Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบของเพลง

รูปแบบของเพลง

Published by rizotto2548, 2023-02-25 13:38:51

Description: รูปแบบของเพลง

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าเล่มนจ้ี ดั ทาขน้ึ เพื่อเป็นส่วนหน่งึ ของวชิ าการผลติ สอื่ สง่ิ พมิ พ์ เพ่ือให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรอื่ งรปู แบบของเพลงและไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจ เพื่อ เปน็ ประโยชนก์ ับการเรียน ผู้จดั ทาหวงั ว่า รายงานเลม่ น้จี ะเป็นประโยชน์กับผูอ้ ่าน หรอื นักเรียน นกั ศึกษา ท่ี กาลังหาข้อมลู เรอื่ งนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรอื ข้อผิดพลาดประการใด ผู้จดั ทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่นด้ี ว้ ย ผู้จัดทา นาย วรวธุ มะนะโส

เพลงบรรเลง (Instrumental) คลาสสิก (Classic) ป๊อป (POP) แจ๊ส (Jazz) ริทมึ แอนดบ์ ลูส์ (R&B) แรพ็ (Rap) ฮปิ ฮอป (Hip hop) รอ็ ก (Rock) อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic) เทคโน (Techno) อะแคปเปลลา (A cappella) อา้ งอิง

เพลงบรรเลง คอื เพลงท่ีใชด้ นตรีบรรเลงล้วน ๆ จะเป็นวงดนตรีชนิดใดกต็ าม เพลงประเภทนี้ ได้แก่ เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง เพลงหางเครือ่ ง (ทา้ ย เครื่อง) เพลงลูกบท และเพลงภาษา

ดนตรคี ลาสสิก (อังกฤษ: Classical music) เป็นรปู แบบหน่งึ ของดนตรี ซ่ึงมักจะ หมายถงึ ดนตรที เี่ ป็นศลิ ปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใชเ้ คร่อื งดนตรี 5 กลุ่ม กลมุ่ แรก คือ เครอ่ื งสาย (String) แบ่งออกเปน็ ไวโอลิน วโิ อลา เชลโล และดับเบลิ เบส กลมุ่ ทส่ี อง คือ เครอ่ื งลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเนต็ โอโบ บาสซูน ปคิ โคโล กล่มุ ท่ีสาม คือ เครอ่ื งลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเปต็ ทรอมโบน ทบู า เฟรนช์ฮอรน์ กลมุ่ ท่ีสี่ คือ เครอ่ื งกระทบ (Percussion) เชน่ กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กง๋ิ (Triangle) กลมุ่ ทีห่ ้า คอื เครือ่ งลิม่ นิว้ เช่น เปยี โน ฮาร์ปซิคอรด์ เม่อื เล่น รวมกนั เปน็ วงเรียกวา่ วงดุรยิ างคห์ รอื ออร์เคสตรา (Orchestra) ซ่งึ มีผอู้ านวย เพลง (conductor) เป็นผู้ควบคมุ วง

ดนตรปี อ็ ป หรือ เพลงปอ็ ป (องั กฤษ: pop music พอปมิวสกิ ) เปน็ ประเภทของ เพลงสมยั นยิ มทเ่ี กิดข้ึนในสหรัฐอเมรกิ าและสหราชอาณาจกั รในชว่ งกลางทศวรรษท่ี 1950[4] ทง้ั \"popular music\" และ \"pop music\" มกั จะใชส้ ลบั กัน แมว้ า่ ในอดตี จะ อธบิ ายถึงเพลงสมยั นยิ มรวมทั้งดนตรหี ลายแนว คาวา่ \"pop\" กับ \"rock\" เคยมี ความหมายเหมอื นกันจนถึงปลายทศวรรษที่ 1960 ทงั้ สองถูกจัดแยกให้มีความแตกตา่ ง กนั อย่างชดั เจน แมว้ า่ ปอ็ ปจะถูกมองวา่ เป็นเพยี งชาร์ตเพลง แตไ่ มไ่ ด้รวบยอดชาร์ตเพลงท้ังหมด ดนตรปี อ็ ปมักจะผสมผสานยืมองค์ประกอบจากดนตรีแนวอ่ืน เช่น เออรเ์ บิน แดนซ์ ร็อก ละตนิ และคันทรี โดยมักจะเปน็ องคป์ ระกอบหลกั ทน่ี ิยามวา่ เป็นดนตรีป็อป โดยทั่วไป รปู แบบพืน้ ฐานจะเป็นเพลงท่มี คี วามยาวสน้ั ถึงปานกลาง (ใช้รปู แบบทอ่ นเวริ ส์ -คอรสั ) รวมทั้งการใชท้ ่อนคอรสั ซา้ ๆ ทอ่ นเมโลด้ีไพเราะ และท่อนฮุก

แจ๊ส หรอื แจซ (องั กฤษ: jazz)[1] เปน็ ลักษณะดนตรชี นดิ หนง่ึ ท่พี ฒั นามาจากกลุ่ม คนผิวดาในสหรฐั อเมรกิ า (African Americans) ในชว่ งปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 โดยมี ลกั ษณะพิเศษคือโนต้ บลูส์ การลัดจงั หวะ จงั หวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการ เล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรคี ลาสสกิ ชนดิ หนึง่ ของสหรัฐอเมริกา ความหมายของคาว่าแจ๊ส เคยมผี พู้ ยายามนยิ ามความหมายไว้หลายแบบ ซึ่งยาก ต่อการนิยาม ตามความหมายของคาว่าแจ๊สในในพจนานุกรมไทยวฒั นาพานิช โดย วิ ทลู ย์ สมบรู ณ์ หมายถงึ ดนตรเี ต้นราเลน่ ลัดจังหวะ, เล่นดนตรีชนดิ น้ี, เตน้ รา เขา้ กับ ดนตรีชนิดนี้ สาหรับพจนานกุ รมฉบบั ออ๊ กฟอรด์ ให้คาจากดั ความไว้วา่ \"เปน็ ดนตรีทถ่ี ือ กาเนิดจากชาวอเมรกิ นั เช้ือสายแอฟรกิ ันซึ่งมีจังหวะชดั เจนท่ีเล่นอย่างอสิ ระโดยการ ประสานกนั ขึ้นเองของนักดนตรีในขณะทีก่ าลงั บรรเลง\"

ริทมึ แอนด์บลสู ์ (องั กฤษ: rhythm and blues หรอื รูจ้ กั กนั ในชอื่ R&B หรอื RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รบั ความนิยม โดยผสมผสานระหวา่ งเพลงแนว ปอ๊ ป แจส๊ กอส เปล และบลูส์ โดยเรมิ่ แรกจะเลน่ โดยศิลปินแอฟรกิ นั -อเมรกิ ัน ริทมึ แอนดบ์ ลูส์ มที ่มี าก่อน รอ็ ก แอนด์ โรลล์ ได้รับอทิ ธพิ ลมาจากเพลงแนวแจส๊ ,จมั พบ์ ลูส์ และ แบลก็ กอสเปล มนี ักดนตรีแจ๊สหลายคนทีบ่ ันทึกเสียงท้ังเพลงแจ๊ส และ รทิ ึมแอนด์บลูส์ เชน่ วงสวิงแบนดข์ อง Jay McShann, Tiny Bradshaw และ Johnny Otis เปน็ ตน้ และโดยส่วนมาก นกั ดนตรีในสตูดโิ อที่ทาเพลงอารแ์ อนดบ์ ี จะเปน็ นัก ดนตรีแจ๊ส

แรปเปน็ การร้องแบบที่เป็นจงั หวะ การรอ้ งคล้ายเสยี งพูด และเน้ือหาของเพลงทม่ี ี ความหมายและมีความคล้องจองกนั รวมทั้งเน้นทกี่ ารกากับจงั หวะ โดยใชจ้ ังหวะกลอง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และเทคนคิ การ Sampling งานเพลงอื่น ๆ การแรปได้พฒั นาทงั้ ภายในและนอก ของดนตรีแนวฮปิ ฮอป Kool Herc ชาว จาเมกาในนวิ ยอรก์ ไดเ้ ริ่มการพูดลงบนเพลงประเภทแดนซ์ฮอลล์ ในครสิ ต์ทศวรรษ 1970 จนในคริสตท์ ศวรรษ 1980 ความสาเรจ็ ของวงรัน-ดีเอม็ ซี ไดเ้ ปิดกว้างใหว้ งการ เพลงแรป พอถึงปลายคริสตท์ ศวรรษ 1990 ฮปิ ฮอปได้กา้ วเข้าสู่กระแสหลัก ในคริสต์ ทศวรรษ 2000 ฮปิ ฮอปใต้ดนิ เรม่ิ จะมีการใชจ้ ังหวะทสี่ ลับซบั ซ้อนมากขนึ้ ท้วงทานองใน การพูด เนอ้ื คากลอนท่ีซบั ซอ้ น และการเล่นคาอย่างสร้างสรรค์ เน้ือเพลงแรปมกั ถ่ายทอดชวี ิตบนถนนที่เปน็ ท่มี าของฮปิ ฮอป ผนวกกับอา้ งองิ ถงึ วฒั นธรรมกระแสนยิ ม และคาสแลงฮปิ ฮอปตา่ ง ๆ

ฮิปฮอป (อังกฤษ: hip hop หรือ hip-hop) เดิมเรียก ดิสโกแร็ป (disco rap)[2][3] เป็นแนวหนงึ่ ของเพลงปอ็ ป เกดิ ขึ้นในนครนิวยอร์กช่วงคริสตท์ ศวรรษ 1970 ประกอบดว้ ยดนตรที เี่ ป็นจังหวะ ซ่งึ มกั ดาเนนิ ตามเสยี งตีกลอง และมักมีการแร็ป[4] คา วา่ \"ฮปิ ฮอป\" บางครง้ั ใชเ้ ป็นไวพจน์ของ \"แร็ป\" แม้วา่ ฮปิ ฮอปไม่จาเป็นตอ้ งแร็ปเสมอไปก็ ตาม[4][5] องคป์ ระกอบอ่นื ๆ ของฮิปฮอปยังได้แก่เสียงบีตจากแซมพลงิ หรอื เบสไลน์จาก สิ่งบันทกึ เสยี งหรอื การสงั เคราะห์เสียง และบีตบอ็ กซ์[6][7] นอกจากนี้ ฮิปฮอปอาจมี องคป์ ระกอบจากวัฒนธรรมอื่นอีกได้ เช่น ดเี จอิง สแคร็ตชงิ หรอื เทิร์นเทบลิสซมึ

รอ็ ก (องั กฤษ: Rock) แนวเพลงทไ่ี ด้รับความนิยม มตี น้ กาเนิดจากดนตรีรอ็ ก แอนดโ์ รลในสหรัฐอเมรกิ าในชว่ งคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสูแ่ นวเพลงหลาย แขนงในชว่ งคริสตท์ ศวรรษ 1960 และชว่ งหลังจากนน้ั โดยเฉพาะในสหราชอาณาจกั ร และสหรฐั อเมรกิ า[1][2] ดนตรรี อ็ กมตี ้นกาเนดิ จากร็อกแอนด์โรลของยุค 1940 และ 1950 มอี ิทธิพลมาจากแนวเพลงบลสู ์ รทิ ึมแอนดบ์ ลสู ์ และคันทรี ดนตรีรอ็ กยังนามาสแู่ นว เพลงอืน่ ๆ ไดแ้ ก่อิเลก็ ทริกบลูส์ และโฟล์ก และมอี ิทธิพลรว่ มมาจากดนตรีแจ๊ส ดนตรี คลาสสกิ และแหล่งดนตรีอื่น ๆ

ดนตรอี ิเล็กทรอนกิ ส์ (อังกฤษ: electronic music) เปน็ ดนตรีที่ใช้เครอ่ื งดนตรี อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละเทคโนโลยดี นตรอี ิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นการผลติ ขนึ้ มา[1] โดยทั่วไปแลว้ ความโดดเดน่ ของดนตรสี ามารถเกิดขน้ึ โดยใชเ้ ครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยเี ครอ่ื งไฟฟ้า[2] ตวั อยา่ งเช่นเสียงทีเ่ กิดจาก Telharmonium, Hammond organ และกีตารไ์ ฟฟ้า ส่วนดนตริอีเล็กทรอนกิ สแ์ ท้ ๆ สามารถใช้ เคร่ือง Theremin, เครื่องสังเคราะหเ์ สียง และคอมพิวเตอร์[3] ดนตรีอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ สว่ นประกอบในดนตรอี าร์ตตะวนั ตก ตงั้ แตป่ ลายทศวรรษ 1960 และได้รับความนยิ มในเวลาตอ่ มา ในปัจจุบนั ดนตรีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้หลากหลาย แนวเพลง ตัง้ แตด่ นตรอี าร์ตทดลอง หรือดนตรีปอ็ ป อยา่ งเชน่ ดนตรีอิเล็กทรอนกิ ส์ แดนซ์

เทคโน (อังกฤษ: techno) เปน็ รปู แบบของดนตรีอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ดนซ์[1]ที่เกิดข้นึ ในดีทรอยต์ รฐั มิชแิ กน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คา วา่ techno ได้ถูกจดั เปน็ แนวดนตรีคร้งั แรกในปี ค.ศ. 1988[2][3] แมว้ ่าเทคโนจะมีแนว ย่อยท่หี ลายแนวแต่ดีทรอยต์เทคโนเปน็ รากฐานท่มี กี ารเกดิ แนวเพลงย่อยจานวนมาก

อะแคปเปลลา (อังกฤษ: A cappella) เป็นดนตรที ีใ่ ช้เสยี งร้องหรอื การรอ้ งโดย ปราศจากเครือ่ งดนตรีประกอบ ดนตรีอะแคปเปลลาเดมิ แยกออกจากแนวร้องโพลีโฟนี เรอเนสซองซ์และคอนเซรอ์ตาโตบาโรก ในสมัยใหม่ อะแคปเปลลามกั หมายถงึ การร้อง โดยเสียงร้องทัง้ หมดไมว่ า่ จะแนวเพลงไหน รวมถงึ บารเ์ บอรช์ อป, ดูวอ็ ป, และโมเดริ น์ ป็ อป/รอ็ ก ปัจจุบนั อะแคปเปลลายงั มใี ชเ้ ป็นทอ่ นแซมเพิล/ทอ่ นซา้ ทเ่ี ปน็ เสยี งรอ้ งอย่าง เดียว ในภาคผลติ ของโปรดิวเซอร์เพลง อยา่ งเช่น จมิ มี สไปซ์ เคอรร์ ี, เทดดี ไรลีย์, ไว เคลฟ เป็นต้น

เพลง - วิกพิ เี ดยี (wikipedia.org)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook