลงมาถึงจังหวัด นครสวรรค์ และทิศตะวันตกคงอยู่ในบริเวณจังหวัดตาก ดังนั้น การวิเคราะห์การจัดรูปแบบการปกครองของสุโขทัย จึงควรพิจารณาจากอาณาบริเวณทส่ี โุ ขทยั มอี ำนาจอยา่ งแท้จริงเท่านนั้

13 จากหลกั ฐานตา่ งๆ เทา่ ที่มีอยสู่ ามารถสรปุ แนวทางการจัดรูปแบบการปกครอง ของสุโขทยั ได้ดังน้ี 1. การปกครองราชธานี : เมืองหลวง คือ กรุงสโุ ขทยั 2. หัวเมืองช้ันใน : เมืองลูกหลวง/เมอื งหน้าด่าน ตัง้ อยู่รอบราชธานี 4 ทิศ ทิศเหนือ เมอื งศรีสัชนาลัย ทิศตะวนั ออก เมอื งสองแคว ทศิ ใต้ เมืองสระหลวง ทศิ ตะวันตก เมอื งนครชมุ 3. หวั เมอื งชนั้ นอก : เมืองพระยามหานคร - อย่ไู กลจากราชธานมี ากกวา่ เมอื งลูกหลวง - กษตั ริยท์ รงแต่งต้งั พระราชวงศ์หรือขนุ นางชั้นสงู ไปปกครองดูแลดนิ แดน - หวั เมอื งช้นั นอกในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมีหลายเมือง เชน่ เมืองพระบาง เมอื งเชียงทอง เมืองบางพาน เมอื งบางฉลัง เปน็ ตน้ 4. เมอื งประเทศราช : อยู่ดา้ นนอกสุด - เป็นเมอื งที่อยูไ่ กลราชธานีออกไปมาก - เปน็ เมืองของคนต่างชาติ ต่างภาษา ท่อี ยู่ใต้การปกครองของสุโขทัย กษตั รยิ ไ์ ม่ยุ่งเก่ยี ว - ในยามปกติต้องสง่ เครื่องราชบรรณาการมาใหส้ ุโขทัย - ในยามศึกสงครามต้องสง่ กองทัพมาช่วยสโุ ขทัย ทิศเหนือ เมืองแพร่ เมืองน่าน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมอื งเชา่ (หลวงพระบาง) เมืองเวยี งจันทน์ ทิศตะวันตก เมอื งทวาย เมืองเมาตะมะ เมืองหงสาวดี ทิศใต้ เมอื งนครศรธี รรมราช เมอื งมะละกา เมอื งยะโฮร์

14 สุโขทยั มีการควบคมุ กำลงั คนอยา่ งไร? ในประวัติศาสตร์ การจัดระเบียบสังคมของบ้านเมืองแว่นแคว้นตลอดจนอาณาจักรล้วนมีความสัมพันธ์กับ การควบคุมแรงงานหรือกำลังคน ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีสำคัญต่อแว่นแคว้นหรืออาณาจักร ท้ังด้านการสร้าง ผลผลิต การเป็นทหารในกองทัพ การเสริมอำนาจทางการเมือง และการเป็นพื้นฐานข้อหน่ึงของการจัดระบบ การปกครอง ซง่ึ แตล่ ะอาณาจกั รแว่นแคว้นจะมีวิธีการควบคุมต่างกันออกไปตามสภาพทางสังคมของตน สันนษิ ฐานวา่ สงั คมสมยั สุโขทัยต้งั แตช่ ่วงครึง่ หลังในสมยั สโุ ขทัยเป็นต้นมาไดแ้ บง่ คนในสงั คมออกเป็น 2 ชนชั้น คอื ชนช้นั ผ้ปู กครอง และชนชนั้ ผู้ถกู ปกครอง - ชนชน้ั ผูป้ กครองหรอื มลู นาย ประกอบด้วย พระมหากษัตริย์ เจ้านายและขุนนาง รวมถงึ นายชา่ งฝีมอื - พระสงฆ์ เป็นกลุ่มที่อยู่ในฐานะแกนกลางเช่ือมโยงกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม (อนุโลมให้อยู่ในชนช้ัน ปกครอง) หรอื ในอกี มิตคิ ือพระสงฆ์ไม่มีแยกหรือแบง่ ชนชัน้ แตจ่ ะเปน็ การเชื่อมระหวา่ งสองกลมุ่ - ชนชัน้ ผู้ถูกปกครอง ประกอบด้วย ไพร่ และ ทาส (คนส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 60-90) หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ จารกึ สมัยสโุ ขทัยหลายหลกั ไดเ้ อ่ยถงึ ชนชั้นไพร่ เช่น “เจ้าเมอื งบ่เอาจกอบในไพร่ ลทู ่างเพ่อื นจูงววั ไปคา้ ข่ีมา้ ไปขาย” (ลทู ่าง เป็นภาษาไทยโบราณ แปลว่า สะดวก) “ไปลั่นกระด่ิงอันทา่ นแขวนไว้พ่อขุนรามคำแหงเจา้ เมอื งได้ยนิ เรียกเมอื ถาม สวนความแก่มันด้วยช่อื ไพรใ่ นเมืองสุโขทยั นจ้ี ่งึ ชม” (เมอื แปลวา่ ไป) “ไพรฟ่ ้าข้าไทข่ีเรอื ไปค้าข่ีมา้ ไปขาย” “ไพรฟ่ ้าหน้าใสพ่อก”ู “ไพร่ฟ้าหนา้ ปก กลางบา้ นกลางเมืองมีถ้อยมีความเจบ็ ทอ้ งข้องใจ” จารกึ สุโขทัยหลกั ท่ี 8 ได้ใหข้ ้อมลู การเกณฑ์กำลังคนเปน็ เมอื งๆ มาไหว้รอย พระพทุ ธบาทท่เี ขาสุมนกฏู หรอื เขาพระบาทใหญท่ ่ีเมอื งสุโขทัย จารึกหลักน้ีกล่าวไว้ ตอนหนึ่งวา่ “อยสู่ องแควได้เจด็ ข้าว จงึ นำพลมา มที ั้งชาวสระหลวง สองแคว ปากยม พระบาง ซากงั ราว สุพรรณภาว นครพระชุม...เมอื งลมุ บาจายเปน็ บรพิ าร จงึ ขึ้น มานพพระบาท..” (เจด็ ข้าว แปลวา่ เจ็ดป)ี ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ได้ประมวลข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากจารึกสุโขทัยและได้ตีความไว้ว่า สุโขทัยคงมีวิธีการ ควบคุมกำลงั คนเหมือนในล้านนาดังที่ปรากฏในมังรายศาสตร์ กลา่ วคือ ไพร่สิบคนมีนายสบิ ดูแล ถัดจากนนั้ มีนายห้าสบิ นายร้อยหรือ หัวปาก นายพนั เจ้าหมี่น เจ้าแสน ตามลำดับ เจ้าหม่ืนจะสั่งการผ่านล่ามหมื่นไปยังนายพัน และนายพันจะติดต่อเจ้าหมื่นโดยผ่านทาง ลา่ มหมื่น เม่ือพิจารณาจากการตีความข้างต้น ประกอบกับการท่ีสุโขทัยเพ่ิงวิวัฒน์จากการต้ังบ้านแปลงเมืองมาเป็นแว่นแคว้น จงึ สนั นษิ ฐานวา่ ในสมยั สโุ ขทยั คงมีระเบียบและวธิ กี ารควบคุมกำลงั คทไี่ ม่เคร่งครัดและไม่กระชับรดั กุมมีเพียงจัดไว้กับเจา้ ขนุ มลู นาย และเกณฑ์แรงงานไปใช้เท่าน้ัน ทำให้มีจุดอ่อน 2 ประการ คือ 1) ไม่มีการจัดรูปแบบการปกครองท่ีกระชับรัดกุม 2) ไม่มีระบบการ ควบคุมกำลังคนอยา่ งเครง่ ครัด จุดอ่อนสองประการน้ี เป็นสาเหตทุ ำใหบ้ า้ นเมืองไมเ่ ขม้ แขง็ ง่ายต่อการแตกสลาย อย่างไรกต็ ามระบบการเมืองการปกครองของสุโขทัยก็มีลกั ษณะเดน่ อยู่ทีแ่ นวคิดและฐานะของกษตั ริย์ รวมท้ังการมีหรืออิง พระพุทธศาสนาในการปกครอง เป็นผลให้กษัตริย์ : ในฐานะผู้ปกครองแว่นแคว้นโดดเด่นเหนือองค์กรทางการปกครองอ่ืนๆ ซ่ึงมี โครงสร้างค่อนข้างหลวม ด้วยเหตุน้ีกษัตริย์จึงทรงเป็นผู้ดึงความกระจัดกระจายในท่ามกลางโครงสร้างที่หลวมน้ันให้มารวมกัน ความเจรญิ หรอื ความเส่ือมของบา้ นเมืองจึงขึน้ อยกู่ บั บุคลิกภาพและพระปรีชาญานของพระองค์แตล่ ะชว่ งสมยั หรือรัชกาล

15 รู้ไหมใครเป็นไพร่ ใครเป็นทาส ในสมยั สุโขทัย ? ไพร่ หมายถงึ ราษฎรสามญั ทั่วไปทง้ั ชายและหญิง มีจำนวนมากท่ีสดุ ในสังคม ชนช้ันไพร่เปน็ พนื้ ฐานสำคญั ของแวน่ แคว้นท้ังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม ในด้านการเมือง เป็นฐานกำลงั อำนาจของชนช้ันปกครอง และเปน็ กองกำลงั ในยาม ศกึ สงคราม ศิลาจารึกหลักท่ี 8 ท่ีให้ขอ้ มลู ว่า พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลไิ ทย) ทรงนำผู้คน (พวกไพร่) มานบพระพุทธบาทท่เี ขาสุมนกูฏน้นั ใช้วา่ “จึงนำพลมา” บ่งบอกให้เหน็ ถึงการรวมฐานกำลังไพร่พลผา่ นความเชอื่ ทางศาสนา ทชี่ ่วยสง่ เสริมอำนาจทางการเมืองของผู้ปกครอง พวกไพร่ในสมยั สุโขทัยเป็นแรงงานสำคัญในด้านการเกษตร การชลประทาน การกอ่ สร้าง และงานโยธาตา่ งๆ รวมท้ังช่วยเสริมความมหี น้ามีตาและสถานะทางสังคม ของพวกเจา้ -ขนุ หรือมูลนายท่ีควบคุมไพรด่ ว้ ย ทาส หมายถึง บุคคลท่ีกรรมสิทธิ์ในชีวิตและทรัพยส์ นิ เป็นของนายทาส สโุ ขทัยมหี ลักฐานท่ีช้ใี หเ้ หน็ วา่ มที าส ดงั น้ี 1) มพี วกเชลยศึกจากการทำสงคราม ที่สโุ ขทัยนำกลับมา พวกนี้อยใู่ นสถานะ ความเป็นทาสเชลย “...ไดข้ า้ เสือกขา้ เสือ หัวพุ่งหวั รบกด็ ี บ่ฆา่ บต่ .ี ..” (ศิลาจารกึ หลักท่ี 1) (ขา้ เสือกขา้ เสือ = ข้าศึก หวั พงุ่ หัวรบ = ทหารช้นั หวั หนา้ ) 2) คนทเี่ ปน็ ทรพั ยส์ นิ ที่ซือ้ ขายกนั ไดใ้ นตลาดเพ่อื ทำบญุ โปรดสัตว์ รวมถึงเป็นมรดกที่สืบทอดต่อกนั และเวนฝูงคน ที่ไดส้ บื ทอดมานน้ั อทุ ิศทำบุญให้วัดได้ “...ลางแหง่ เทตลาดซ้ือสตั ว์ทัง้ หลายโปรส (ปลดปลอ่ ย) อันเป็นต้นว่า คนอีกแพะแลหมหู มาเปด็ ไก่ ทั้งห่าน นกหกปลาเนื้อฝูงสตั วท์ ัง้ หลาย...” (ศิลาจารึกหลกั ที่ 2) คา่ ตวั เขาทงั้ หลายแปดคน ...พ่อตายไวแ้ ก่ลูก ลกู ตายไว้แก่หลาน หลานตายไวแ้ กเ่ หลน...เมอื่ ได้ย่ีสบิ แปด... เถงิ สี่สบิ แปดน้ี เวนฝงู คน...ท้งั หลายอันจ่ายทำบุญได้ (ศลิ าจารกึ หลักที่ 10) ข้อมลู ที่กล่าวมาข้างตน้ ทำให้เห็นภาพ การซ้อื ขายคน คนมีค่าตวั เปน็ มรดกทรพั ยส์ ินที่สืบทอดต่อกนั มาสะท้อนถึง สถานะความเปน็ ทาสท่ีต้องมอบแรงงานทำการงานต่างๆ ใหน้ ายทาส ศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร ไดส้ รุปเรือ่ งทาสในสมัยสโุ ขทยั ไวว้ า่ “สุโขทยั ได้เชลยศกึ มาแล้วไม่ฆ่าไมต่ ี กลบั มานำเลยี้ งไว้ แตก่ ็คงไม่ดวี ิเศษเหมอื นคนท่ัวไป และตามจารึก หลักท่ี 9 ในพ.ศ.1903 พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ทรงนำเชลยศึกมาเป็นจา้ พระวดั ป่าแดง และ จารึกหลักท่ี 2 พระมหาเถรศรศี รัทธา ซอื้ คนปลดปล่อยเป็นอสิ ระในขณะทเี่ ดินทางจากสโุ ขทัยไปลำพนู หาก เป็นเร่ืองในล้านนา แสดงว่าล้านนามีข้าในขณะท่ีอยุธยามีทาส เม่ือพระในสุโขทัยมีข้าได้ คนธรรมดาใน สุโขทยั ก็น่าจะมีขา้ ได้ แต่สภาพข้าหรือทาสของไทยมิได้รา้ ยกาจเหมอื นทาสตดิ ทีด่ ินของตา่ งประเทศ” (ประเสริฐ ณ นคร 2547 หนา้ 13-14)

16 สมัยสโุ ขทัยมคี วามสัมพันธร์ ะหว่างประเทศหรือไม่ อย่างไร ? อาณาจักรสุโขทัย มีการสร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ด้วยวิธีการที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป โดยมี ความสัมพันธ์กับดินแดนต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ เช่น ขยายอำนาจหรือขอบเขตให้กว้างขวางออกไป ผลประโยชน์ ทางด้านเศรษฐกิจและการค้า รักษาสัมพันธไมตรีกับอาณาอ่ืนๆ เผยแพร่และรับการถ่ายทอดวัฒนธรรม และรักษา ความมนั่ คง ป้องกันการรุกรานจากภายนอก เปน็ ตน้ ตามหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ พบวา่ อาณาจักรทสี่ ุโขทยั มกี ารสร้างความสมั พันธ์ ประกอบดว้ ย 1. อาณาจกั รล้านนา - สมัยพอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช ไดเ้ ป็นพระสหายสนทิ กับ พญามงั ราย พระมหากษัตริย์ ลา้ นนา และพญางำเมือง แห่งเมืองพะเยา จึงได้ผกู มิตรไมตรีกนั อย่างแน่นแฟน้ เพือ่ ปอ้ งกัน การรกุ รานจากพวกมองโกล นอกจากนี้พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ยงั ช่วยพญามงั รายเลอื ก ชัยภูมทิ เ่ี หมาะสมและวางผังเมืองแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา คอื เมืองนพบรุ ีศรนี ครพงิ ค์ อาณาจักรลา้ นนา (พ.ศ. 1839 - 2442)เชยี ง-ใหสมม่ ัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) อาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจักรล้านนามี ความสัมพันธ์กันทางวัฒนธรรมด้านพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ โดยพระเจ้ากือนาแห่งอาณาจักรล้านนา ได้แตง่ ทตู มาขอพระสมุ นเถระ ซี่งเป็นพระภิกษุของอาณาจกั รสุโขทยั ข้ึนไปสืบทอด และเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทล่ี า้ นนา - สมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 2 (พระยาลอื ไทย) ตรงกับสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขุนหลวงพะง่ัว) กษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา ได้ยกทัพไปตีหัวเมืองหลายแห่ง และพระมหาธรรมราชาที่ 2 (พระยาลือไทย) ทรงขอกำลังทัพสนับสนุนจากเจ้าเมืองล้านนาในขณะน้ัน ก็ได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดี และในสมัยน้ันอาณาจักร สุโขทัยมีกำลังอ่อนแอมาก เกรงว่าอาณาจักรล้านนา จะเข้ามาครอบครองอาณาจักรสุโขทัยจึงตัดสินใจยกทัพเข้าโจมตี อาณาจักรลา้ นนาจนไดร้ ับความเสียหายมาก สง่ ผลใหค้ วามสัมพนั ธ์ระหว่างสุโขทัยกบั ล้านนายตุ ิลง 2. แควน้ พะเยา แควน้ พะเยา หรอื นครรัฐพะเยา เปน็ นครรัฐอิสระ ตง้ั อยใู่ กล้แม่น้ำอิงซึ่งไหลมาจาก เทอื กเขาผปี นั นำ้ เป็นอาณาจักรรว่ มสมัยเดยี วกับยุคปลายของหริ ัญนครเงินยางเชียง แสน เจรญิ รุ่งเรืองสูงสุดในรชั กาลพญางำเมอื ง เคยขยายอำนาจปกครองนครรัฐนา่ น และมีสมั พันธ์อันดตี อ่ อาณาจักรล้านนา และอาณาจกั รสุโขทยั แตภ่ ายหลัง พ.ศ.1877 – 1879 พะเยาถูกผนวกเขา้ กับล้านนาในสมัยพญาคำฟูที่เข้าปล้นพะเยาจากความร่วมมือ ของนครรัฐน่าน เน่ืองจากพญางำเมืองแห่งแคว้นพะเยา เป็นพระสหายกับพ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัยกับ แคว้นพะเยาจึงเป็นมิตรท่ีดีต่อกัน มีการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมและมีการติดตอ่ ค้าขายกนั เส้นทางการค้าจากกรุงสุโขทัยไป เมืองพะเยา เชียงราย เชียงแสน เป็นเส้นทางการค้าสำคัญเส้นทางหน่ึง ท้ังยังเป็นทางผ่านของสินค้าจากจีนเข้ามาสู่สุโขทัย ทางบกอกี ดว้ ย

17 3.อาณาจักรนา่ น ในศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราชระบุว่า นา่ นอยู่ในฐานะประเทศราชของสโุ ขทัย ความสัมพนั ธส์ ่วนใหญม่ ีความสมั พนั ธ์ทด่ี ีต่อกนั ทั้งมีการชว่ ยเหลอื กนั ยามศกึ สงคราม อุปถัมภ์ค้ำชูพระพุทธศาสนาระหว่างกัน จนปรากฏพุทธศิลป์แบบสุโขทัยในเมืองน่าน จำนวน มาก และมีความสมั พนั ธ์ทางเครอื ญาตผิ ่านทางการเสกสมรส ความสมั พนั ธ์ทางเครอื ญาติผา่ นการเสกสมรส พระราชโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ไดเ้ สกสมรส กับธิดาของพระยาคำต้น เจ้าผูค้ รองนครนา่ น ความสมั พนั ธจ์ งึ แน่นแฟน้ ย่ิงข้นึ ให้ความช่วยเหลือกันและกนั มาโดยตลอด ความสัมพนั ธท์ างวฒั นธรรมในงานศิลปกรรม ความสัมพันธก์ ับสโุ ขทัยยังปรากฎในงานศลิ ปกรรมของเมืองน่านทเี่ ด่นชัดคอื ศิลปะของ พระพุทธรูปท่ปี รากฏในเมืองนา่ นได้รับอิทธิพลมาจากสุโขทยั เช่น การสร้างพระพทุ ธรูป 5 องค์ของพญาสารผาสุม กษตั รยิ น์ ่าน พ.ศ.1970 เปน็ พระพุทธรปู ปางลลี า 4 องค์ และปางประทานอภยั 1 องค์ 4. อาณาจักรลาว/ล้านชา้ ง อาณาจักรสโุ ขทัยได้มคี วามสัมพันธ์กับอาณาจักรลาวตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในสมยั นมี้ บี างเมอื งของลาวอยู่ภายใต้การปกครองของสุโขทัย เมื่อสน้ิ สมัยพอ่ ขุนรามคำแหง มหาราช อาณาจักรลาวกไ็ ดร้ วบรวมหัวเมอื งเหลา่ น้นั ข้ึนเป็นอิสระ ต้งั อาณาจกั รขึ้น เรียกวา่ อาณาจกั รลา้ นชา้ ง มีอำนาจเข้มแข็งและไดข้ ยายอาณาเขตมาถึงสุโขทัย ทำให้ขอมไมก่ ลา้ มารุกรานทำให้อาณาจกั รสุโขทยั และอาณาจกั รลาวมคี วามสมั พันธ์อนั ดีต่อกัน 5. อาณาจักรมอญ อาณาจกั รสโุ ขทยั มคี วามสัมพันธก์ ับอาณาจักรมอญในสมยั พ่อขนุ รามคำแหงมหาราช เสริมความรเู้ รื่องอาณาจกั รมอญ เพราะในขณะนั้นพระเจ้าฟ้ารั่ว (มะกะโท) กษตั ริยม์ อญอยู่ในฐานะเป็นพระราชบตุ รเขยของ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พ่อขนุ รามคำแหงมหาราชพยายามส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้มะกะโท จนได้เป็นกษตั รยิ ์แหง่ อาณาจักรมอญและพระราชทานนามว่า “พระเจ้าฟ้ารั่ว” 6. อาณาจกั รขอม อาณาจักรขอมซงึ่ เคยมีอำนาจอยู่บริเวณล่มุ แม่น้ำโขงและลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ครั้นในสมัยพอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช ขยายอำนาจลงไปทางลมุ่ แมน่ ้ำโขงตอนลา่ ง เข้าโจมตีอาณาจกั รขอมและทำลายอาณาจักรขอมแถบลุม่ แมน่ ำ้ เจ้าพระยาสนิ้ สุดลงได้ 7. อาณาจกั รนครศรธี รรมราช อาณาจักรสุโขทัยมคี วามสัมพนั ธก์ ับอาณาจักรนครศรธี รรมราชตัง้ แตส่ มยั พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตยท์ ่ีไดต้ ดิ ต่อกบั กษตั รยิ ์ ของนครศรธี รรมราชเพอ่ื ขอพระพทุ ธสหิ ิงค์จากลงั กามาประดิษฐานที่สุโขทัย และในสมยั พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช ทรงได้นำพระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท ลทั ธิลังกาวงศ์จากเมอื งนครศรธี รรมราชมาประดษิ ฐานในกรงุ สโุ ขทัย ทำให้ อาณาจกั รท้ังสองมีความผูกพันกันอย่างใกล้ชิด

18 8. อาณาจักรอยุธยา ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจักรอยุธยา เริ่มข้ึนในสมัยพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงยกทัพข้ึนมายึดเมืองพิษณุโลกของอาณาจักรสุโขทัย ทำให้สุโขทัยต้องส่งเครื่องบรรณาการ พร้อมคณะทูตเดินทางไปเจรจาขอเมืองพิษณุโลกคืนซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงพระราชทานเมือง พิษณโุ ลกคืนให้แกส่ โุ ขทยั ต่อมา อาณาจกั รอยธุ ยายกทพั มาตเี มืองชากังราว ตรงกบั สมัยพระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขุนหลวงพระงัว่ ) กษตั รยิ ข์ องอยธุ ยา ทำใหพ้ ระมหาธรรมราชาที่ 2 กษัตรยิ ส์ ุโขทยั ทรงยอมออ่ นน้อมต่อ แสนยานุภาพของอาณาจกั รอยธุ ยา นบั ตงั้ แตน่ ัน้ มาอาณาจักรสุโขทยั ตกเปน็ เมอื งประเทศราชของอาณาจกั รอยุธยา จนส้นิ สมัยของพระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล) อาณาจักรสโุ ขทยั ไดถ้ ูกผนวกเป็นส่วนหนี่งของอาณาจกั รอยธุ ยา 9. ลงั กา อาณาจักรสโุ ขทัยกับลงั กาส่วนใหญ่มคี วามสัมพนั ธ์กันทางด้านพระพทุ ธศาสนา - สมยั พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ สโุ ขทัยไดร้ ับพระพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์มาจากเมือง นครศรธี รรมราชพระองคไ์ ด้ทรงสง่ ราชทตู ไปยังลังกาพร้อมกบั ราชทูตของเมือง นครศรธี รรมราช เพ่ือขอพระพทุ ธสหิ งิ ค์มาไว้สักการบูชาที่อาณาจักรสโุ ขทัยทำให้ อาณาจักรสุโขทยั ได้แบบอยา่ งพระพุทธศาสนาลัทธลิ ังกาวงศ์มาถือปฏบิ ัตกิ ันในอาณาจักรสุโขทยั อย่างจรงิ จงั - สมัยพอ่ ขนุ รามคำแหง เป็นสมยั ท่ีใหก้ ารยอมรับพระพทุ ธศาสนา เปน็ ศาสนาประจำชาติโดยพระองค์ทรงนิมนต์ พระสงฆ์มาจากเมืองนครศรธี รรมราช มาประจำอยทู่ ส่ี ุโขทัยและแสดงธรรมในวันธรรมสวนะ (วนั พระ) ทีก่ ลางดงตาลใหก้ บั ประชาชนชาวสุโขทยั และช่วยสง่ เสรมิ ทางการศกึ ษา ทางศาสนาและการปฏบิ ัตทิ างวินยั นอกจากน้ันยังมปี ระเพณีในด้าน ศาสนาเกดิ ขนึ้ แลว้ เชน่ การทำบญุ การทอดกฐิน - สมัยพระยาเลอไท พระสงฆ์บางรูป เช่น พระมหาเถรศรศี รทั ธา ไดเ้ ดินทางไปศึกษาพระไตรปฎิ กในประเทศ ลังกา เมื่อเดนิ ทางกลบั ได้นำพระศรมี หาโพธ์ิ พระศวี าธาตุ (กระดูกสว่ นบนร่างกาย เชน่ กรามหรอื ไหปลารา้ ) และพระ ทนั ตธาตมุ าประดิษฐานไว้ท่ีกรุงสโุ ขทัย นอกจากนน้ั พระองค์ยังนำพระวินัยทเ่ี คร่งครดั ของพระสงฆใ์ นนิกายมหาวหิ าร มา เผยแผ่ในกรงุ สุโขทยั - สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลไิ ทย) เปน็ สมัยที่อาณาจักรสุโขทยั มีความเจริญดา้ นพระพุทธศาสนามาก ทสี่ ุด โดยพระองค์ได้โปรดให้พิมพ์รอยพระพุทธบาท จากประเทศศรีลงั กามาจำหลกั ลงบนแผน่ หิน แล้วนำไปประดษิ ฐานยงั ยอดเขาสมุ ณกุฎ (ปัจจบุ ันคือ “เขาหลวง” อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองสโุ ขทัยเกา่ ) และเมื่อครง้ั พระองค์ฯ เสดจ็ ออกผนวชก็ได้โปรดใหเ้ ชิญพระอุทุมพรบุปผาสวามีชาวลงั กา มาเปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ ผลดจี ากการเปิดสัมพันธภาพกบั ลังกา 1. อาณาจักรสุโขทัยไดร้ ับแบบอย่างพระพุทธศาสนาลทั ธลิ งั กาวงศ์มาปฏิบัติอย่างจริงจงั 2. ไทยได้รับมรดกทางด้านศลิ ปะมาถอื ปฏิบัติ เช่น การสร้างโบสถ์ วิหาร 3. ไทยไดร้ บั มรดกทางวฒั นธรรม เช่น งานพระราชพิธใี นพระราชสำนัก พระราชพิธเี ก่ยี วกบั งานนักขัตฤกษ์ ในพระพทุ ธศาสนา

19 10. จีน ความสัมพันธร์ ะหวา่ งอาณาจักรสโุ ขทยั กับจนี มีมาตง้ั แตส่ มยั พ่อขนุ รามคำแหง ส่วนใหญ่เป็นความสัมพันธ์ดา้ น การคา้ ระบบราชบรรณาการในสมัยพระเจา้ หงวนสโี จ๊วแหง่ ราชวงศห์ งวน ไดด้ ำเนนิ นโยบายสง่ ทตู ไปเจรญิ สัมพนั ธไมตรี กับประเทศต่าง ๆ พร้อมทงั้ ชักชวนใหส้ ง่ ทูตไปติดตอ่ และส่งเครือ่ งราชบรรณาการให้แกจ่ ีน โดยความสมั พนั ธท์ างการทตู ระหวา่ งอาณาจกั รสุโขทยั กับจีน จนี เปน็ ฝา่ ยเรมิ่ ตน้ ส่งคณะทูตเข้ามาคณะแรกในปี พ.ศ. 1825 แตค่ ณะทตู ชดุ นี้ยงั ไม่ได้ มาถึงอาณาจักรสโุ ขทัย พ่อขุนรามคำแหงทรงตัดสนิ พระทัยสง่ ราชทูตพร้อมเครื่องราชบรรณาการไปถวายแก่พระเจา้ หงวน สโี จ๊ว เพ่ือเป็นการกระชับมติ ร ใหแ้ นน่ แฟน้ ย่ิงข้ึนไป ได้แลกเปล่ียนคณะทูตกนั อีกหลายครัง้ นอกจากนน้ั อาณาจักรสโุ ขทยั ยงั รับประโยชน์จากจีนโดยการรบั วิทยาการเร่ืองเทคนคิ การทำเครื่องป้ันดินเผาแบบใหม่ คือ การทำเคร่ืองสังคโลก ทีม่ ี คุณภาพสามารถเป็นสินคา้ สง่ ออก นำรายได้มาสอู่ าณาจกั รสโุ ขทัยเปน็ จำนวนมาก ผลจากการเปดิ สัมพันธภาพกับจีน 1. ทางด้านการเมอื งทำใหอ้ าณาจักรสโุ ขทัยรอดพ้นจากการรกุ รานจากจนี นอกจากนั้นจีนยังไม่เข้าแทรกแซงการขยายอาณาเขตของไทยไปยังแหลมมลายู จนเกินขอบเขต 2. ทางด้านเศรษฐกจิ เป็นการส่งเสรมิ การคา้ ระหว่างไทยกับจนี ในระบบบรรณาการทำใหไ้ ทยไดร้ ับประโยชน์จากการค้าระบบน้ี โดยคณะทูต ไดร้ บั อนญุ าตให้มีการซื้อขายสินคา้ โดยไม่ต้องเสยี ภาษี 3. ทำใหเ้ กดิ อุตสาหกรรมผลติ เครื่องสังคโลกขึ้นผลติ ตัง้ แตช่ นิ้ ใหญ่ลงไปถงึ ชิน้ เล็ก ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณสโุ ขทยั และสวรรคโลกต่อมาการผลติ เครื่องสังคโลกได้มีการขยายตัวอย่างรวดเรว็ ทำใหเ้ ศรษฐกิจสุโขทยั เจรญิ ข้ึนด้วยการส่งเครื่อง สงั คโลกไปจำหน่ายยงั เมืองตา่ ง ๆ เหตุใดอาณาสโุ ขทยั จึงเสอื่ ม ? นับต้ังแต่สิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหง อาณาจักรสุโขทัยเร่ิมอ่อนแอ พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ทรงใช้พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องมอื ช่วยเสริมสร้างเพ่ือให้อาณาจักรสุโขทยั มีความม่ันคงขึน้ บ้าง ระยะต่อมาสถานการณ์ทรุด หนักลง เป็นเหตทุ ำให้อาณาจกั รสโุ ขทัยเส่ือมสิ้นสดุ ลงโดยถูกรวมเขา้ กับอาณาจักรอยุธยา ด้วยสาเหตุสำคญั ดังนี้ 1. ข้อเสยี เปรียบทางเศรษฐกิจ อาณาจักรสุโขทัยมีทตี่ ้ังอยู่ห่างจากทะเลมาก ทำให้ไมม่ ีเมอื งท่าเป็นของตนเอง และไมส่ ามารถติดต่อค้าขายกับ ต่างประเทศโดยตรงได้ ต้องอาศัยผ่านเมืองมอญ และไปทางใต้ทางเมืองเพชรบุรี และนครศรีธรรมราช นอกจากน้ัน อาณาจักรสุโขทัย ยังถูกอาณาจักรอยุธยาปิดก้ัน โดยสิ้นเชิงด้วยการให้เมืองเหล่านั้นประกาศเอกราชหรือถูกรวมเข้ากับ กรุงศรีอยุธยา ทำให้เศรษฐกิจสุโขทัยทรุดโทรม ขาดรายได้ทั้งการค้ากับต่างประเทศ และการค้าระหว่างเมืองต่างๆ เม่ือเศรษฐกจิ ทรุดโทรมย่อมนำมาซ่ึงความเสื่อมโทรมทางการปกครองดว้ ย

20 2. ความแตกแยกทางการเมอื ง อันเปน็ ปัญหาสบื เนือ่ งจากการขาดความสามคั คีภายในอาณาจกั รมีการแยง่ ชิงราชสมบตั ิ ระหวา่ งเจ้านาย ภายในราชวงศ์สุโขทยั ดว้ ยกันเอง เชน่ ก่อนทพ่ี ระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) ข้นึ ครองราชสมบตั คิ วามหา่ งเหิน ระหว่างผปู้ กครองกับผู้อยู่ใตป้ กครองมีมากขึน้ เน่ืองจากการมีประชากรมากข้นึ ความใกลช้ ดิ ของกษัตริย์ต่อราษฎรได้ ลดลงไป ประกอบกับแนวความคิดการปกครองจากพ่อปกครองลูกไดแ้ ปรเปลี่ยนเป็นธรรมราชา เน่ืองจากสภาพแวดล้อม ทางการเมอื งนอกจากนั้นวฒั นธรรมอนิ เดยี ได้เข้ามามีอิทธิพล ทำใหเ้ กิดความหา่ งเหินมีมากย่งิ ข้ึน จนกลายเป็นแยกกันอยู่ คนละส่วน อำนาจในการตัดสินเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ข้นึ อยู่กบั พระมหากษัตริยเ์ พียงผเู้ ดียว 3. การปกครองแบบกระจายอำนาจ อาณาจกั รสโุ ขทัยเส่ือมอำนาจอย่างรวดเรว็ มาจากจดุ อ่อนรปู แบบการปกครองที่มีโครงสรา้ งค่อนข้างเป็น การกระจายอำนาจทีห่ ละหลวม เจา้ เมืองตา่ งๆ มีอำนาจในการบริหารและการควบคุมกำลังคนภายในเมืองของตนเกอื บ จะเตม็ ที่ ราชธานีไม่สามารถควบคมุ หัวเมืองได้อยา่ งรัดกุม จึงเปิดโอกาสให้หวั เมืองเหล่าน้นั แยกตัวเปน็ อสิ ระไดโ้ ดยงา่ ย 4. ปัญหาทางการเมืองภายนอก บรเิ วณลุ่มแม่นำ้ เจา้ พระยาตอนลา่ งได้มีการก่อตั้งอาณาจักรอยธุ ยาและทางตอนเหนอื ได้มีอาณาจกั รล้านนา ทน่ี ับวา่ มแี ตค่ วามเก่าแก่ บบี อยถู่ ึง 2 ด้านโดยเฉพาะอาณาจักรอยุธยาได้เข้ามารุกรานชายแดนสโุ ขทยั หลายครั้ง นบั ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 1914 เปน็ ต้นมา จนถึงสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แหง่ อาณาจักรสโุ ขทยั ต้องออกมาออ่ นน้อมยินยอมเป็น เมืองประเทศราชของอาณาจักรอยธุ ยา ในปี พ.ศ.1921 เม่ืออาณาจกั รสโุ ขทัยตกเป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักร อยุธยา พระมหากษตั ริยข์ องอาณาจักรสุโขทยั เสด็จมาประทับทเี่ มืองสองแคว จนถงึ ปี พ.ศ.1962 พระมหาธรรมราชาท่ี 3 เสดจ็ สวรรคตทเ่ี มืองสองแคว ไดเ้ กดิ จราจลแย่งชิงราชสมบตั ริ ะหว่าง พระยาบานเมืองกับพระรามคำแหง โดยสมเด็จพระ นครินทราธิราชแหง่ อาณาจกั รอยุธยาได้เสด็จขึน้ มาระงบั เหตกุ ารณ์ ทั้งสองพระองค์ต้องออกมาถวายบงั คม จงึ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาบานเมืองเป็นพระมหาธรรมราชาท่ี 4 ครองเมืองสองแคว เม่ือสิ้นรชั กาลนแ้ี ลว้ ไม่ปรากฏผ้จู ะปกครองต่อไป อาณาจักรสโุ ขทยั มีเมอื งหลวงอยู่ท่ี เมืองสองแคว จงึ รวมเข้ากบั อาณาจักรอยธุ ยาในปี พ.ศ. 2006 โดยมีพระราเมศวร (พระบรมไตรโลกนาถ) ขึ้นมาปกครองดแู ล อาณาจักรสโุ ขทัยจึงนับว่าได้ส้ินสดุ ลง สรปุ ได้ว่า การที่อาณาจกั รสุโขทัยเสือ่ มอำนาจอย่างรวดเร็ว มีสาเหตุมาจากจดุ อ่อนในรปู แบบการปกครอง ทีม่ โี ครงสร้างแบบกระจายอำนาจ วธิ ีการควบคมุ กำลงั คนไม่กระชับรัดกมุ ทำเลอาณาจักรไมเ่ หมาะสม เศรษฐกิจไม่มั่งคง่ั ตลอดจนการเป็นรฐั กนั ชนระหว่างอาณาจักรล้านนาและกรุงศรีอยธุ ยา จงึ ทำให้อาณาจักรสโุ ขทัยส้ินสุดลง แม้สุโขทยั จกั เสื่อมลง แตค่ วามเจริญรุง่ เรอื งครั้งเก่าก่อน ยังคงถา่ ยทอดเปน็ มรดก สบื ต่อมาใหไ้ ด้ศกึ ษาเรียนรู้จนปจั จบุ นั

21 มรดกสโุ ขทัย ท่ถี ่ายทอดไว้ให้ศึกษาประกอบดว้ ยด้านใดบ้าง ? 1. ด้านการวางผังเมอื ง เมอื งสุโขทัย มผี ังเมืองเปน็ ระเบียบแบบแผนรปู สีเ่ หลย่ี มผืนผ้า โดยสโุ ขทัยเดมิ น้ัน กวา้ งยาว ด้านละ 600 เมตร และมีคูน้ำ คันดินกว้างประมาณ 20 เมตรรอบทัง้ ส่ีด้าน โดยมวี ดั พระพายหลวง เป็นศูนย์กลางของชมุ ชน ต่อมามีการเพิ่มจำนวนของประชากร จึงได้ย้ายเมืองไปทางทิศใต้ของเมืองเดิมเพ่ือตั้งชัยภูมิใหม่ที่เหมาะสมกว่า โดยเมืองสุโขทัยใหม่น้ันกว้างกว่าเดิมมาก คือ ความกว้าง 1,400 เมตร ยาว 1,810 เมตร มีกำแพงดินและคูน้ำล้อมรอบ 3 ช้ัน คูน้ำแต่ละช้ันกว้าง 20 เมตร ซึ่งนอกจาก จะใช้คูน้ำในการป้องกันข้าศึกแล้ว ยังใช้สำหรับการอุปโภคบริโภคภายในเมืองสุโขทัยด้วย ถือว่าเป็นเมืองที่มีระบบการ จัดการน้ำที่ดีมาก โดยมีการชักน้ำมาทำนบพระร่วง หรือเขื่อนสรีดภงค์ท่ีอยู่นอกเมืองสุโขทัยทางตะวันตกเฉียงใต้ และใช้ ทอ่ น้ำดนิ เผาในการส่งน้ำไปใช้ภายในเมอื ง และมีการขุดสระน้ำ หรือ “ตระพงั ” สำหรับเก็บกกั น้ำไวใ้ ชแ้ บบภายในเมอื งอีก ดว้ ย (กรมศลิ ปากร,2545 : 68) 2. มรดกทางวฒั นธรรม มรดกทางวฒั นธรรมของสุโขทยั มักจะเปน็ งานศิลปะท่ีมีความเกีย่ วข้องกับพระพทุ ธศาสนามที ัง้ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรม โดยได้รับอิทธพิ ลมาจากอินเดีย ลังกา พมา่ เขมร ศรีวิชัยและล้านนา เชน่ 2.1 จติ รกรรม จิตรกรรมในศลิ ปะสุโขทัยส่วนใหญจ่ ะเปน็ เรื่องราวจากพระไตรปฎิ ก เช่น พุทธประวตั ิ ชาดก ไตรภมู ิ และอื่น ๆ โดยนอกจากจะเป็นไปเพื่อการประดับตกแต่งแล้ว ยังได้เล่าเรื่อง และแสดงธรรมบางประการ ไว้ด้วย นอกเหนือไปจาก การให้ความรู้ความเพลิดเพลินแล้วจิตรกรรมไทยยังได้สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นไปของสภาพชีวิตความเป็นอยู่ และคตคิ วามเชอื่ เชน่ - ภาพจิตรกรรมฝาผนังในคูหาเจดีย์ดา้ นทิศตะวันตกของวดั เจดีย์เจด็ แถว อุทยานประวัติศาสตรศ์ รสี ัชนาลยั จ.สุโขทัย เป็นภาพอดีตพระพทุ ธเจา้ มกี ารวาดลาย ด้วยสแี ดง ขาวและเหลอื งเปน็ หลกั เปน็ ภาพทร่ี ับอิทธพิ ลทางศิลปะมาจากอนิ เดยี และพกุ ามของพมา่ - ภาพจำหลกั ลายเส้นบนหินชนวนวัดศรชี มุ จ.สุโขทัย แสดงเรอื่ งราวชาดก

22 2.2 ประติมากรรม ประตมิ ากรรมสมยั สโุ ขทัย เร่ิมต้งั แต่สมยั พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ประกาศตงั้ กรุงสโุ ขทัยเป็นราชธานี เมอื งสำคญั ทาง ศิลปะสมัยสโุ ขทยั ท่ีเปน็ หลักฐาน ประกอบด้วย เมอื งสโุ ขทัยเกา่ กำแพงเพชร และศรีสัชนาลัย ปรากฏโบราณสถาน ใหญ่โต มศี ลิ ปวตั ถุเปน็ จำนวนมาก ชาวสุโขทัยนับถือพระพุทธศาสนายุคแรกตามแบบลพบรุ ี คือ พุทธศาสนาแบบ มหายาน ภายหลังพุทธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศแ์ พร่ขยายเข้ามาในสมัยพ่อขุนรามคำแหง วสั ดุท่นี ำมาสรา้ งประติมากรรมมี ปูน เพชร ดินเผา ไม้ โลหะสำริด และทองคำ ประติมากรรมการสร้างพระพุทธรูป ซ่งึ เป็นศลิ ปะที่สั่งสมมาจาก ความเช่ียวชาญในฝมี อื และการสร้างสรรค์ของชา่ ง ในสมัยสโุ ขทัยพระพุทธรปู มี 4 อิรยิ าบถ “พระสี่อิริยาบถ” พบทวี่ ดั พระเชตพุ น จ.สโุ ขทัย วดั พระส่อี ริ ิยาบถ จ.กำแพงเพชร โดยจะทำเปน็ อาคารท่ีมีแผนผังเป็นรูปสีเ่ หลี่ยม แกนกลางทึบ ในแต่ละด้าน ประดิษฐานพระพทุ ธรูปในอริ ิยาบถทแ่ี ตกต่างกนั คือ ยนื หรอื ปางประทานอภยั (ทศิ ตะวันตก) เดนิ หรือ ปางลลี า (ทิศตะวนั ออก) น่ัง หรอื ปางมารวิชยั (ทิศใต้) และนอน หรือ ปางไสยาสน์ (ทิศเหนือ) ซ่งึ คตใิ นการทำพระพุทธรปู สี่อิรยิ าบถ นีม้ าจากพระไตรปิฎกเกย่ี วกบั พุทธกจิ ของพระพุทธเจ้าในแตล่ ะวัน ในฐานะท่ีพระองค์เป็นมนษุ ยท์ ที่ รงปฏิบตั ิกจิ อย่างต่อเนอ่ื งตลอดทัง้ วันยอ่ มตอ้ งทรงพกั พระวรกายจากความเมอ่ื ยลา้ ด้วยการยนื เดนิ น่งั และนอน พระอจนะ วัดศรีชุม จ.สุโขทัย เป็นลักษณะศิลปะสุโขทัยโดยเฉพาะ มี ลักษณะคือ พระรัศมีเป็นเปลวขมวดพระเกศาเล็ก พระพักตร์รูปไข่ พระขนง โก่ง พระนาสิกงุ้ม (ตามแบบลักษณะมหาบุรุษจากอินเดีย พระโอษฐ์อมย้ิม เล็กนอ้ ย พระองั สาใหญ่ ป้ันพระองค์เลก็ ครองจวี รเฉียง ชาวจีวรยาวลงมาถึง พระนาภี ปลายเขี้ยวตะขาบ ชอบทำปางมารวิชัย ประทับขัดสมาธิราบ ฐาน เปน็ หนา้ กระดานเกลีย้ ง พระพุทธชินราช วดั พระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณโุ ลก เป็นลกั ษณะศิลปะสโุ ขทยั ท่เี ชื่อกันว่าเริ่มสร้างครัง้ แผน่ ดิน พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) ราวตน้ พุทธศตวรรษที่ 20 พระพักตร์คอ่ นขา้ งกลม พระองค์ค่อนข้างอวบอ้วน นว้ิ พระหัตถ์ ทัง้ สม่ี ีปลายเสมอกัน มีลักษณะของมหาบรุ ุษ 32 ประการ พระศรีศากยมุนี พระพุทธรูปศลิ ปะสโุ ขทยั ทม่ี ีชื่อเสียง เป็นพระพุทธรปู หล่อ สำริดขนาดใหญ่ ซึ่งประดษิ ฐานในวหิ ารหลวงวดั พระศรรี ตั นมหาธาตกุ ลางเมืองสุโขทัย ปัจจุบันได้รบั การเคล่ือนย้ายไปอยู่ท่วี ัดสทุ ศั นเ์ ทพวราราม กรุงเทพมหานคร

23 2.3 สถาปัตยกรรม หลักฐานเก่าแก่ท่ีสุดท่ีหลงเหลืออยู่ คือ สถาปัตยกรรมในสมัยเชียงแสนและสมัยสุโขทัย อิทธิพลที่ปรากฎอย่าง เด่นชัด ส่วนใหญ่รับมาจากอินเดียและพัฒนาให้เหมาะสมกับอาณาจักร เช้ือชาติตามยุคสมัย โดยผ่านทางมอญ ศรีวิชัย และขอมของกัมพูชา ส่วนท่ีผ่านเข้ามาโดยตรงคืออิทธิพลทางพระพุทธศาสนา ท้ังท่ีได้ปรับปรุงจากที่อ่ืนๆ และที่คิดค้น ขน้ึ เป็นของตนเอง จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จะพบว่าส่วนใหญ่จะพบเห็นการสร้างโบราณสถาน เชน่ พระสถูปเจดีย์ พระปรางค์ และวดั วาอาราม โบสถ์ วหิ าร เปน็ ตน้ พุทธเจดียส์ มัยสุโขทัย จำแนกไดต้ ามลกั ษณะรูปทรง ดังนี้ 1) เจดยี ์ทรงดอกบัวตมู หรอื ทรงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ (ทรงสโุ ขทัยแท)้ ศิลปนิ สุโขทัยคดิ คน้ เอง 2) เจดียท์ รงระฆงั หรอื ดอกบัวควำ่ หรือ ทรงลงั กา (ทรงสุโขทัยแท)้ ได้รับอทิ ธิจากลังกาโดยตรง 3) เจดียท์ รงพระปรางค์ 4) เจดยี ์บษุ บก หรอื เจดียว์ มิ าน 5) เจดีย์จอมแห (มพี บเพยี งแห่งเดียวบนเนนิ เขาวัดพระบาทน้อย อำเภอเมอื งสโุ ขทยั เท่าน้ัน) 6) เจดยี ท์ รงปราสาท เจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรอื ทรงพ่มุ ขา้ วบณิ ฑ์ เจดีย์ทรงระฆงั หรือดอกบัวคว่ำ เจดยี ท์ รงพระปรางค์ วดั มหาธาตุ จ.สุโขทัย วัดสระศรี จ.สโุ ขทยั วดั พระพายหลวง จ.สุโขทยั เจดีย์บษุ บก เจดีย์จอมแห เจดยี ท์ รงปราสาท วดั ตระพังเงนิ จ.สโุ ขทัย วัดพระบาทนอ้ ย จ.สโุ ขทยั วดั มหาธาตุ จ.สโุ ขทยั

24 2.4 การประดิษฐ์อักษรไทยและภาษาไทย การริเร่ิมจารกึ ตัวอกั ษรไทยหรอื ลายสือไทยในหลักศิลาจารึกสมยั พ่อขุนรามคำแหง กษัตริย์องค์ท่ี 3 แห่งอาณาจักรสุโขทัย ซง่ึ ได้รับการกลา่ วว่าเป็นผ้ปู ระดษิ ฐ์อักษรไทย ข้ึนเป็นครั้งแรก ในพ.ศ.1826 โดยทรงดดั แปลงมาจากอักษรขอมหวัดและอักษรไทยเดิม ซง่ึ ดดั แปลงมาจากอกั ษรมอญและคิดอักษรไทยข้ึนใหม่ใหม้ ีสระและวรรณยกุ ตใ์ ห้พอใช้ กบั ภาษาไทย และทรงเรยี กอักษรดังกล่าว ว่า “ลายสอื ไทย” ดังมีในหลกั ศลิ าจารกึ พ่อขุน รามคำแหงตอนหนึ่งวา่ “...เม่อื ก่อนลายสือไทยน้ีบ่มี 1205 ศกปมี ะแม พ่อขุนรามคำแหงหาใครใ่ จในใจ และใส่ ลายสือไทยน้ี ลายสือไทยน้ีจึงมีพ่อขุนรามคำแหงผนู้ ัน้ ใส่ไว.้ ..” (ปี 1205 เปน็ มหาศกั ราชตรงกับพุทธศกั ราช 1826) ทำให้อกั ษรไทยเปรยี บเสมอื นสายใยแห่งวัฒนธรรมและยกระดับความรู้ท้งั ทางโลกและทางธรรมของผคู้ นใหม้ ี ระดับเท่ากัน เพราะใช้ในการเขยี นลายลกั ษณ์อักษรในการสอ่ื สารระหว่างระหว่างชมุ ชนต่อชมุ ชน ชุมชนตอ่ รฐั และรัฐ ตอ่ รัฐ อกั ษรไทยถือเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมท่ีทรงคณุ ค่ามากทสี่ ดุ อย่างหนึ่งของคนไทยแม้จะยังมขี ้อถกเถยี งกันเรื่องท่ีมา ของการกำเนิดของตัวอักษรไทยโดยนกั วิชาการ แตก่ ารมีอักษรไทย ภาษาไทยนับว่าเปน็ ผลผลิตทางวัฒนธรรมท่สี ำคัญ ย่ิงต่อพัฒนาการทางสงั คมและวฒั นธรรมของคนไทยปจั จบุ ัน 2.5 วรรณคดี ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณคดีของไทยที่เก่าที่สุด พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระยาลิไทย) ทรง พระราชนิพนธ์ขึ้นเม่ือ พ.ศ. 1888 หลังจากที่พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นพระมหาอปุ ราชครองเมืองศรสี ัชนาลัย แล้ว 6 ปี ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วงนับเป็นวรรณคดีท่ีมีอิทธิพลต่อสังคมไทยต้ังแต่ยุคกรุงสุโขทัย กรุงศรี อยุธยา ตราบเท่าปัจจุบนั เพราะได้รวบรวมคติความเชอื่ ทกุ แง่ทุกมุมของทุกชั้นชน มาร้อยเรียงเป็นเรอ่ื งให้ผูอ้ ่านเกิด ความสลดหดหู่ใจ หวาดกลัวยำเกรงในการกระทำบาป เกิดความรู้สึกปีติยินดีในบุญกุศล มุ่งมั่นกระทำคุณความดี นานาประการ ไตรภูมิพระร่วงจึงเป็นท้ังคำสาปแช่งคนท่ีทำบาปทุจริต และคำสอนสรรเสริญคนที่กระทำความดี เปน็ กรอบของสังคมให้ประพฤติปฏิบัตติ นให้ถกู ทำนองคลองธรรม ไ

25 2.6 ประเพณี ประเพณขี องอาณาจกั รสุโขทัย สว่ นใหญ่มคี วามเก่ยี วข้องกับพระพุทธศาสนา 1) ประเพณีการสร้างวัดและศาสนวตั ถุ เช่น การสร้างโบสถ์วหิ าร เพือ่ ใชใ้ นกิจของสงฆ์ สร้างเจดยี ไ์ ว้เพอ่ื การบชู า และสร้างพระพทุ ธรปู เพื่อการเคารพ สกั การะ นอกจากนั้นยังมีประเพณีการสร้างวดั ในเขตพระราชวังแหง่ กรงุ สุโขทยั ได้แก่ วดั มหาธาตุ เพือ่ ใช้เปน็ ท่ปี ระกอบ พระราชพิธีสำคัญทางศาสนาไม่มพี ระสงฆ์จำพรรษาอยู่ 2) ประเพณีการบวช ชาวพุทธเชอื่ กนั ว่าการบวชเป็นการชว่ ยอบรมสงั่ สอนใหผ้ ู้บวชเปน็ คนดี เป็นการทดแทนพระคุณบิดามารดาที่ให้ กำเนดิ ทง้ั ผบู้ วชยงั มีโอกาสได้ศึกษาพระธรรมวนิ ัย สวดมนตภ์ าวนา ฝกึ จติ ใจใหว้ สงบ 3) ประเพณีทำบญุ ตักบาตร ทำบุญตักบาตรในวันธรรมสวนะ (วันพระ) การทำบญุ ในวนั เขา้ พรรษา และออกพรรษามีการถือศีลในเทศกาล เขา้ พรรษาเพื่อเป็นการสะสมบญุ ให้ตนเองและยังอุทิศสว่ นกุศลใหแ้ กญ่ าติที่ลว่ งลบั ไปแล้ว 4) การละเลน่ ร่ืนเรงิ ในสมัยสุโขทัยมีการละเลน่ รืน่ เริงในงานออกพรรษา การเผาเทียนเล่นไฟ มกี ารจุดไฟเฉลิมฉลองประโคมกลอง ดนตรีและมีระบำรำฟอ้ น นบั วา่ เป็นการละเล่นท่ีมีความสนุกสนานมาก 5) พระราชพธิ ี พระราชพธิ ีที่สำคัญในสมยั สุโขทัย ได้แก่ พระราชพิธีวนั วสิ าขบูชา เชอื่ กันวา่ มีอกี หลายพระราชพิธที ม่ี ีมาต้ังแต่ คร้ังกรุงสโุ ขทัย และได้ปฏบิ ัตสิ ืบทอดกันมาถึงสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาและกรุงรัตโกสินทร์ เช่น พระราชพธิ จี องเปรยี ง พระราช พธิ ีลอยพระประทปี (ลอยกระทง) พระราชพิธีพชื มงคล และพระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั

26 2.7 กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม สังคมสโุ ขทยั เป็นสงั คมที่มีระเบยี บแบบแผนพอสมควร กฎระเบียบจะมาจากราชสำนกั โดยระเบียบแบบแผน เหลา่ นีส้ ว่ นใหญไ่ ดร้ บั มาพรอ้ มกับศาสนา ทั้งพุทธ พราหมณ์-ฮนิ ดู นอกจากพิธกี รรมต่างๆ แลว้ ยังมศี าสตร์ในสาขา ตา่ งๆ เช่น ธรรมนญู ศาสตร์ (คัมภีร์ในศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู) รวมอยู่ดว้ ย จากข้อความทป่ี รากฏตามศลิ าจารึกว่ามี กฎหมายและกระบวนการพจิ ารณาคดที จ่ี ะเป็นแกก่ าลสมัย ดังนี้ 1) กฎหมายอาญาวา่ ดว้ ยลักษณะโจร เชน่ เกีย่ วกบั การลกั ทรพั ย์ การลกั พาและการฆา่ สตั ว์ 2) กฎหมายแพง่ ว่าดว้ ยครอบครวั เช่น บัญญตั ิวา่ ทรัพย์ของผู้ใด เมอ่ื ถึงแก่กรรมไปแลว้ ย่อมตกแก่ลกู หลาน ดงั ข้อความในจารึกว่า “...ลูกเจา้ ลูกขุนผูใ้ ดแล้ ล้มตายหายกวา่ เหยา้ เรือนพอ่ เชอื้ เสื้อคำมนั ชา้ งขอลูกเมยี เยยี ขา้ ว ไพรฟ่ ้าข้าไท ปา่ หมากป่าพลูพอ่ เชื้อมันไว้แก่ลูกมันสิน้ ...” 3) กฎหมายวา่ ด้วยวิธพี จิ ารณาความ เชน่ บญั ญตั ิใหม้ ีตุลาการ พิจารณาอรรถคดโี ดยธรรม หา้ มมิให้รับสนิ บน เขา้ ข้างใดข้างหนึ่ง ดงั ข้อความในจารึกว่า “...ไพรฟ่ ้าลูกเจ้าลกู ขุน ผแิ ลผิดแผกแสกวา้ งกวนั สวนดูแท้แล จึ่งแล่งความแก่ขาดว้ ยเชอื่ บ่เข้าผลู้ กั มักผู้ ซอ่ น เห็นขา้ วทำนบใคร่พิน เห็นสินท่านบใ่ คร่เดือด...” 4) กฎหมายว่าดว้ ยการถวายฎกี า เช่น บัญญตั ิว่า ผู้ใดตอ้ งการถวายฎีกาแต่พระมหากษัตรยิ ก์ ส็ ามารถทำได้ โดยไปสัน่ กระด่ิงทปี่ ระตูพระราชวงั พระมหากษัตริยจ์ ะทรงรบั ฎกี าและตัดสินคดดี ว้ ยพระองคเ์ อง ดังข้อความในจารึก ว่า “...ในปากกระตูมกี ระดิ่งอนั หน่ึงแขวนไวน้ น้ั ไพร่ฟ้าหนา้ ปกกลางบา้ นเมืองมีถ้อยมคี วามเจ็บท้องข้องใจมกั จัก กลา่ วถึงเจ้าถึงขุนบ่ไร้...” “...ไปลั่นกระด่งิ อันท่านแขวนไว้พอ่ ขนุ รามคำแหงเจ้าเมืองได้ยนิ เรยี กมือถาม สว่ นความแก่ม้ันดว้ ยช่ือไพร่ใน เมืองสุโขทยั นีจ้ ่งึ ชม...” ข

27 เศรษฐกจิ ยคุ สุโขทยั เปน็ อย่างไร ? จากการที่อาณาจกั รสโุ ขทัยมีท่ีต้งั อย่บู รเิ วณลุ่มแมน่ ำ้ ปิง ยม น่าน และป่าสัก ทำให้มเี ส้นทางคมนาคมติดตอ่ กับ ดนิ แดนของบรเิ วณลุ่มแม่นำ้ เจา้ พระยาออกสู่ทะเลด้านอ่าวไทย นอกจากน้นั อาณาจักรสโุ ขทัยมที รัพยากรธรรมชาตเิ ปน็ จำนวนมาก เช่น แรเ่ หล็ก สังกะสี ซึ่งปจั จยั ดงั กลา่ วทำให้อาณาจักรสุโขทยั มพี ัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ เปน็ ไปอยา่ ง รวดเร็ว อาชีพหลักที่สำคญั ของอาณาจักสุโขทัย 1. ด้านเกษตรกรรม 2. ดา้ นหัตถกรรม 3. ด้านการคา้ ขาย 1. ดา้ นเกษตรกรรม 1.1 การทำนา ทำไร่ ทำสวน ประชาชนของอาณาจกั รสโุ ขทัยสว่ นใหญ่ยึดอาชพี เกษตรกรรมเปน็ หลกั มกี าร ทำนา ทำไร่ ทำสวน พชื หลกั ท่ปี ลกู ได้แก่ ขา้ ว นอกจากนน้ั ปลกู ไมย้ นื ต้น เชน่ มะมว่ ง มะขาม มะพร้าว หมาก พลู จากความอุดม สมบรู ณข์ องการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดงั ปรากฏข้อความในหลกั ศิลาจารกึ หลักท่ี 1 ว่า “...เมอื งสโุ ขทยั น้ีดี ในนำ้ มีปลา ในนามขี า้ ว...” 1.2 การใช้นำ้ ภายในตัวเมือง 1) การสร้างเขอื่ นสรีดภงส์ หรือทำนบพระร่วง สร้างเป็นแนวคันดินกวา้ ง ประมาณ 10 – 14 เมตร บนหลังเข่ือนกว้าง 3 – 4 เมตรยาว 400 เมตร การสร้างเขื่อนสรีดภงส์มีวัตถุประสงค์ เพื่อเก็บกักน้ำในฤดูฝนไว้ใช้ ประโยชนใ์ นฤดแู ล้ง 2) การสร้างคูน้ำระหว่างกำแพงเมืองแต่ละชั้น มีคูน้ำกว้างประมาณ 15 เมตร ขุดขนานไปตลอด โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ป้องกันขา้ ศกึ และยงั ใช้เป็นคลอง เพอื่ รบั นำ้ เข้ามาใชภ้ ายในอาณาจกั รสโุ ขทยั 3) การสร้างตระพังหรือสระน้ำ บรเิ วณท่ีต่อจากคเู มืองมีท่อสำหรับแจกจ่ายน้ำเข้าสู่ตระพัง ลกั ษณะ ของท่อเป็นท่อน้ำกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบครึ่งเมตรใช้ในการดักตะกอนดินกรวดทราย ดังนั้น ทำให้น้ำท่ีไหลเข้าสู่ ตระพังจึงเป็นน้ำท่ีใสสะอาด ภายในตัวเมืองสุโขทัยมีตระพังอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังตะ กวน และตระพังโพยสี 4) การสร้างบ่อน้ำ บอ่ น้ำมลี ักษณะเป็นบ่อท่กี รุดว้ ยอฐิ รปู กลมมเี ส้นผา่ ศูนย์กลางต้ังแต่ 60 ซ.ม. ถึง 2.5 เมตร รับน้ำที่ซึมมาจากตระพังต่างๆ ภายในตัวเมืองสุโขทัย จะพบบ่อน้ำเป็นจำนวนมากบริเวณด้านตะวันออกของ อาณาจกั สุโขทยั

28 2. ด้านหัตถกรรม อาชีพหัตถกรรมของอาณาจักรสโุ ขทัย ผลผลิตด้านหตั ถกรรมท่ปี ระชาชนผลติ ขึ้นส่วนใหญเ่ ปน็ สนิ ค้าภายใน อาณาจักรสโุ ขทยั เป็นผลผลิตพ้นื ฐานทใี่ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้แก่ จอบ เสียม ขวาน มดี การทอผา้ การจักสาน นอกจากนนั้ ยังมผี ลผลติ ท่ีขึน้ ชือ่ ของอาณาจักรสุโขทยั ใช้เป็นสินคา้ ออก ไดแ้ ก่ ผลผลติ เคร่อื งเคลอื บดินเผา หรอื เครือ่ งสงั คโลก เครื่องสงั คโลกมีกรรมวิธกี ารผลิตโดยการนำแร่ธาตุ ได้แก่ ดนิ ขาว หนิ ฟา้ มา้ และวสั ดอุ ย่างอนื่ มา ผสมรวมกนั แล้วเคลือบด้วยน้ำยาสีขาวนวล หรอื สีเขียวไขก่ า สันนิษฐานว่า อาณาจักรสุโขทยั นำเทคนิคการปนั้ มาจาก ประเทศจนี สังคโลกท่ผี ลติ ขนึ้ ภายในอาณาจักรสุโขทัย ประกอบดว้ ย ถ้วย ชาม กระปุก โถ มีรปู ทรงและลวดลายแบบ จีนท้งั ส้ิน แหลง่ ผลติ เคร่อื งสงั คโลกในอาณาจักรสุโขทยั ท่ีสำคญั มี 2 แหล่ง คือ 1. แหล่งเตาบริเวณด้านทิศเหนือของเมืองสุโขทยั เก่า บริเวณริมลำน้ำโจน เครอื่ งสังคโลกที่ผลิตจากเตาเมืองสุโขทัย เก่า มเี นือ้ หยาบสีเทา นยิ มเขียนเป็นลายดอกไม้ ลายกลีบบัว ลายปลาในวงกลม ลายจกั รภายในวงกลม รปู แบบของ ภาชนะมี ชาม จาน และ แจกัน 2. แหลง่ เตาบรเิ วณเมอื งศรสี ัชนาลัย เปน็ แหลง่ ผลิตเคร่ืองสังคโลก แหลง่ ใหญท่ ่สี ำคัญพบเตาเปน็ จำนวนมาก บริเวณรมิ ฝง่ั แมน่ ้ำยม คอื เตาเผาบ้านป่ายาง เตาเผาบ้านเกาะน้อย และเตาเผาวดั ดอนลาน กลมุ่ เตาบรเิ วณเมือง ศรสี ชั นาลยั มผี ลติ ภณั ฑ์จำนวนมากมายหลายรูปแบบ เช่น 2.1 ประเภทภาชนะ ได้แก่ จาน ชาม ไห โอ่ง กระปุก 2.2 ประเภทประตมิ ากรรม ไดแ้ ก่ ตุ๊กตารูปสัตว์ ตุก๊ ตารูปชายหญิง 2.3 ประเภทเครอื่ งประดบั อาคารสถาปตั ยกรรม ได้แก่ กระเบ้ืองมุงหลังคา ช่อฟา้ ใบระกา หางหงส์ เคร่ืองสังคโลกกลุ่มเตาบริเวณเมอื งศรีสัชนาลยั จะมีคุณภาพดี ฝมี ือประณตี การตกแต่ง ภาชนะมีการเขยี นลาย บนเคลือบ เขียนลายใตเ้ คลือบ ตกแต่งลายใตเ้ คลือบ โดยการขดู ให้เป็นลาย ลวดลายที่นิยมใช้ตกแตง่ มี ลายดอกไม้ โดยเฉพาะลายดอกไม้กา้ นขด ลายดอกบวั ลายปลา เคร่ืองสังคโลกเปน็ สินคา้ ส่งออกท่สี ำคัญของสุโขทัยตอนปลาย ตลาดเคร่อื งสังคโลกของสโุ ขทัยทส่ี ำคัญ ได้แก่ ประเทศอนิ โดนีเซีย ฟิลิปปนิ ส์ ญี่ปุ่น และอนิ เดยี ตะวันออกกลาง และแอฟรกิ าตะวนั ออก โดยมีเสน้ ทางการคา้ เครื่องสังคโลกอยู่ 2 เสน้ ทาง คือ 1. เสน้ ทางตะวันตกผา่ นเมอื งท่าเมาะตะมะ สนิ ค้าท่ีส่งไปขายประเภทไห เคลือบสนี ำ้ ตาลขนาดใหญ่ กลุ่มลกู คา้ สำคัญ คือ อินเดยี และ ตะวนั ออกกลาง 2. เส้นทางใต้ ผา่ นกรุงศรีอยุธยา แล้วออกทะเลดา้ นอา่ วไทย สินค้าที่สง่ ไปขายประเภท จาน ชาม กระปกุ ชนดิ เคลือบสีเขยี วไข่กา และมีการเขียนลาย กลมุ่ ลกู ค้าท่ีสำคัญ คอื สมุ าตรา ชวา บอรเ์ นยี ว และลซู อน

29 3. ดา้ นการคา้ 3.1 การคา้ กับต่างประเทศ อาณาจักรสุโขทยั นอกจากมกี ารค้าภายในอาณาจักรแล้วยังมีการคา้ กับต่างประเทศ เชน่ มลายู อินโดนีเซยี ลูซอน เนอ่ื งจากในสมัยพอ่ ขนุ รามคำแหง ได้หัวเมืองมอญมาเปน็ เมอื งขนึ้ ทำให้ใช้เมอื งท่าทหี่ วั เมอื งมอญค้าขายกับ ต่างประเทศเพมิ่ มากข้นึ สินค้าที่อาณาจักรสโุ ขทัยส่งออกไปขายกบั ตา่ งประเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ ผลติ ผลจากปา่ ซงึ่ หายาก ได้แก่ ไม้ กฤษณา ไม้ฝาง น้ำผึง้ ยางรัก หนงั สัตว์ ขนสตั ว์และสงั คโลก สนิ คา้ ทสี่ โุ ขทยั สั่งซ้ือมาจากต่างประเทศ ได้แก่ ผา้ แพร ผา้ ไหม ผ้าตว่ น อาวุธ และเครอ่ื งเหล็ก เส้นทางการค้า เสน้ ทางการคา้ ที่อาณาจักรสโุ ขทยั ใชต้ ดิ ต่อกบั เมอื งต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกอาณาจักร มี ดงั น้ี 1. เสน้ ทางการค้าทางบก อาณาจักรสโุ ขทัยมกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ระหว่างเมอื งสุโขทัยสามารถเดนิ ทางได้สะดวกได้แก่ ถนนพระร่วง จากเมืองกำแพงเพชร สุโขทัยถึงศรีสัชนาลัย และ ยังมเี ส้นทางท่ีติดตอ่ กับแถบแมน่ ำ้ นา่ นได้ ส่วนเมืองใกลเ้ คยี ง เชน่ เมืองเชยี งใหม่ เชียงแสน พระบาง และเมาะตะมะ ยังมถี นน เชือ่ มติดต่อจากอาณาจกั รสุโขทยั ไปยงั เมอื งต่าง ๆ ไดส้ ะดวก 2. เส้นทางการคา้ ทางนำ้ อาณาจักรสุโขทยั มเี สน้ ทางการค้าทีส่ ำคัญ ได้แก่ แม่นำ้ ปงิ แมน่ ้ำยม แมน่ ำ้ น่าน และแม่น้ำปา่ สัก โดยสนิ คา้ ที่มาจากเมืองต่าง ๆ ท่ีอยู่ตอนบนของแม่นำ้ เหลา่ นีจ้ ะรวมกัน ท่ีเมอื งนครสวรรค์ แล้วส่งสินค้าผา่ นแมน่ ้ำเจ้าพระยาไปตามเมืองต่าง ๆ สว่ นการขนส่งสินค้าจากสโุ ขทัยไปขายยัง ต่างประเทศ อาณาจกั รสโุ ขทัยใช้เส้นทางการค้าทสี่ ำคัญ 2 เส้นทาง คอื 2.1 เสน้ ทางจากสโุ ขทยั ไปเมืองเมาะตะมะ โดยเร่ิมจากเมืองสุโขทยั ผ่านเมืองกำแพงเพชร เมอื ง เชียงทองตดั ออกช่องเขาท่ีอำเภอแมส่ อด ผ่านเมืองเมยี วดีไปถงึ เมืองเมาะตะมะ ซง่ึ เปน็ เมอื งท่าทีใ่ ชแ้ ลกเปลย่ี นสนิ คา้ กับพ่อค้าอินเดีย เปอร์เซีย และอาหรับ 2.2 เส้นทางจากสุโขทัยไปยังอา่ วไทย โดยเร่ิมต้นจากเมอื งสโุ ขทยั ผา่ นมาตามล่มุ แม่นำ้ เจา้ พระยา และสาขาผ่านอยธุ ยา ออกสู่อ่าวไทย เส้นทางน้ีอาณาจักรสโุ ขทยั สามารถตดิ ต่อค้าขายกบั พ่อคา้ จนี ญปี่ ุ่น มลายู และ อินโดนีเซยี

30 3.2 การคา้ ภายในอาณาจกั ร พระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยทรงสนับสนุนส่งเสริมการค้าขาย โดยให้ประชาชนทำการค้าได้อย่างเสรี ไม่เก็บภาษีการค้าหรือภาษีผ่านด่าน ท่ีเรียกว่า จกอบ* นอกจากนั้นไม่มีสินค้าต้องห้าม ประชาชนมีอิสระในการค้าขาย มีตลาดปสาน** ซึ่งต้ังอยู่ทางเหนือของอาณาจักรสุโขทัย สำหรับให้ประชาชนซ้ือขายสินค้ากัน สินค้าที่พ่อค้านำมาซ้ือขาย แลกเปล่ียนกันประกอบดว้ ย สินค้าพนื้ เมือง ประกอบดว้ ย ไมฝ้ าง ไม้กฤษณา ไม้หอม พริกไทย กานพลู สนิ ค้าหตั ถกรรม ประกอบดว้ ย เครื่องสงั คโลก เครอ่ื งเคลือบ ถว้ ยชาม สัตว์ ประกอบด้วย ช้างและม้า 4. ระบบเงนิ ตรา อาณาจกั รสุโขทัย มีการคา้ ขายท้ังภายในอาณาจักรและมีการค้าขายกับต่างประเทศมีการแลกเปลีย่ นซือ้ ขาย สนิ คา้ กนั โดยใชเ้ งินตราเปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปล่ยี น มีเงนิ พดดว้ ง สว่ นใหญท่ ำดว้ ยโลหะผสม ขนาดหนัก 4 บาทและ 1 บาท ประทับด้วยตราราชสีห์ ตราราชวตั ร และตราช้าง สำหรับมาตราแลกเปลยี่ นจะใชเ้ บย้ี ซึง่ เดิมคงใชเ้ บย้ี จากแม่น้ำโขง ต่อมาพ่อคา้ ต่างชาติไดน้ ำเบ้ีย ซงึ่ เปน็ หอยจากทะเลเขา้ มาใช้ จงึ ทำให้เปน็ ของทห่ี ายากสำหรบั เมอื งทีอ่ ยู่ไกลจากทะเล 5. ภาษีอากร พระมหากษัตรยิ ์ในสมยั สโุ ขทัย ทรงส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ประชาชนทำการค้ากันอย่างกวา้ งขวาง เพ่ือเพ่ิมพูนรายได้ ใหม้ ากขน้ึ โดยไม่เรยี กเก็บภาษีจงั กอบ (ภาษผี า่ นด่าน) และมกี ารคา้ ขายกนั โดยเสรี ส่วนภาษีอน่ื ๆ ทีน่ อกเหนือจากจงั กอบ คงเก็บตามปกติ เชน่ ค่าธรรมเนยี ม เพ่ือนำรายได้ใช้ในการพฒั นาอาณาจักร

31 สุโขทยั มรดกโลก อาณาจักรสโุ ขทัยในความเป็น “รุ่งอรณุ แหง่ ความสุข” เป็นตน้ กำเนิดของประวตั ิศาสตร์ชาติไทยท่ไี ด้พัฒนา เป็นรัฐสำคัญของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 18 – 20 เป็นเวลานานประมาณร่วม 200 ปี โดยกรม ศิลปากรได้ประกาศข้ึนทะเบียนโบราณสถานท้ัง 3 แห่ง คือเมืองสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร เมื่อปี พ.ศ. 2478 และรับการคุ้มครองตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนท่ี 112 ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2504 ต่อมาในปี พ.ศ. 2519 โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งน้ีก็ไดร้ ับการอนุมัติ และเปิดอย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2531 ตอ่ มา ในวันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ.2534 จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก หรือ UNESCO สมัยสามัญคร้ังท่ี 15 ท่ีเมือง คาร์เทจ ประเทศตูนิเซีย ได้ประกาศให้อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเป็นแหล่งมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์ กำแพงเพชรและศรีสัชนาลัย ภายใต้ช่ือ “เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร” (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) โดยมคี ุณสมบัติการเป็นมรดกโลกตรงตามหลกั เกณฑ์ข้อท่ี 1 และ ขอ้ ที่ 3 ดงั นี้ 1) เป็นตัวแทนในการแสดงผลงานชนิ้ เอกที่จัดทำข้นึ ดว้ ยการสรา้ งสรรค์อนั ชาญฉลาดของมนษุ ย์ (represents a masterpiece of human creative genius) 2) เป็นส่ิงท่ียืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไป แล้ว (bears a unigus or exceptional testimony to a cultural tradition or to a civilizartion which is living or which has disappeared) โบราณสถานและโบราณวัตถุท่ีปรากฏอยู่ในเมืองประวัติศาสตร์ท้ัง 3 เมือง แสดงให้เห็นถึงผลงาน สร้างสรรคอ์ นั ล้ำเลศิ ของมนุษย์ ความงดงามอลังการของสถาปตั ยกรรมและศลิ ปกรรมสุโขทยั เป็นต้นแบบท่ีส่งอิทธิพลให้ ศิลปมไทยในระยะต่อมา

32 เกดิ เป็นมนุษย์ย่อมมีทมี่ าของตัวตน มบี รรพชนท่ีสั่งสม สรา้ งสรรค์ ถา่ ยทอด ให้เราได้เรียนร้สู ่งต่อรุน่ สรู่ ่นุ เกยี รติภมู ิ เกยี รตยิ ศ และศักดิศ์ รีของบรรพชน เราอย่ายำ่ ยี ให้เสยี ศักด์ิ เสยี ศรีท่ีท่านมี แมแ้ ม้นว่าท่านจะไมม่ ตี วั ตนในยคุ น้ี จงรฤกนกึ ถึงความดที า่ น ขอจงนำแนวทางท่ีเรียนรมู้ าสบื สาน ต่อยอด พฒั นา ส่งิ ที่ควรก็เกบ็ และรกั ษา สง่ิ ท่ีตา่ งกาลต่างเวลากป็ รับเปลย่ี น แตจ่ งอย่าหมิ่นดูถูกดแู คลนบรรพชนใหม้ ิใหเ้ หลอื คา่ แห่งความดี จีระนนั ท์ ศรที อง

3ก3 คำนำ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส32222 การเมืองการปกครองของไทย หน่วยที่ 1 วิวัฒน์การปกครองไทย เร่ือง การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-2006) เล่มนี้ ได้จัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน เพ่ือให้ นักเรียนศึกษาเรื่องวิวัฒนาการการเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย ประกอบด้วยประเด็นศึกษา ความเป็นมาของสุโขทัย การเมอื งการปกครองสมัยสุโขทัย พรอ้ มนำเสนอเกร็ดความรู้ ซ่ึงครอบคลมุ ผลการเรยี นรู้ ผู้สอนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียน การสอน แกน่ ักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ในรายวชิ า ส32222 การเมอื งการปกครองของไทย รวมถึงผู้สนใจทั่วไปและหากมี ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูส้ อนขอน้อมรบั ด้วยความยนิ ดยี งิ่ และจะนำไปปรับปรุงเพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์ต่อการศึกษาต่อไป จรี ะนันท์ ศรีทอง

3ข4 หน้า ก สารบัญ ข ค คำนำ 1 สารบัญ 10 คำอธบิ ายรายวชิ า ส32222 การเมอื งการปกครองของไทย ความเป็นมาของสุโขทัย การเมอื งการปกครองสมยั สุโขทยั ภาคผนวก บรรณานกุ รม ประวัตผิ ู้สอน

3ค5 คำอธบิ ายรายวชิ า อธิบายวิวัฒนาการการเมืองการปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การเมืองการปกครองสมัย กรุงสุโขทัย (พ.ศ.1781-1981) การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310) การเมืองการปกครอง สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น (พ.ศ.2325-กอ่ นสมยั รชั กาลที่ 5) สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475การเมอื งการปกครองของไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 วิเคราะห์ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา-กษัตริยเป็นประมุขของไทยในปัจจุบัน ฐานะและ พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนญู ตระหนักถึง วิเคราะห์รูปแบบ องค์กร อำนาจหน้าท่ี และบทบาทของสถาบันการเมืองการปกครองของไทย ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของตนในสถาบันการเมือง การปกครอง วเิ คราะหแ์ นวนโยบายแห่งรัฐ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ชาติ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ ทางสงั คม และกระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ไขปัญหา เพ่ือตระหนักและเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามแนวทางของรัฐในการปกครองประเทศ ของสถาบัน พระมหากษัตริย์กับการเมืองการปกครองและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม สามารถนำไปประยุกต์ปฏิบัติใน การดำเนินชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรม ทำให้เกิดสมรรถนะความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การสื่อสาร การใช้ ทักษะชีวิตและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีจิต สาธารณะ สนองพระบรมราโชบายรชั กาลท่ี 10 ด้านมีพน้ื ฐานชีวติ ทม่ี ั่นคง – มีคณุ ธรรมและเป็นพลเมืองท่ีดี 4. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายววิ ัฒนาการการเมอื งการปกครองของไทยตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบนั ได้ 2. วเิ คราะหร์ ะบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์เป็นประมขุ ของไทยในปจั จุบันได้ 3. วิเคราะหฐ์ านะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ตามบทบญั ญัติรัฐธรรมนญู ได้ 4. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริย์กบั การเมอื งการปกครอง 5. วเิ คราะหร์ ปู แบบ องคก์ ร อำนาจหน้าท่ีและบทบาทของสถาบันการเมืองการปกครองของไทยได้ 6. ปฏบิ ตั ติ นตามบทบาทหน้าทขี่ องตนในสถาบนั การเมืองการปกครองได้ 7. วิเคราะหแ์ นวนโยบายแหง่ รัฐแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ชาติได้ 8. ตระหนกั ถึงความสำคัญของความสมั พันธ์ระหวา่ งรฐั กบั สังคม

3326 บรรณานุกรม กนก วงษตระหงาน. (2528). การเมืองในระบอบประชาธิปไตยไทย.กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย. กนกวรรณ โสภณวตั นวจิ ิตร.(2545).ประวตั ิศาสตรส์ ุโขทัย.กรุงเทพฯ : สารคดี. กรมศลิ ปากร สำนักโบราณคดแี ละพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ.(2545).นำชม ห้องจดั แสดงประวตั ิศาสตร์ ชาติไทย พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตพิ ระนคร.กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ร้ินตง้ิ แอนด์พับลิชชิ่ง. กรมศิลปากร.(2548).อุทยานประวัตศิ าสตร์สุโขทัย.(ออนไลน์).สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 2 ธันวาคม 2564 จาก https://www.finearts.go.th/sukhothaihistoricalpark กระมล ทองธรรมชาติและคณะ. (2525). การเมืองและการปกครองไทย.พิมพครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร สำนกั งานจังหวัดสโุ ขทยั .(2556).ประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งสโุ ขทยั (ออนไลน)์ .สบื คน้ เม่อื วันที่ 2 ธนั วาคม 2564.จากhttp://www.sukhothai.go.th/sukhothai/index.php/th/ ประเสิรฐ ณ นคร.(2547).การอธบิ ายศลิ าจารึกสมัยสุโขทยั .นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมธริ าช. ปัณฉตั ร หมอยาดี.(2562).หน่วยที่ 3 การเมืองการปกครองไทย.ใน.เอกสารชุดการสอนวิชาไทยคดี. พิมพ์ครัง้ ที่ 3.นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ศนู ย์ข้อมลู มรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม.(2553). เมอื งประวตั ิศาสตร์สโุ ขทยั และเมืองบรวิ าร.(ออนไลน์). สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 2 ธันวาคม 2564 จาก http://164.115.22.96/heritage.aspx

3337 ประวัตผิ ู้สอน ชือ่ – สกุล นางสาวจรี ะนันท์ ศรีทอง วัน เดือน ปเี กิด 3 เมษายน 2527 สถานที่เกิด อำเภอเมือง จังหวดั สงขลา ที่อยูป่ ัจจบุ นั 46 ซอย 41 ถนนไทรบรุ ี ตำบลบ่อย่าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 ประวตั กิ ารศกึ ษา พ.ศ.2537 เข้าศึกษาอนบุ าล ๑ -ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ร.ร.สมุ ติ ราสงขลา พ.ศ.2542 จบประถมศึกษาปีท่ี 6 ร.ร.เทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) พ.ศ.2544 จบมธั ยมศึกษาตอนต้น ร.ร.วรนารีเฉลิม จงั หวัดสงขลา พ.ศ.2546 จบมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ร.ร.วรนารีเฉลิม จงั หวดั สงขลา พ.ศ.2549 จบปรญิ ญาตรีครศุ าสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เกียรตินิยมอนั ดับ 2 วิชาเอกสงั คมศึกษา พ.ศ.2560 จบปริญญาโทศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหงวิทยบรหิ าร วชิ าเอกนวตั กรรมหลักสูตรและ เฉลมิ พระเกียรติจังหวดั ตรัง การจัดการเรียนรู้ รางวัลหรอื สิ่งเชดิ ชูเกียรตแิ ละคณุ งามความดีความชอบอนื่ ๆ ที่ได้รับ พ.ศ.2554 ครดู เี ด่น สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 13 พ.ศ.2557 ไดร้ บั เครื่องหมายเชดิ ชูเกยี รติ “หนึง่ แสนครดู ี” สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษาเขต 13 พ.ศ.2559 ครูผ้ฝู ึกซ้อมโครงงานคุณธรรม ระดบั ม.4-6 ในการแขง่ ขันศิลปหัตกรรมนกั เรยี น ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 66 ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ลำดับที่ 5 พ.ศ.2559 นำเสนอผลงานวิจยั /นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื งการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดโดย การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ด้วยทักษะการคดิ GPAS สำหรับนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั กระบี่ ไดร้ ับเหรียญทอง ระดับกลุ่มโรงเรยี นกาญจนาภิเษก วทิ ยาลยั ท้งั 9 แหง่

3348 พ.ศ.2559 ครูทปี่ รึกษาผลงานการวิจัยเรื่อง การเปรยี บเทยี บอัตราสว่ นนำ้ ยางพาราต่อนำ้ ที่ใช้ในการทำหนังเทียม จากเส้นใยทางปาลม์ ได้รบั เหรยี ญทอง ระดับกลุ่มโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย ทั้ง 9 แหง่ พ.ศ.2560 ได้รบั การคัดเลอื กเปน็ ครผู ้สู อนมารยาทไทยดเี ดน่ โครงการส่งเสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจมารยาทไทย สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 13 พ.ศ.2560 ไดร้ บั การคดั เลือกเป็นครูผ้สู อนสงั คมศึกษาดเี ด่น จากสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 13 พ.ศ.2561 ได้รบั การคดั เลอื กครูต้นแบบเบญจวิถี กลุ่มโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย9 แหง่ ทว่ั ประเทศ พ.ศ.2563 ได้รบั ประทานรางวัล “ครูผูป้ ฏบิ ัตหิ น้าที่การสอนดีเดน่ ” ประจำปี 2563 จากพลเอกหม่อมเจา้ เฉลิมศึก ยุคล ประธานกรรมการมลู นิธสิ ถาบันการศกึ ษาในรัชกาลท่ี 6 และ สมเดจ็ ฯเจา้ ฟา้ เพชรรัตนราชสดุ าฯ ประวัติการทำงาน 8 พฤษภาคม 2549 – 29 กนั ยายน 2549 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครเู ต็มรูปแบบโรงเรียนนวมินทราชูทิศทักษิณ จงั หวัดสงขลา 17 มนี าคม 2550 – 24 ธนั วาคม 2551 ผูช้ ว่ ยนกั วจิ ัย โครงการวิจยั ลมุ่ นำ้ ทะเลสาบสงขลาฯ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สงขลา 25 ธนั วาคม 2551 – 9 พฤศจกิ ายน 2561 ครโู รงเรียนกาญจนาภิเษวทิ ยาลัย กระบ่ี 9 พฤศจิกายน 2561 – ปัจจุบนั ครโู รงเรยี นมหาวชริ าวธุ จังหวัดสงขลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook