Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย พท 21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (สรุป)

ภาษาไทย พท 21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (สรุป)

Published by Patong. CLC., 2020-04-21 00:28:45

Description: หนังสือวิชาภาษาไทย พท 21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นนี้ ใช้สำหรับนักศึกษานำไปค้นคว้าเป็นหนังสือหลัก เพื่อหาคำตอบในการเรียนรู้ของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ต่อไป

Search

Read the Text Version

45 ประโยชนของการกรอกแบบรายการ 1. ชวยใหผ กู รอกไมตองเขียนขอความทย่ี ืดยาวลงไปทง้ั หมดจะเขียนแตเฉพาะรายละเอียด ทผ่ี จู ัดทาํ แบบรายการตอ งการเทานั้นทาํ ใหเกดิ ความสะดวกรวดเร็ว 2. ชวยใหผ จู ัดทาํ ขอ มูล สามารถเกบ็ ขอ มลู ทต่ี องการไดร วดเรว็ และใชเ ปน หลักฐานเอกสาร ไดดว ย

46 ตัวอยางการกรอกแบบรายการใบฝากธนาณตั ิ

47 ตัวอยา งการกรอกแบบรายการหนงั สอื มอบอาํ นาจ

48 ตัวอยา งการกรอกแบบหนงั สอื สญั ญาเชา ทด่ี ิน

49 ขอแนะนําในการกรอกแบบรายการ 1. กรอกดว ยความเขา ใจ กอนจะกรอกตองอานใหละเอยี ด 2. กรอกขอความที่เปนจริง ไมก รอกขอ ความท่ีเปนเทจ็ 3. กรอกใหครบถว น ชองวางที่ไมกรอกใหข ดี เสนใตใ หเตม็ ชอ ง 4. กรอกขอความดวยตนเองไมควรใหผูอืน่ กรอกแบบรายการแทน 5. ตรวจทานทุกครง้ั เม่ือกรอกแบบรายการหรือลงนามในเอกสาร เรอ่ื งที่ 7 มารยาทในการเขียนและนิสยั รกั การเขียน มารยาทในการเขยี น ประกอบดวย 1. มีความรับผิดชอบ 2. มกี ารตรวจสอบความถูกตอ ง เพื่อใหผ อู า นไดอ านงานเขียนทถี่ ูกตอง 3. มกี ารอา งอิงแหลง ขอมลู เพื่อใหเ กยี รติแกเ จา ของความคดิ ท่อี างองิ 4. มีความเที่ยงธรรม ตองคาํ นึงถงึ เหตมุ ากกวา ความรูสกึ สว นตน 5. ความสะอาดเรียบรอ ย เขียนดวยลายมอื อานงา ย รวมท้งั การเลือกใชกระดาษและ สีนํา้ หมึก 6. เขียนเชงิ สรางสรรคไ มเ ขยี นเพอื่ ทาํ ลายหรอื ทาํ ใหเ กิดความเสยี หายแกผ ูอ่นื 7. ไมเ ขยี นในทไ่ี มส มควร เชน สถานท่ีสาธารณะ 8. ไมขีดหรือเขียนขอความในหนังสือเอกสารอื่น ๆ ท่ีเปนของประชาชนโดยรวม เชน หนังสือหอ งสมุด การสรางนิสยั รักการอาน 1. เร่มิ ตนดวยการเขียนส่งิ ที่งาย และไมใ ชเ วลามาก 2. เขยี นตอ เนื่องจากการเขียนครัง้ แรก เชน การเขยี นบันทกึ ประจําวนั 3. เร่ิมเขียนดว ยขอ ความที่งายและสั้น และกําหนดเวลากับตนเองใหพยายามเขียนทุกวัน ตามระยะเวลาทพี่ อใจจะทาํ ใหเ ขียนไดโ ดยไมเ บ่ือ

50 การเขียนบนั ทกึ การเขียนบันทึกเปนวิธีการเรียนรูและจดจําท่ีดี ขอมูลที่ถูกบันทึกไวยังสามารถนําไปเปน หลักฐานอางอิงได เชน การจดบันทึกจากการฟง บันทึกการประชุม บันทึกประจําวัน บันทึกจาก ประสบการณต รง เปนตน การเขยี นบันทึกประจําวัน ซึ่งเปนบันทึกท่ีผูเขียนไดจดบันทึกสม่ําเสมอ มีแนวทางในการ เขียนดงั นี้ 1. บนั ทกึ เปน ประจาํ ทุกวันตามความเปน จริง 2. บอก วัน เดอื น ป ท่บี นั ทกึ ไวอ ยา งชดั เจน 3. บนั ทึกเรอื่ งทสี่ าํ คญั และนาสนใจ 4. การบนั ทกึ อาจแสดงความรูส กึ สว นตัวลงไปดว ย 5. การใชภาษาไมมีรปู แบบตายตวั ใชภาษางาย ๆ กิจกรรมทายบทที่ 4 การเขยี น (5 คะแนน) ผสู อนมอบหมายใหผ เู รยี นเขียนประวตั ิตนเอง เพ่ือสมัครงานตามหัวขอ ตอไปนี้ ชอื่ .................................................................................................................................................. ที่อยู. .............................................................................................................................................. อีเมล. ............................................................................................................................................. โทรศัพท........................................................................................................................................ จดุ มุงหมายในการทํางาน………...................................................................................................... ประวตั กิ ารศกึ ษา ....................................................................................................................................................... ประสบการณทาํ งาน ....................................................................................................................................................... ทกั ษะและความสามารถพเิ ศษอ่นื ๆ .......................................................................................................................................................

51 บทท่ี 5 หลักการใชภาษา เร่ืองที่ 1 ความหมายของพยางค คาํ วลี และประโยค พยางค หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาคร้ังหนึ่งจะมีความหมาย หรือไมมีความหมายก็ได เสียงที่เปลงออกมาคร้ังหนึ่งเรียกวา 1 พยางค เชน ภาษาไทยมี 3 พยางค คือ ภา หน่ึงพยางค ษา หน่ึงพยางค และไทย หนงึ่ พยางค และสาธารณสขุ มี 5 พยางค เปน ตน คํา หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาแลวมีความหมายอยางใดอยางหนึ่ง จะมีก่ีพยางคก็ได เชน นก แมน ้าํ นาฬกิ า เปนตน วลี หมายถึง คําท่ีเรียงกันตั้งแต 2 คําข้ึนไป สามารถสื่อความได แตยังไม สมบูรณ ไมเปนประโยค เปนกลุมคําที่ทําหนาที่เปนประธาน กรรม และกริยาของ ประโยคได ประโยค หมายถึง กลุมคาํ ที่เรยี บเรียงขึ้น มคี วามหมายไดใ จความสมบูรณวา ใคร ทําอะไร อยา งไร ในประโยคจะประกอบดว ยอยางนอยสองสวนคือ ประธาน และกริยา ประโยคที่สมบูรณ จะตองประกอบดว ย 2 สวน คอื สวนท่เี ปนภาคประธาน ซงึ่ ประกอบดว ย ประธาน และสวนขยาย และภาคแสดง ซึ่งประกอบดว ย กรยิ า สว นขยาย และกรรม สว นขยาย ตวั อยา ง ภาคประธาน ภาคแสดง ประโยค ประธาน ส ว น กรยิ า ส ว น กรรม ส ว น ขยาย ขยาย ขยาย ประตูปด ประตู - ปด - - - นกบินสงู นก - บนิ สูง - - เด็กตัวสงู ว่ิงเร็ว เด็ก ตวั สูง วงิ่ เรว็ - - แมวตวั ใหญกดั หนูตวั เลก็ แมว ตวั ใหญ กดั - หนู ตัวเล็ก

52 ชนิดและหนาทข่ี องคาํ คาํ ท่ีใชใ นภาษาไทยมี 7 ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คาํ สนั ธาน และคาํ อทุ าน ซึ่งคาํ แตล ะชนิดมหี นาทีแ่ ตกตา งกัน ดงั นี้ 1. คํานาม คือ คําท่ีใชเรียกช่ือคน สัตว สิ่งของ สถานท่ี และคําท่ีบอกกริยาอาการ หรือลักษณะตาง ๆ ทําหนาที่เปนประธาน หรือกรรมของประโยค ตัวอยาง คําที่ใชเรียกช่ือ คน สตั ว สิ่งของทัว่ ไป เชน เด็ก หมู หมา กา ไก ปากกา ดินสอ โตะ เกา อี้ คาํ ทีใ่ ชเ รียกช่ือเฉพาะ บุคคล หรือสถานที่ เชน วิเชียร พิมพาพร วัด โรงเรียน คําท่ีใชแสดงการรวมกันเปนหมวดหมู เชน กรม กอง ฝูง โขลง คําท่ีใชบอกอาการ หรือคุณลักษณะท่ีไมมีตัว เชน คําวา การยืน การนอน ความดี ความชั่ว คํานามท่ีบอกลักษณะ เชน คําวา “แทง” ดินสอ 2 แทง “ตัว” แมว 3 ตวั เปนตน 2. คําสรรพนาม คือ คําท่ใี ชแ ทนคํานาม หรือขอ ความทก่ี ลาวมาแลวในกรณที ไี่ ม ตองการกลาวคํานั้นซํ้าอีก ทําหนาที่เชนเดียวกับคํานาม ตัวอยาง คําสรรพนามแทนผูพูด เชน ขา ขาพเจา ผม กระผม เรา ฉัน อาตมา คําสรรพนามแทนผูฟง หรือผูกําลังพูดดวย เชน ทาน เธอ เอง มึง พระคุณเจา คาํ สรรพนามท่ีแทนผูที่เรากลาวถึงเชน เขา พวกเขา พวกมัน คําสรรพ นามทก่ี าํ หนดใหร คู วามใกลไกล เชน น่ี โนน โนน น่ัน คําสรรพนามท่ีเปนคําถาม เชน ใคร อะไร อนั ไหน ท่ีไหน เปน ตน 3. คํากริยา คือ คําที่แสดงกริยาอาการของการกระทําอยางใดอยางหนึ่งของคํานาม คําสรรพนาม หรือแสดงการกระทําของประธานในประโยค ใชวางตอจากคําท่ีเปนประธาน ของประโยค คํากริยาจะแบงเปน 2 ประเภทคือ กริยาท่ีตองมีกรรมมารับประโยคจึงจะสมบูรณและ กริยาท่ีไมตอ งมีกรรมมารบั ประโยคกจ็ ะมีใจความสมบูรณ คํากริยาท่ีจะตองมีกรรมมารับประโยค จึงจะมีใจความสมบูรณ เชน จิก กิน ตี ซ้ือ ขาย ฯลฯ ขอความวา นกจิก ก็ยังไมมีความหมาย สมบูรณเปนประโยค เพราะไมทราบวานกจิกอะไร ถาเติมคําวา แมลง เปน นกจิกแมลง ก็จะได ความสมบูรณเปนประโยค เปนตน สวนคํากริยาท่ีไมตองมีกรรมมารับ เชน คํา ปด เปด บิน นั่ง นอน ยืน ฯลฯ ประโยควา นกบิน ประตูปด หนาตางเปด คนน่ัง ก็ไดความหมายสมบูรณ เปน ประโยคโดยไมต อ งมกี รรมมารบั

53 4. คาํ วเิ ศษณ คอื คาํ ทีใ่ ชป ระกอบคํานาม คาํ สรรพนาม และคาํ กรยิ า เพ่อื บอก ลักษณะ หรือรายละเอียดของคํานั้น ๆ คําวิเศษณสวนมากจะวางอยูหลังคําท่ีตองการบอก ลักษณะ หรือรายละเอียด ตัวอยางเชน คําวา รอน เย็น สูง ตํ่า เล็ก ใหญ ฯลฯ นกนอยบินสูง เปน ตน 5. คําบุพบท คือ คําท่ีแสดงความสัมพันธระหวางประโยค หรือคําหนากับประโยค หรือคําหลัง จะบอกความเปนเจาของ บอกสถานที่ แสดงความเปนผูรับ หรือแสดง ตัวอยาง คาํ บพุ บทบอกสถานท่ี เชน ใกล ไกล ใน นอก บน ลา ง “ลงิ อยูบนตนไม” เปน ตน คําบุพบทบอกความเปนเจาของ เชน ของ แหง “หนังสือเลมนี้เปนของฉัน” คําบุพบท แสดงความเปน ผูรบั หรือแสดง เชน โดย เพื่อ ดว ย กับ แก แด ตอ โดย เปน ตน 6. คําสนั ธาน คอื คําที่ใชเ ชือ่ มขอความ หรอื ประโยคใหเปนเรือ่ งเดยี วกนั ตัวอยาง คําสันธานท่ีใชเชื่อมขอความที่โตแยงกัน เชน แต “พอไปทํางานแตแมอยูบาน” กวา ...ก็, ถึง...ก็ “กวาถัว่ จะสุกงาก็ไหม” คาํ สันธานท่ใี ชเ ชื่อมความท่คี ลอยตามกัน เชน กบั “คุณแมกับพ่ีสาวไปตลาด” พอ...ก็, คร้ัน...ก็ “พอฝนตกฟาก็มืด” คําสันธานท่ีใชเช่ือมความ เปนเหตุเปนผลกัน เชน เน่ืองจาก....จึง “เน่ืองจากฉันตื่นสายจึงไมทันรถ” เพราะ “การท่ีวัยรุน ติดยาเสพติดเพราะมปี ญหาครอบครวั ” เปน ตน 7. คําอุทาน คือ คําท่ีเปลงออกมาแสดงถึงอารมณ หรือความรูสึกของผูพูด มักอยูหนา ประโยค และใชเคร่ืองหมายอัศเจรีย ( ! ) กํากับหลังคําอุทาน ตัวอยาง คําอุทานไดแก โธ! อุย! เอา ! อา! “อุย ! นกึ วาใคร” หนาทีข่ องวลี วลี เปนกลุมคําท่ีทําหนาท่ีสื่อความหมาย และทําหนาที่เปนประธาน กริยา และกรรม ของประโยค

54 เรื่องท่ี 2 ชนดิ และหนา ทีข่ องประโยค ชนดิ ของประโยค เมื่อเราทราบลักษณะของประโยคแลว ก็มาทําความเขาใจเก่ียวกับประโยคชนิด ตาง ๆ เพ่มิ เติมอกี ประโยคชนิดแรกทจี่ ะกลาวถงึ คอื ประโยคความเดียว 1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) ประโยคชนิดนีค้ ือ ประโยคทม่ี งุ กลาวถึงสิ่งใดส่ิงหนึ่งเพียงส่ิงเดียว สิ่งนั้นอาจเปนคน สัตว เหตุการณ ฯลฯ อยางใดอยางหนึ่ง และสง่ิ น้ันแสดงกรยิ าอาการ หรืออยใู นสภาพอยางเดยี ว เชน ก. นกเกาะตน ไม ข. นายแดงไถนา ค. มุกดาหารเปนจงั หวัดทเ่ี จ็ดสบิ สาม สวนสําคญั ของประโยคความหมาย ประโยคความเดยี วแตละประโยคแบงสว นสําคญั ออกเปน 2 สวน สวนหนึ่งเรียกวา “ภาคประธาน” คือ ผูกระทําอาการในประโยค อีกสวนหนึ่งเรียกวา “ภาคแสดง” คือ สวนที่ เปนกริ ยิ า และกรรมผถู ูกกระทาํ ในประโยค ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ก. นกเกาะตนไม นก เกาะตน ไม ข. นายแดงไถนา นายแดง ไถนา ค. มุกดาหารเปนจงั หวัดท่ีเจด็ สิบสาม มุกดาหาร เปน จงั หวัดท่เี จด็ สิบสาม 2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คือ ประโยคท่รี วมความเอาประโยค ความเดียวต้งั แต 2 ประโยคข้นึ มารวมเขาดว ยกนั โดยมคี ําเช่ือมประโยคเหลา น้ันเขา ดวยกนั 2.1 ประโยคท่มี ีเน้ือความคลอยตามกัน ประโยคท่ี 1 จารณุ ีเดนิ ทางไปเชยี งใหม ประโยคที่ 2 อรญั ญาเดินทางไปเชียงใหม

55 เราสามารถรวมประโยคความเดยี วทัง้ 2 ประโยคเขา ดวยกัน ดังนี้ “จารณุ ีและอรญั ญาเดินทางไปเชยี งใหม” ประโยคที่ 1 เราจะประสบความลมเหลว ประโยคที่ 2 เราไมท อถอย รวมประโยคไดว า “แมเราจะประสบความลมเหลวเรากไ็ มทอ ถอย” 2.2 ประโยคท่มี ีเนอื้ ความขัดแยง กัน เชน ประโยคท่ี 1 พขี่ ยัน ประโยคท่ี 2 นองเกียจครา น รวมประโยควา “พ่ีขยนั แตน องเกียจคราน” 2.3 ประโยคท่มี ใี จความเลอื กเอาอยา งใดอยา งหนึง่ ประโยคที่ 1 เธอชอบดูภาพยนตร ประโยคท่ี 2 เธอชอบดูโทรทศั น รวมประโยควา “เธอชอบดูภาพยนตรห รือโทรทัศน” 2.4 ประโยคที่มีขอความเปนเหตุเปนผลกนั โดยมีขอความทเ่ี ปน เหตุอยูขา งหนา ขอความทเี่ ปน ผลอยหู ลงั ประโยคท่ี 1 เขาขับรถเร็วเกินไป ประโยคท่ี 2 เขาถกู รถชน รวมประโยควา “เขาขบั รถเร็วเกนิ ไปเขาจงึ ถูกรถชน” 3. ประโยคซอนกนั (สงั กรประโยค) คอื ประโยคท่ีมขี อ ความหลายประโยค ขอ ความอยูใ นประโยคเดยี วกัน เพอ่ื ใหข อความสมบูรณยง่ิ ข้ึน 1. ประโยคหลกั เรียกวา มุขยประโยค ซง่ึ เปนประโยคสําคัญมีใจความสมบูรณ ในตัวเอง 2. ประโยคยอ ย เรียกวา อนปุ ระโยค ประโยคยอยน้ีจะตองอาศัยประโยคหลัง จึงจะไดค วามสมบูรณ ตวั อยา ง สรพงษเ ดินทางไปสงขลาเพ่ือแสดงภาพยนตร เขาประสบอุบัติเหตเุ พราะความประมาท คนทปี่ ราศจากโรคภยั ไขเจบ็ เปน คนโชคดี

56 ตารางประโยคความซอน บทเชอื่ ม ประโยคยอย (อนปุ ระโยค) ประโยคหลกั เพอ่ื แสดงภาพยนตร (มุขยประโยค) เพราะ ความประมาท สรพงษเ ดินทางไปสงขลา ท่ี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ เขาประสบอบุ ตั เิ หตุ คน...เปนคนโชคดี นอกจากประโยคทั้ง 3 ชนิดดังกลาวมาแลว ยังมีประโยคอีกหลายชนิดท่ีมิไดเรียงลําดับ ประโยคเหมือนประโยคท้ัง 3 ชนิด ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนน สว นใดของประโยคดว ยเหตุนจี้ งึ ทําใหประโยคมีหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. ประโยคเนนผูกระทํา คือ ประโยคท่ียกผูกระทําข้ึนเปนประธานของประโยค ขึน้ กลา วกอ นแลว จึงตามดว ยภาคแสดง เชน รปู ประโยค ประธาน กริยา กรรม กาํ ลังซ้อื ผลไม 1. ลนิ ดากําลงั ซือ้ ผลไม ลนิ ดา พดู โทรศพั ท 2. สายชลพูดโทรศพั ท สายชล 2. ประโยคเนนผูถูกกระทาํ คอื ประโยคทีก่ ลาวถึงผถู ูกกระทาํ หรอื กรรม กอนผูถูกกระทํา จงึ อยูหนาประโยค รูปประโยค ผถู ูกกระทํา กรยิ า 1. เพอ่ื นของฉนั ถกู ทาํ โทษ เพ่ือนของฉัน ถูกทาํ โทษ 2. ชาตรถี ูกจบั ชาตรี ถูกจบั

57 3. ประโยคเนนกริยา คือ ประโยคท่ีตองการเนนกริยาใหเดน จึงกลาวถึงกริยากอ น ที่จะกลา วถึงประธาน กรยิ าท่ีเนน ไดใ นลักษณะนม้ี อี ยไู มก ่คี าํ คอื เกิด ปรากฏ มี รูปประโยค กรยิ า ประธาน เกิดน้าํ ทวมในประเทศ เกดิ นา้ํ ทวม ในประเทศบังกลาเทศ บงั กลาเทศ นาํ้ ทวม (ขยายกริยา) ปรากฏดาวเทยี มบนทอ งฟา ปรากฏ ดาวเทียม บนทอ งฟา (ขยายกรยิ า) 4. ประโยคคําส่ังและขอรอ ง คือ ประโยคทีอ่ ยูในรูปคําสัง่ หรอื ขอรองและจะละประธานไว โดยเนน คาํ สัง่ หรอื คาํ ขอรอ ง เชน คาํ สงั่ 1. จงกาเคร่ืองหมายกากบาท หนาขอความทีถ่ ูกตอง คําทข่ี ีดเสน ใต คอื กริยา คําขอรอ ง 2. โปรดรักษาความสะอาด คาํ ทข่ี ดี เสน ใต คอื กรยิ า ถาเตมิ ประธานท่ลี ะไวลงไป กจ็ ะกลายเปน ประโยคเนน ผกู ระทํา เชน 1. ทานจงกาเครอ่ื งหมายกากบาทหนาขอ ความทถี่ ูกตอง 2. ทานโปรดรักษาความสะอาด หนาท่ขี องประโยค ประโยคชนดิ ตาง ๆ สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผสู งสาร เพราะการส่ือสาร กนั ตามปกติน้นั ผสู งสารอาจมีเจตนาไดห ลายประการ ประโยคจึงทําหนาท่ีตาง ๆ กัน เชน บอก กลาว เสนอแนะ ชี้แจง อธิบาย ซักถาม วิงวอน ส่ังหาม ปฏิเสธ เปนตน ขอความหรือประโยคท่ี แสดงเจตนาของผูสงสารเหลานี้จะอยใู นรูปทีต่ า ง ๆ กันไป ซ่ึงอาจแบงหนาท่ีของประโยคไดเปน 4 ประเภทดว ยกัน คอื 1. รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะน้ี โดยปกติจะมี ประธาน กริยา และอาจมกี รรมดวย นอกจากนี้ อาจมีสวนขยายตาง ๆ เพื่อใหชัดเจน โดยท่ัวไปประโยคบอกเลา จะบงช้ีเจตนาวา ประธานของประโยคเปนอยา งไร

58 ตวั อยาง ประโยค เจตนา ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติของเรา ภาษาไทยเปนอะไร นอ งหิวขา ว นองอยใู นสภาพใด 2. รูปประโยคปฏเิ สธ ประโยคนแ้ี ตกตา งจากประโยคบอกกลาวหรอื บอกเลา ตรงทม่ี ี คําวา “ไม หรือคําที่มีความหมายในทางปฏิเสธ เชน “หามิได” “มิใช” ประกอบคําอธิบาย เสมอไป ตวั อยา ง วันนี้ไมม ีฝนเลย เขามิใชค นเชน นนั้ หามิได หลอ นไมใ ชคนผดิ นัด สําหรับประโยคท่ีผูสงสารมีเจตนาท่ีจะเสนอแนะมักจะใชคําวา ควรหรือควรจะใน ประโยคบอกเลาสวนในประโยคปฏิเสธ ใชค าํ วา ไมค วรหรือไมค วรจะ ประโยคปฏิเสธ “ชาวนาไมค วรปลกู มนั สาํ ปะหลงั ในที่นาเพราะจะทาํ ใหด นิ จดื ” 3. ประโยคคําส่ังและขอรอง ประโยครูปนี้มีลักษณะเดน คือ มีแตภาคแสดงเสมอ สว นประธานซง่ึ ตอ งเปน บรุ ษุ ท่ี 2 ใหล ะเวน ในฐานท่เี ขา ใจ ตวั อยา ง ยกมือข้นึ ยืนขน้ึ ปลอ ยเดยี๋ วนีน้ ะ รูปประโยคคําสั่ง เชน ขางตนนี้ อาจใสคําวา อยา จง หาม ขางหนาประโยคได เพอื่ ใหคําสง่ั จรงิ จงั ยิ่งขึ้น ตัวอยา ง อยาทาํ บา นเมอื งสกปรก จงตอบคําถามตอไปนี้ หามมยี าเสพติดไวในครอบครอง 4. รูปประโยคคําถาม ประโยครูปนท้ี ําหนา ทีเ่ ปนคําถามวางอยูต อนตนหรอื ตอนทา ย ของประโยคก็ได คาํ แสดงคําถามแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ คําแสดงคําถามที่ผูสงสารตองการ คําตอบเปน ใจความใหม และคําแสดงคําถามท่ีผสู ง สารตองการคําตอบเพยี ง “ใช” หรอื “ไม”

59 เร่ืองที่ 3 การใชเครื่องหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ การใชเ ครือ่ งหมายวรรคตอน ภาษาไทยมีวิธีการเขียนคําติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึงเวนวรรค ดังน้ัน ในการ เขยี นหนังสือจงึ ตอ งมีการแบงวรรคตอนและใชเ คร่ืองหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถูกตอง เพือ่ ชว ยใหเ ขาใจความหมายไดอยางชดั เจนไมผ ิดเพยี้ นไปจากวตั ถปุ ระสงค เครือ่ งหมายวรรคตอนท่คี วรทราบมดี งั นน้ั ลําดับท่ี เครือ่ งหมาย ชื่อ วธิ ใี ช 1. , จุลภาค เปน เคร่ืองหมายท่ีนํามาใชตามแบบภาษาอังกฤษ แตต ามปกตภิ าษาไทยใชเวนวรรคแทนเคร่ืองหมาย จุลภาคอยูแลว จึงไมจําเปนตองใชเคร่ืองหมาย จลุ ภาคอกี ตัวอยาง เขาชอบรับประทานผักกาด ผักคะนา ตนหอม กะหลาํ่ ปลี ถาเปนประโยคภาษาอังกฤษจะใชเคร่ืองหมาย ดังน้ี เขาชอบรับประทานผักกาด, ผักคะนา, ตนหอม, กะหลํ่าปลี 2. ? ปรศั นี หรือ ใชเขียนไวหลังคํา หรือขอความท่ีเปนคําถาม เคร่อื งหมาย ถาไมใ ชถ ามโดยตรงไมต องใสเ คร่อื งหมายปรศั นี คําถาม ตัวอยา ง ใคร? ใครครับ? (คําถาม) ฉันไมท ราบวาเขามาหาใคร (บอกเลา ) เธอชอบอา นหนงั สือนวนิยายไหม? (คาํ ถาม) ฉันไมทราบวาจะทําอยางไรให เธอเชื่อฉั น (บอกเลา ) 3. ! อศั เจรีย เปนเคร่ืองหมายแสดงความประหลาดใจ มหัศจรรยใจใชเขียนหลังคําอุทาน หรือขอความ ท่ีมีลักษณะคลายคําอุทาน เพื่อใหผูอานออกสียง

60 ลาํ ดับท่ี เครอื่ งหมาย ช่ือ วิธีใช ไดถูกตองกับความเปนจริง และเหมาะสมกับ เหตุการณที่เกิดขึ้น เชน ดีใจ เสียใจ เศราใจ แปลกใจ ตวั อยา ง “โอโฮ! เธอขับรถไปถึงสงขลาคนเดียวหรือ” แปลกใจ “อนิจจา! ทาํ ไมเขาถงึ เคราะหรายอยา งนั้น” สลดใจ 4. (............) นขลขิ ติ หรือ ใชเขียนครอมความท่ีเปนคําอธิบาย ซ่ึงไมควรมี เครอื่ งหมาย ในเน้ือเรื่อง แตผูเขียนตองการใหผูอานเขาใจ วงเล็บ หรือทราบขอความนนั้ เปนพิเศษ เชน ตัวอยาง สมัยโบราณ คนไทยจารึกพระธรรมลงในกระดาษ เพลา (กระดาษท่ีคนไทยทําข้ึนใชเอง โดยมากทํา จากเปลอื กขอ ย บางคร้ังเรยี กวากระดาษขอ ย) 5. “…………..” อญั ประกาศ มีวธิ ใี ชด ังน้ี เนน คํา หรอื ขอ ความใหผ ูอา นสงั เกตเปน พิเศษ ตวั อยาง ผูหญิงคนน้ัน “สวย” จนไมมีที่ติ เขาเปนคน “กตัญูรูคณุ คน” อยางนาสรรเสรญิ ย่งิ ใชสําหรับขอความท่ีเปนความคิดของผูเขียน หรือความคิดของบุคคลอ่ืน 6. ๆ ไมยมก หรือ ใชเขียนไวหลังคํา หรือขอความเพ่ือใหอานคํา ยมก หรือความนั้นซ้ํากันสองคร้ัง ยมก แปลวา คู แตตองเปนคําหรือความชนิดเดียวกัน ถาเปนคํา หรอื ความตางชนดิ กันจะใชไมยมกไมได ตองเขียน ตัวอกั ษรซา้ํ กัน

61 ลาํ ดบั ที่ เครอื่ งหมาย ชอ่ื วิธีใช ตวั อยาง เขาเคยมาทกุ วนั วนั นี้ไมมา (ถูก) เขาเคยมาทกุ วัน ๆ น้ไี มม า (ผิด) เขาชอบพูดตาง ๆ นานา (ถกู ) เขาชอบพูดตาง ๆ นา (ผิด) 7. _ สัญประกาศ ใชขีดเสนใตขอความที่ผูเขียนตองการเนนใหเห็น ความสําคญั ตวั อยา ง โรคพิษสนุ ัขบา มีอนั ตรายมากถาถกู สนุ ขั บากัดตอง รีบไปฉดี วคั ซีนทันที เขาพูดวา เขาไมชอบ คนที่พดู มาก 8. ” บุพสัญญา ใชเปนเครื่องหมายแทนคํา หรือกลุมคําซ่ึงอยู ขางบนเคร่ืองหมายน้ี การเขียนเครื่องหมายน้ี จะชว ยใหไ มต อ งเขยี นคําซ้ําๆ กนั ตวั อยา ง คําวา คน ถาเปนคํากริยา แปลวากวนใหท่ัว ” ขอด ” ” ” ” ขมวดใหเ ปนปม เคร่ืองหมาย บพุ สญั ญาน้ีมักจะมผี ูเขยี นผิดเปน “ ตวั อยา ง สมดุ 8 โหล ราคาโหลละ 40 บาท ดินสอ 8 ” “ ” 12 บาท (ผดิ ) 9. _ ยตภิ งั ค ใชเ ขียนระหวางคาํ ทเี่ ขียนแยกพยางคกัน เพ่ือเปน หรือ เครื่องหมายใหร ูว า พยางคหนากับพยางคหลังนั้น เคร่ืองหมาย ติดกัน หรือเปนคําเดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้น ขีดเสน จะอยใู นบรรทดั เดยี วกัน หรือตางบรรทัดกันกไ็ ด ตัวอยา ง สัปดาห อานวา สปั -ดา

62 ลําดบั ท่ี เคร่ืองหมาย ชื่อ วิธีใช สพยอก อานวา สับ - พะ - ยอก 10. ฯ ไปยาลนอ ย ในการเขียนเรื่อง หรือขอความ ตัวอยาง เชน คําวา พระราชกฤษฎีกา เมือ่ เขียนไดเพียง พระราชกฤษ ก็หมดบรรทัด ตองเขียนคําวา ฎีกา ตอในบรรทัด ตอไปถาเปนเชนนี้ ใหเขียนเครื่องหมายยติภังค ดังน้ี พระราชกฤษ - แลวเขียนตอบรรทัดใหมวา ฎีกา และในการอา น ตองอานติดตอกันเปนคําเดียวกัน วา พระราชกฤษฎกี า ใชเขยี นหลงั คําซึ่งเปนที่รูกันโดยท่ัวไปละขอความ สวนหลังไว ผูอานจะตองอานขอความ ในสวนท่ี ละไวใ หครบบริบรู ณ ถาจะใหอานเพียง ท่ีเขียนไว เชน กรุงเทพ ก็ไมตองใสเคร่ืองหมายไปยาล นอยลงไป ตวั อยา ง กรุงเทพ ฯ อา นวา กรงุ เทพมหานคร โปรดเกลา ฯ อานวา โปรดเกลา โปรด กระหมอ ม 11. ฯลฯ ไปยาลใหญ วธิ ีใชมดี ังน้ี ใ ช เ ขี ย น ไ ว ห ลั ง ข อ ค ว า ม ที่ จ ะ ต อ ไ ป อี ก ม า ก แตนํามาเขียนไวพอเปนตัวอยาง ใหอาน เครอ่ื งหมายฯลฯ วา “ ละ” ตัวอยา ง เขาปลกู ผักกาด ผกั คะนา ผกั บุง ฯลฯ อานวา เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผกั บุง ละ ใชเ ขียนไวระหวางกลางขอความ ซ่ึงถา เขยี นจนจบ จะยาวเกินไป จึงนํามาเขียนไว เฉพาะตอนตน

63 ลาํ ดบั ท่ี เครอ่ื งหมาย ชอ่ื วิธีใช กับตอนสุดทายเทาน้ัน สวนขอความท่ีเวนไว ใสเ คร่อื งหมาย ฯลฯ ใหอานเครื่องหมาย ฯลฯ วา “ ละถึง ” ตวั อยา ง อิตปิ โ ส ฯลฯ ภควาต.ิ อานวา อิติปโ ส ละถึง ภควาต.ิ 12. ............... ไปยาลใหญ สําหรับเคร่ืองหมาย ฯลฯ น้ัน ปจจุบันนิยมใช หรอื จดุ ไขปลา เครอื่ งหมาย.............แทน ตัวอยา ง อิตปิ โส ฯลฯ ภควาติ นิยมเขียนวา อิติปโ ส ......... ภควาติ อานวา อิตปิ โ ส ละถึง ภควาติ 13. • มหพั ภาค มที ่ีใชด ังน้ี เขียนไวหลังอกั ษร เชน พ.ศ. ยอมาจาก พุทธศักราช พ.ร.บ. ” พระราชบญั ญัติ เม.ย. ” เมษายน เขยี นไวห ลังคาํ ยอ เชน กรกฎ. ยอมาจาก กรกฎาคม เมษ. ยอมาจาก เมษายน เขยี นไวหลังตัวเลข หรืออกั ษรทีบ่ อกจาํ นวนขอ ตัวอยาง ก. เราจะไมประพฤติผิดระเบียบของโรงเรยี น ข. การนอนหลบั ถือวาเปน การพกั ผอ น เขยี นไวข างหลังเม่ือจบประโยคแลว เชน ฉันชอบ เรยี นวชิ าภาษาไทยมากกวาวชิ าอ่ืนๆ

64 ลําดับที่ เครื่องหมาย ช่อื วธิ ีใช 14. มหตั สญั ญา เปนการยอหนา ข้ึนบรรทัดใหม ไมมีรูปราง และ เครอื่ งหมาย วธิ ีใช เม่ือเปนช่ือเร่ือง หรือหัวขอเขียนไวกลางบรรทัด ถา เปน หัวขอยอย ก็ยอ หนา ข้ึนบรรทัดใหม ขอความสําคัญ ๆ ทจี่ ดั ไว เปน ตอน ๆ ควรยอหนา ขึ้นบรรทัดใหม เพ่ือใหขอความเดนชัดและเขาใจ งา ย อกั ษรยอ อักษรยอ คือ อักษรที่ใชแทนคํา หรือขอความเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการส่ือสาร ลักษณะของอักษรยออาจจะเปนอักษรตัวเดียว อักษรสองตัว หรือมากกวานั้น แลวมีจุดหนึ่งจุด (มหัพภาค) ขางหลัง หรอื จดุ ระหวา งตัวอกั ษรแลว แตก ารกาํ หนด หลกั เกณฑก ารเขยี นและการอา นอักษรยอ 1. การเขียนอกั ษรยอ ของคาํ ตา ง ๆ มีวิธีการและหลักการซง่ึ ราชบัณฑติ ยสถาน โดย “คณะกรรมการกําหนดหลกั เกณฑ เกยี่ วกบั การใชภ าษาไทย” ไดกําหนดไวด งั นี้ ก. ใชพ ยัญชนะตนของพยางคแรกของคําเปน ตัวยอ ถาเปนคําคาํ เดียวใหใชย อตวั เดียว แมวาคาํ น้นั จะมีหลายพยางคก ต็ าม ตัวอยา ง วา ว. จังหวดั จ. 3. นาฬกิ า 3.00 น. ศาสตราจารย ศ. ถา ใชตัวยอเพียงตัวเดียวแลวทําใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคําถัดไป เปนตัวยอ ดวยก็ได ตัวอยาง ตาํ รวจ ตร. อยั การ อก.

65 ข. ถา เปนคําสมาสใหถ ือเปนคําเดยี ว และใชพยัญชนะตนของพยางคแรกเพยี งตัวเดยี ว ตัวอยา ง มหาวทิ ยาลยั ม. วทิ ยาลยั ว. ค. ถาเปน คําประสม ใชพยัญชนะตน ของแตล ะคํา ตวั อยาง ช่ัวโมง ชม. โรงเรยี น รร. ง. ถาคําประสมประกอบดวยคาํ หลายคาํ มคี วามยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยัญชนะตน ของคําที่เปน ใจความสําคัญ ทั้งน้ี ไมควรเกนิ 4 ตวั ตวั อยา ง คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริกปร. สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สพฐ. จ. ถาใชพยัญชนะของแตละคําแลวทําใหเกิดความสับสน ใหใชพยัญชนะตนของพยางค ถดั ไปแทน ตัวอยา ง พระราชกาํ หนด พ.ร.ก. พระราชกฤษฎกี า พ.ร.ฎ. ฉ. ถา พยางคท่จี ะนําพยญั ชนะตน มาใชเปนตัวยอมี ห เปนอักษรนํา เชน หญ หล ใหใช พยัญชนะตน นัน้ เปน ตวั ยอ ตัวอยาง สารวัตรใหญ สวญ. ทางหลวง ทล. ช. คําทพี่ ยญั ชนะตนเปน อกั ษรควบกลํา้ หรืออกั ษรนํา ใหใ ชอ กั ษรตัวหนาตวั เดียว ตัวอยาง ประกาศนยี บตั ร ป. ถนน ถ. เปรยี ญ ป. ซ. ตัวยอไมควรใชส ระ ยกเวนคําท่ีเคยใชมากอ นแลว ตวั อยาง เมษายน เม.ย. มิถุนายน มิ.ย. ฌ. ตัวยอตองมีจุดกํากับเสมอ ตัวยอต้ังแต 2 ตัวข้ึนไป ใหจุดที่ตัวสุดทายเพียงจุดเดียว ยกเวน ตวั ทใ่ี ชกันมากอน เชน พ.ศ. น.ศ. ม.ร.ว. เปนตน ตัวอยาง ตาํ บล ต. ทบวงมหาวิยาลยั ทม.

66 ญ. ใหเ วน วรรคหนาตัวยอทกุ แบบ ตัวอยาง ประวตั ิของ อ. พระนครศรอี ยุธยา มีขา วจาก กทม. วา ฎ. ใหเ วนวรรคระหวางกลุมอกั ษรยอ ตัวอยา ง ศ. นพ. ฏ. การอานคาํ ยอ ตองอานเต็ม ตัวอยา ง 05.00 น. อานวา หา นาฬกิ า อ.พระนครศรีอยุธยา อานวา อาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา ยกเวนในกรณีท่ีคําเต็มน้ันยาวมาก และคํายอนั้นเปนที่เขาใจและยอมรับกันท่ัวไป แลวอาจอานตวั ยอเรยี งตัวไปก็ได ตัวอยาง ก.พ. อานวา กอ พอ 2. การเขียนรหสั ตัวพยัญชนะประจาํ จังหวัด ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดวยงานสารบรรณ โดยไมม จี ดุ มหัพภาค ตอ ทาย เชน กระบ่ี ยอเปน กบ นาน ยอ เปน นน ราชบุรี ยอ เปน รบ กรุงเทพมหานคร ” กท บรุ ีรมั ย ” บร ลพบรุ ี ” ลบ กาญจนบรุ ี ” กจ ปทุมธานี ” ปท ลําปาง ” ลป กาฬสินธุ ” กส ประจวบคีรีขันธ ” ปข ลาํ พูน ” ลพ กาํ แพงเพชร ” กพ ปราจีนบุรี ” ปจ เลย ” ลย ขอนแกน ” ขก ปตตานี ” ปน ศรีสะเกษ ” ศก จันทบุรี ” จบ พะเยา ” พย สกลนคร ” สน ฉะเชงิ เทรา ” ฉช พระนครศรีอยุธยา ” อย สงขลา ” สข ชลบรุ ี ” ชบ พงั งา ” พง สตูล ” สต ชยั นาท ” ชน พัทลุง ” พท สมุทรปราการ ” สป ชนั ภูมิ ” ชย พจิ ติ ร ” พจ สมทุ รสงคราม ” สส เชียงราย ” ชร พษิ ณุโลก ” พล สมทุ รสาคร ” สค เชียงใหม ” ชม เพชรบรุ ี ” พบ สระบรุ ี ” สบ ตรงั ” ตง เพชรบรู ณ ” พช สงิ หบ รุ ี ” สห

67 ฯลฯ กรุงเทพมหานคร กท จะพบในหนังสือราชการ แตโ ดยทว่ั ไป ใชกรงุ เทพมหานคร เครื่องหมาย เรยี กชอ่ื วิธใี ช ตวั อยา ง ใกล ๆ ยมก หรอื ไมย มก ใหเขยี นไวหลังคําเพ่อื ใหอา นคํานน้ั ซาํ้ กันสองคร้งั เร่ืองที่ 4 คําราชาศัพท ราชาศัพท แปลตามศัพท หมายถึง ถอยคําสําหรับพระราชา แตตามตําราหลักภาษาไทย ไดใ หค วามหมายกินขอบเขตไปถงึ ถอ ยคําภาษาสําหรบั บุคคล 3 ประเภท คือ 1. ศพั ทท ใี่ ชส าํ หรบั พระมหากษตั รยิ และพระบรมวงศานวุ งศ 2. ศัพทท่ใี ชสาํ หรับพระภกิ ษสุ งฆ 3. ศพั ททใ่ี ชส าํ หรบั สภุ าพชน 1. ศัพทท ี่ใชสําหรบั พระมหากษตั รยิ และพระบรมวงศานุวงศ คาํ ศพั ทป ระเภทนีเ้ ราจะไดฟ งหรือไดอานบอยมาก สวนใหญจะเปนขาวหรือเรื่องราวที่ เก่ยี วกบั กรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ลักษณะของราชาศัพทประเภทนี้ มลี กั ษณะเดน ท่นี าสนใจ คอื 1.1 ใชค าํ วา ทรง เพอื่ ใหเ ปน คาํ กรยิ า ทรง นาํ หนากรยิ าที่เปน คําไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกําลงั กาย ทรง นําหนาคํานามที่เปนคําไทยแลวใชเปนกริยา เชน ทรงชาง ทรงมา ทรงเรอื ใบ ทรง นําหนา คําทเี่ ปนราชาศัพทอ ยูแลว เชน ทรงพระอกั ษร ทรงพระสาํ ราญ ทรงพระราชนพิ นธ 1.2 ใชค ําไทยนําหนาคําท่เี ปนราชาศพั ทอ ยแู ลว เพอื่ ใหเ ปนคาํ กริยา เชน ทอดพระเนตร 1.3 ใชค าํ ไทยนาํ หนาคาํ ท่ีเปนราชาศัพทอยูแลว เพ่ือใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตร ผาเช็ดหนา ถุงพระบาท ถุงเทา ถุงพระหัตถ ถุงมือ การใชคําธรรมดานําหนาคําที่เปนราชาศัพท อยูแลวเพื่อใหเปนคํานาม ยังมีอีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหัตถ ฉลองพระเนตร แวนตา มูลพระชิวหา นํา้ ลาย

68 1.4 ใชคําวา ตน หรือ หลวง ลงทายคํานามหรือกริยา เชน เสด็จประพาสตน พระแสงปนตน เครื่องตน รถหลวง เรอื หลวง 1.5 คําท่ีกําหนดใหเปนราชาศัพทสามารถจําแนกชนิดตาง ๆ ได เหมือนคําในภาษา สามญั คอื มที ั้งคาํ นาม สรรพนาม กรยิ า วิเศษณ และมีคําลักษณะนามใชเปน พเิ ศษอีกดว ย เชน คํานาม พระเศียร หวั พระนลาฏ หนา ผาก พระชนก พอ พระชนนี แม พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบดิ มีด คําสรรพนาม ขา พระพุทธเจา กระหมอ ม หมอ มฉัน บุรุษท่ี 1 ใตฝาละอองธลุ พี ระบาท ใตฝ า พระบาท ฝา พระบาท บรุ ษุ ที่ 2 พระองคทาน พระองค ทาน บรุ ุษท่ี 3 คํากรยิ า กรยิ าเปนราชาศพั ทอยแู ลว ไมต องมีคําวา ทรง นาํ หนา เชน เสด็จ ตรัส เสวย เปน ตน นอกนั้น ตองเติมดวยคําวาพระ หรือ ทรงพระราช เพ่ือใหเปนคํากริยา เชน ทรงพระอักษร เขียนหนังสือ ทรงพระราชนพิ นธ แตงหนังสือ คําวเิ ศษณ มีแตคาํ ขานรับ ซึ่งแยกตามเพศ คือ หญิงใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับ พระพุทธเจาขา พะ ยะคะ คาํ ลักษณะนาม ใชคาํ วา องค กับ พระองค เปน คําที่เกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของรางกายและเครอื่ งใช ของทาน เชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซี่ ปราสาท 2 องค 1.6 การใชราชาศพั ทแ บบแผน วธิ พี ดู ในโอกาสตาง ๆ อีกดวย เชน การใชคาํ ขอบคุณ ถาเรากลาวแกพระมหากษัตริย ใชวา “รูสึกขอบพระมหากรุณาธิคุณเปน ลน เกลา ฯ” การใชคาํ ขออนุญาต ถาเรากลา วแกพระมหากษตั รยิ  ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต” กลาวเมือ่ ถวายของ ถา เรากลา วเมื่อถวายของ

69 “ขอพระราชทานทูลเกลา ทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถงึ สงิ่ ของขนาดเลก็ “ขอพระราชทานนอมเกลานอมกระหมอม ถวาย....................” หมายถึง ส่งิ ของขนาดใหญ ยกไมไ ด 2. ศพั ทท่ีใชส าํ หรับพระภกิ ษุสงฆ พระภิกษุเปนผูที่ไดรับความเคารพจากบุคคลทั่วไป ในฐานะที่เปนผูทรงศีล และเปน ผูสบื พระศาสนา การใชถ อยคําจงึ กาํ หนดขน้ั ไวตา งหากอกี แบบหนง่ึ เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งถือเปนประมุขแหงสงฆน้ันกําหนดใหราชาศัพท เทียบเทากับพระราชวงศชั้นหมอมเจา แตถาพระภิกษุนั้นเปนพระราชวงศอยูแลวก็คงใหใช ราชาศัพทต ามลาํ ดับช้ันท่ีเปน อยแู ลวน้ัน การใชถอยคําสําหรับพระภิกษุโดยทั่วไปมีขอสังเกตคือ ถาพระภิกษุใชกับพระภิกษุ ดวยกันหรือใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริย และพระราชวงศคนอื่นที่พูดกับทานหรือพูดถึงทานจึงจะใชราชาศัพท แตถาพระองคทานพูด กับคนอนื่ จะใชภาษาสุภาพธรรมดา เชน มีผพู ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกาํ ลังอาพาธอยูในโรงพยาบาล” พระมหาสุนทรพดู ถึงตัวทานเองกย็ อมกลาววา “อาตมากาํ ลังอาพาธอยูทโี่ รงพยาบาล” มผี ูพดู ถงึ พระราชวงศหนง่ึ วา “พระองคเ จา ดิศวรกมุ ารกําลงั ประชวร” พระองคเ จาเมือ่ กลาวพระองคถ ึงพระองคเองยอมรบั ส่ังวา “ฉนั กาํ ลังปว ย” ตวั อยา งคําราชาศพั ทส าํ หรบั พระภกิ ษุบางคาํ คาํ นาม ภัตตาหาร อาหาร ไทยทาน สง่ิ ของถวาย อาสนะ ท่ีน่งั กฏุ ิ ที่พักในวดั เภสัช ยารักษาโรค ธรรมาสน ทแี่ สดงธรรม คาํ สรรพนาม อาตมา ภิกษุเรยี กตนเองกับผอู ่ืน ผม กระผม ภิกษุเรยี กตนเองใชก บั ภิกษดุ ว ยกัน มหาบพิตร ภกิ ษุเรยี กพระมหากษัตริย โยม ภิกษเุ รยี กคนธรรมดาท่ีเปนผใู หญก วา พระคุณเจา คนธรรมดาเรียกสมเดจ็ พระราชาคณะ ทา น คนธรรมดาเรียกสมเดจ็ พระราชาคณะ

70 คาํ กริยา ประเคน ยกของดวยมอื มอบใหพ ระ ถวาย มอบให ฉัน กิน อาพาธ ปว ย มรณภาพ ตาย อนุโมทนา ยนิ ดีดว ย จําวดั นอน คําลักษณะนาม รูป เปนลักษณะนามสําหรับนับจํานวนภิกษุ เชน พระภิกษุ 2 รูป คนทว่ั ไปนยิ มใชค ําวา องค 3. คําทใ่ี ชสาํ หรบั สภุ าพชน การใชถอยคําสําหรับบุคคลทั่วไป จําเปนตองใชใหสมฐานะและเกียรติยศ ความสัมพันธ ระหวางผูที่ติดตอสื่อสารกันจะตองคํานึงถึง อายุ เพศ และตําแหนงหนาที่การงานดวย นอกจากน้ัน เวลา และ สถานที่ยังเปนเคร่ืองกําหนดอีกดวยวา ควรเลือกใชถอยคําอยางไรจึงจะ เหมาะสม ตวั อยางคําสภุ าพ เชน คาํ นาม บิดา พอ มารดา แม และใชคําวาคุณ นําหนาชื่อ เชน คุณพอ คุณลุง คุณประเสริฐ คุณครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ ขี้ ปสสาวะ เยยี่ ว โค ววั กระบอื ควาย สุนัข หมา สุกร หมู คํากริยา รับประทานอาหาร กิน ถึงแกกรรม ตาย คลอดบุตร ออกลูก ทราบ รู เรยี น บอกใหรู คําสรรพนาม ดฉิ ัน ผม กระผม บรุ ษุ ท่ี 1 คณุ ทา น เธอ บุรษุ ท่ี 2 และ 3 การใชสรรพนามใหสภุ าพ คนไทยนยิ มเรียกตามตาํ แหนงหนาทีด่ ว ย เชน ทา นอธิบดี ทา นหัวหนากอง เปนตน คาํ วเิ ศษณ คําขานรบั เชน คะ เจา คะ ครบั ครับผม เปน ตน คําขอรอง เชน โปรด ไดโปรด กรณุ า เปน ตน คําลกั ษณะนาม ลกั ษณะนามเพอื่ ยกยอ ง เชน อาจารย 5 ทา น แทนคาํ วา คน ลกั ษณะนามเพื่อใหส ภุ าพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคําวา ลกู ผลไม 5 ผล แทนคาํ วา ลูก

71 เรอื่ งที่ 5 ภาษาพูดและภาษาเขียน ลกั ษณะของภาษาพดู และภาษาเขียน ภาษาพดู หมายถึง เสียงทเ่ี ปลงออกมา เพ่อื ใชสื่อสารในการพูดคุยสนทนากับบุคคลตาง ๆ ซง่ึ ไมเ นนความเปน ทางการมากนัก ภาษาเขียน หมายถึง สัญลักษณที่ใชในการแทนเสียง และใชเขียนเพ่ือติดตอสื่อสารกับ ผอู น่ื ซงึ่ มักจะเปนความเปนทางการ ตวั อยา ง ภาษาเขยี น ภาษาพดู ภาษาเขียน ฉนั ทาํ ไง ทําอยา งไร ภาษาพดู เขา กระได บันได ช้ัน ไหม เทา ไหร เทาไร เคา มั้ย การใชภาษาพูด และภาษาเขียน ควรใชใหเหมาะสมกับบุคคล และสถานการณในการ สอื่ สาร เชน ถาเราพูดคุยกันเพ่ือนก็ใชภาษาพูด ถาติดตอสื่อสารกับครู ผูใหญ หนวยงานราชการ ในการรายงาน จดหมาย บันทกึ การประชมุ เปนตน การใชภ าษาพดู และภาษาเขียน ภาษาพดู บางทเี ราก็เรียกวา ภาษาปาก หรือภาษาเฉพาะกลุม เชน กลมุ วยั รนุ กลุมเพ่ือน สนทิ กลมุ มอเตอรไ ซครบั จาง ซึง่ ภาษาพดู ไมเครง ครัดในหลกั ภาษา บางครัง้ ฟงแลวไมสุภาพ มักใช ระหวางผูสนิทสนม และใชในบทสนทนาของตัวละครในบทละคร เพ่ือความเหมาะสมกับฐานะ ตัวละคร ภาษาเขียน จะมีลักษณะเครงครัดในหลักภาษา ระดับที่เครงครัดมากเรียกวา ภาษา แบบแผนใชเขยี นส่ือสารที่เปน ทางการ เขียนตดิ ตอราชการ เปนตน สวนระดับเครงครัดไมมากนัก เรียกวา ภาษาก่ึงแบบแผน หรือภาษาไมเปนทางการ จะใชในการเขียนในวรรณกรรม เขียน บทความ คาํ ประพันธ การเขียนคําขวัญ และเขียนโฆษณา เปนตน

72 ลกั ษณะเปรยี บเทียบภาษาพูด กบั ภาษาเขยี น 1. ภาษาพูดเปนภาษาเฉพาะกลุม หรือวัย จะมีการเปล่ียนแปลงคําพูดอยูเสมอ เชน ภาษาพูด – ภาษาเขยี น วัยโจ – วัยรุน, แหว – ผิดหวัง, โหลยโทย – แยม าก, ดน้ิ – เตนราํ เซง็ – เบ่อื เปน ตน 2. ภาษาพูดมักเปนภาษาไทยแท เปนภาษาชาวบาน เขาใจงาย สวนภาษาเขียนมักจะ ใชภ าษาแบบแผน ภาษาก่ึงแบบแผน และภาษาบาลี สันสกฤต เชน ภาษาพูด – ภาษาเขียน ในหลวง – พระมหากษัตริย, เมีย – อนุภรรยา, ปอดลอย – หวาดกลวั , เกอื ก – รองเทา, ตนี เปลา – เทาเปลา เปน ตน 3. ภาษาพูดมักจะเปล่ียนแปลงเสียง และนิยมตัดคําใหสั้นลง แตภาษาเขียนจะเครงครัด ตามรปู คาํ เดมิ เชน ภาษาพูด – ภาษาเขียน เพ – พี่, ใชปะ – ใชหรือเปลา, ใชมะ – ใชไหม เปน ตน 4. ภาษาพูดท่ียืมคาํ จากภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน เม่ือนํามาใช มักจะตัดคําใหสัน้ ลง สวนภาษาเขียนจะใชคําแปลภาษาไทย หรอื คาํ ทบั ศพั ท เชน ภาษาพดู – ภาษาเขยี น แอบ (abnormal) – ผิดปกต,ิ กอบ (copy) – สําเนาตน ฉบับ, เวอ ร (over) – เกนิ ควร, กนุ ซอื (ภาษาจนี ) – ทป่ี รึกษา, บวย (ภาษาจีน) – สดุ ทาย เปนตน ความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียน การจะตดั สนิ วาคําใดเปนภาษาพูด คาํ ใดเปนภาษาเขียนนัน้ เปน เร่อื งยากมาก ทงั้ น้ี เพราะขน้ึ อยูก บั กาลเทศะ และบคุ คลทีจ่ ะสอื่ สาร และใชค ํานน้ั ๆ และบางคําเปนคํากลาง ๆ ใชได ทง้ั ภาษาพูด และภาษาเขยี น ความแตกตา งระหวา งภาษาพดู และภาษาเขยี นพอสรุปไดด งั นี้ 1. คําบางคําจะใชเฉพาะในภาษาพูดเทานั้น ภาษาเขียนจะไมใชเลย เชน แย เยอะแยะ โอโ ฮ จบไปเลย เปนตน 2. ภาษาเขียนจะไมใชสํานวนเปรียบเทียบ หรือคําแสลงที่ยังไมเปนที่ยอมรับในภาษา เชน คาํ วา โดดรม ชกั ดาบ และพลิกล็อค เปนตน 3. ภาษาเขียนจะเรียบเรียงถอยคําใหสละสลวยชัดเจนไมซํ้าคํา ซ้ําความโดยไมจําเปน สว นภาษาพูด อาจจะมีการซํ้าคํา และซ้ําความได เชน การพูดกลับไปกลับมา เปนยํ้าคําเพื่อเนน ขอความนน้ั ๆ 4. ภาษาเขียน ผเู ขยี นไมม โี อกาสเปล่ียนแปลงแกไขไดเ มอ่ื เขียนเสร็จเรยี บรอ ยแลว แตภ าษาพดู ผูพดู มโี อกาสชี้แจงแกไขไดใ นตอนทา ย

73 5. การใชคาํ ในภาษาเขียน ใชคํามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซ่ึงนิยมใชเฉพาะราชการ และขอ เขียนท่ีเปน วิชาการมากกวาภาษาพดู เชน ภาษาเขียน – ภาษาพูด สุนัข – หมา, กระบือ – ควาย, แพทย – หมอ, ภาพยนตร – หนัง, ถึงแกก รรม – ตาย, ปวดศีรษะ – ปวดหวั , เงนิ – ตงั ค เปน ตน 6. ภาษาพูดมักจะออกเสียงไมตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอยางหนึ่งแตเวลาออกเสียง จะเพ้ียนเสียงไป และสวนมากจะเปน เสยี งสระ เชน ภาษาเขียน – ภาษาพูด หรอื – เหรอ, เรอ ะ, แมลงวนั – แมงวนั เปน ตน 7. ภาษาพดู สามารถแสดงอารมณข องผูพดู ไดด กี วาภาษาเขียน เพราะภาษาพูดมีการเนน เสียงสนั้ ยาว สูงต่ํา ไดต ามความตองการ เชน ภาษาเขยี น – ภาษาพดู ตาย – ตาย, ใช – ชา ย, ไป – ไป เปน ตน 8. ภาษาพูด นิยมใชคําซํ้า และคําซอน บางชนิดชวยเนนความหมายของคําใหชัดเจน ย่งิ ขึน้ เชน คําซํ้าดด๊ี ,ี อา นเอนิ่ , อาหงอาหาร, และคําซอน เชน คํามิดหมี, ทองหยอง, เดินเหิน เปนตน 9. ภาษาพูดนิยมใชคําชวยพูด หรือคําลงทาย เพื่อใหการพูดสุภาพ และไพเราะย่ิงข้ึน เชน น่งั น่งิ ๆ ซจิ ะ, จะไปไหนคะ, ไปตลาดคะ เปน ตน เรือ่ งท่ี 6 การใชสาํ นวน สภุ าษิต คาํ พังเพย คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนท่ีสละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการ ออกเสียง ลักษณะนิสัยคนไทยเปนคนเจาบทเจากลอน เวลาพูดหรือเขียนจึงนิยมใชถอยคํา สํานวนปนอยูเสมอ คําสํานวนตาง ๆ เหลาน้ีชวยใหการสื่อสารมีความหมายชัดเจน ไดความ ไพเราะ ถายทอดอารมณความรูสึกไดดี บางคร้ังใชเปนการส่ือความหมายเพ่ือเปรียบเปรยได อยางคมคายลึกซ้ึง เหมาะสมกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนไทย ซ่ึงแสดงถึงอัธยาศัยท่ีดีตอ คนอ่ืนเปน พืน้ ฐาน ประเภทของถอยคาํ สํานวน 1. ถอยคําสํานวน เปนสํานวนคําที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคําใหม เชน คําผสม คําซอ น หรอื คําทเ่ี กดิ จากการผสมคําหลายคาํ ผสมกนั เปนลกั ษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย ไมแ ปลตรงตามรูปศัพท แตม คี วามหมายในเชิงอุปไมย เชน

74 ไกออ น หมายถงึ คนท่ียังไมช ํานาญในชัน้ เชงิ กิง่ ทองใบหยก หมายถึง ความเหมาะสมของคูก ันนัน้ มีมาก เกลือจิ้มเกลอื หมายถึง มีความดุรา ยเขา หากนั แกเ ผด็ กนั แกวง เทา หาเสยี้ น หมายถงึ การหาเรื่องเดือดรอน ขิงก็ราขา ก็แรง หมายถึง ตา งฝายกร็ า ยเขา หากนั แขวนนวม หมายถงึ เลกิ การกระทาํ ท่ีเคยทํามากอน ควํา่ บาตร หมายถงึ การบอกปฏิเสธไมคบคาสมาคมดว ย คมในฝก หมายถงึ มีความฉลาดรอบรแู ตย ังไมแสดงออก เม่อื ไมถงึ เวลา งามหนา หมายถงึ นาขายหนา งกู ินหาง หมายถึง เกี่ยวโยงกันเปน ทอดๆ จนตรอก หมายถึง หมดหนทางที่จะหนไี ด จระเขข วางคลอง หมายถงึ คอยกีดกนั ไมใหค นอืน่ ทําอะไรไดสะดวก ชกั หนาไมถ ึงหลัง หมายถงึ รายไดไ มพอจบั จา ย ชบุ มือเปบ หมายถึง ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอื่น หญา ปากคอก หมายถึง เรื่องงา ยๆ คิดไมถ ึง 2. คาํ พังเพย หมายถงึ ถอยคําทก่ี ลา วข้ึนมาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ สามารถนาํ ไปตคี วามแลว นาํ ไปใชพูด หรอื เขียนใหเหมาะสมกบั เรอ่ื งที่เราตองการสื่อสารความหมายได มลี กั ษณะคลายคลึงกบั สภุ าษติ มาก อาจเปน คํากลาวติ ชม หรอื แสดงความคิดเหน็ เชน รําไมดโี ทษปโทษกลอง หมายถึง คนท่ที าํ อะไรผิดแลวมกั กลา วโทษสงิ่ อนื่ ขชี่ า งจับต๊ักแตน หมายถงึ การลงทนุ มากเพือ่ ทาํ งานท่ไี ดผลเล็กนอ ย ชี้โพรงใหกระรอก หมายถึง การแนะนําใหคนอื่นทาํ ในทางไมด ี เสยี นอ ยเสียยาก หมายถงึ การไมรูวา สงิ่ ไหนจาํ เปนหรือไมจาํ เปน เสยี มากเสยี งาย ใชจา ยไมเ หมาะสม คําพังเพยเหลาน้ียังไมเปนสุภาษิตก็เพราะวา การกลาวน้ันยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง ทแี่ นน อน ยงั ไมไ ดเปนคําสอนทแี่ ทจริง 3. สภุ าษติ หมายถึง คาํ กลาวดี คําพูดที่ถือเปน คติ เพือ่ อบรมสั่งสอนใหทําความดี ละเวน ความชัว่ สุภาษิตสว นใหญม กั เกิดจากหลักธรรมคาํ สอน นทิ านชาดก เหตกุ ารณ หรือ คําสั่งสอนของบคุ คลสําคญั ซ่ึงเปน ทเ่ี คารพนบั ถอื เล่ือมใสของประชาชน ตัวอยางเชน

75 ตนแลเปนทพ่ี ่งึ แหง ตน ทาํ ดีไดด ีทําชั่วไดชวั่ ใจเปนนายกายเปน บาว ที่ใดมรี ักทน่ี ัน่ เปน ทกุ ข หวา นพชื เชน ไรยอมไดผ ลเชน นนั้ ความพยายามอยทู ่ีไหนความสําเรจ็ อยทู ่ีน่นั ฯลฯ ตวั อยา งการนาํ คําพงั เพยไปใชในความหมายเปรียบเทยี บ เมื่อกอ นนีด้ ไู มคอ ยสวย เดีย๋ วนี้แตง ตวั สวยมากนี่แหละ ไกงามเพราะขน คนงานเพราะแตง เจามันฐานะตํ่าตอยจะไปรักลูกสาวคนรวยไดยังไง ตักน้ําใสกะโหลกชะโงกดูเงา ตนเอง เสียบา ง เราอยาไปทาํ อะไรแขง กบั เขาเลย เขากับเราไมเหมอื นกัน อยาเห็นชา งขข้ี ตี้ ามชาง แหม...ฉันวาฉันหนีจากเพ่ือนเกาท่ีเลวแลวมาเจอเพ่ือนใหมก็พอ ๆ กัน มันเขาตํารา หนีเสือ ปะจระเข เขาชอบถวงความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอ่ืนอีกน่ีแหละ คนมือ ไมพาย เอาเทาราน้ํา 4 อุปมาอุปไมย หมายถึง ถอยคําที่เปนสํานวนพวกหนึ่ง กลาวทํานองเปรียบเทียบ ใหเห็นจริงเขาใจแจมแจงชัดเจน และสละสลวยนาฟงมากขึ้น การพูดหรือการเขียนนิยมหาคํา อุปมาอุปไมยมาเติมใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขาใจงาย เชน คนดุ หากตองการให ความหมายชัดเจน นาฟง และเกิดภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระมาก การสื่อความยงั ไมชดั เจนไมเ หน็ ภาพ ตองอุปมาอุปไมยวา “ขรขุ ระเหมือนผวิ มะกรดู ” หรอื “ขรุขระเหมอื นผิวพระจนั ทร” กจ็ ะทาํ ใหเขาใจความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในการเขียนบทรอยแกวหรือรอยกรองก็ตาม เราไมอาจเขียนใหละเอียดลึกซึ้ง เพื่อสื่อ ความไดแจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได ก็จําเปนตองใชอุปมาเพื่อเปรียบเทียบให ผูรับสารจากเราไดรับรูความจริง ความรูสึก โดยการใชคําอุปมาเปรียบเทียบ ในการแตงคํา ประพันธก็นิยมใชอุปมากันมากเพราะคําอุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํานวนการเขียนให ไพเราะนาอาน กนิ ใจ ประทบั ใจมากขน้ึ สงั เกตการใชอปุ มาอปุ ไมยเปรียบเทยี บในตวั อยางตอ ไปนี้ ทานจะไปทัพคร้ังน้ี อยาเพ่ิงประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนที่ปรึกษา อปุ มา เหมือนเสืออันคะนองอยใู นปา ใหญ ทา นเรง ระวงั ตัวจงดี ตัวอยางอุปมาทค่ี วรรูจกั กรอบเหมอื นขาวเกรียบ แข็งเหมอื นเพชร กลวั เหมือนหนกู ลัวแมว กลมเหมอื นมะนาว

76 กนิ เหมือนหมู คดเคยี้ วเหมือนเขาวงกต แกมแดงเหมอื นตําลึงสกุ งา ยเหมือนปอกกลวยเขา ปาก ขมเหมือนบอระเพด็ โงเ หมือนควาย ขาวเหมือนสาํ ลี ใจเสาะเหมอื นปอกกลวยเขา ปาก เขียวเหมอื นพระอินทร เบาเหมอื นปุยนนุ งงเปนไกต าแตก พดู ไมอ อกเหมือนนํ้าทวมปาก เงยี บเหมือนปา ชา รกเหมอื นรังหนู กจิ กรรมทายบทที่ 5 หลกั การใชภาษา (10 คะแนน) ใหผ ูเ รียนเขยี นคําตาง ๆ ตามท่กี ําหนด พรอ มใหความหมายที่ถกู ตองอยา งละ 5 คํา - คําราชาศัพท - สาํ นวน - สภุ าษติ - คาํ พงั เพย - คาํ สภุ าพ

77 บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม เรื่องท่ี 1 ความหมายวรรณคดี และวรรณกรรม วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสอื ทไ่ี ดร บั การยกยอ งวา แตงดี กลา วคือ มีลักษณะ เดน ในการใชถอยคํา ภาษา และเดนในการประพนั ธ ใหคุณคาทางอารมณและความรูสึกแกผูอาน โดยแบง ไดเปน 3 ลักษณะ คอื 1. มเี นอื้ หาดี มปี ระโยชน และเปนสุภาษิต 2. มศี ลิ ปะการแตง ทีย่ อดเยย่ี มทง้ั ดา นศิลปะการใชคํา โวหาร และถูกตองตาม หลกั ไวยากรณ 3. เปนหนงั สอื ท่ไี ดร บั ความนยิ มและสืบทอดกนั มายาวนานกวา 100 ป คณุ คา ของวรรณคดี มี 2 ประการ คอื 1. คุณคาทางสุนทรียภาพหรือความงาม เชน ศิลปะของการประพันธท้ังการบรรยาย การเปรียบเทียบการเลือกสรรถอยคําใหมีความเหมาะสม กระทบอารมณผูอาน มีสัมผัสใหเกิด ความไพเราะ เปนตน 2. คุณคาทางสารประโยชน เปนคุณคาทางสติปญญาและสังคม วรรณคดีจะเขียนตาม ความเปนจริงของชีวิตใหคติสอนใจแกผูอาน สอดแทรกสภาพของสังคม วัฒนธรรมประเพณี ทําใหผ อู านมีโลกทศั นก วา งขน้ึ วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสือ งานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด เชน หนังสือ จุลสาร ส่ือเขียน สิง่ พมิ พ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรยั สนุ ทรพจน สงิ่ บันทกึ เสยี ง ภาพ ประเภทของวรรณกรรม แบงตามเนือ้ หา 4 ประเภท 1. ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมที่ไมมีลักษณะบังคับ ไมบังคับจํานวนคํา สัมผัส หรือเสียงหนักเบา วรรณกรรมที่แตงดวยรอยแกว ไดแก นิทาน นิยาย นวนิยาย เร่ืองสั้น สารคดี บทความ ขา ว 2. ประเภทรอ ยกรอง คือ วรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวาฉันทลักษณ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมประเภทรอยกรอง ไดแก บทละคร นวนิยาย บทพรรณนา บทสดุดี

78 3. สารคดี เปนหนังสือที่แตงขึ้นเพ่ือใหความรู ความคิด ประสบการณแกผูอาน จะเปน รูปแบบรอ ยแกวหรือรอยกรองก็ได เชน สารคดีทองเท่ียว ชีวประวัติ บันทึกจดหมายเหตุ หนังสือ คตธิ รรม บทความ 4. บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมที่แตงข้ึน เพ่อื มุงใหความเพลิดเพลินสนุกสนาน เชน เร่ืองส้ัน นทิ าน นวนยิ าย บทละครพดู เรื่องท่ี 2 วรรณกรรมปจจุบนั วรรณกรรมปจจุบัน หมายถึง วรรณกรรมที่มีลักษณะตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปจากเดิม เพราะรับอิทธิพลหรือแนวคิดของชาวตะวันตก เปนวรรณกรรมท่ีไมเนนวรรณศิลปทางภาษา มากนัก ไมเนนในเรื่องของการใชภาษา แตเนนในเรื่องของการส่ือแนวคิด ส่ือขอคิดแกผูอาน มากกวา ไดแก วรรณกรรมประเภทรอ ยแกว ในปจจุบันจะอยูในรูปของบันเทิงคดี เชน เร่ืองส้ัน นวนิยาย นิทาน บทละคร สารคดี วรรณกรรมประเภทรอยกรอง ในปจจุบันเปนวรรณกรรมที่แตกตางจากเดิมคือวรรณกรรม ท่ีไมเนนวรรณศิลปทางภาษามากนัก ไมเนนในเร่ืองการใชภาษาแตเนนไปในเรื่องของการส่ือ แนวคดิ ส่ือขอคดิ แกผ ูอานมากกวา ลักษณะวรรณกรรมปจจุบนั วรรณกรรมปจ จบุ ัน มีลักษณะดงั นี้ 1. รูปแบบ วรรณกรรมปจจุบันมีรูปแบบการแตงขยายตัวมากขึ้นกวาวรรณกรรมในอดีต เชน สารคดี นวนิยายและเร่ืองส้ัน บทละคร บทรอยกรองซึ่งใชถอยคํางาย ๆ ไมเครงครัดดาน ฉันทลกั ษณ 2. เนื้อหา ซ่ึงตางจากวรรณกรรมในอดีตที่ไมมุงเนนศิลปะการแตง โดยเสนออารมณของ คนดูคนอานดวยภาพของจริง ส่ิงที่ใกลตัว สิ่งท่ีพบเห็นไดจริง จะเนนเร่ืองการเสนอขอคิด หรือ ความคิดเหน็ 3. แนวคิดหรือปรัชญาของเร่ือง วรรณกรรมปจจุบันโดยเฉพาะนวนิยาย เรื่องสั้นมีกลวิธี การนําเสนอเรือ่ งใหน า ติดตามอยางมากมาย ตงั้ แตก ารเปดเร่ือง ปด เร่ืองใหนา สนใจและประทับใจ

79 เร่ืองท่ี 3 วรรณกรรมทอ งถิน่ วรรณกรรมทองถ่ิน หมายถึง เร่ืองราวของชาวบานท่ีเลาสืบตอกันมาหลายชั่วอายุคน ทง้ั การพูดและการเขยี นในรูปของคติ ความเชื่อ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําที่มี หลากหลายรูปแบบ เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน และคํากลาวในพธิ กี รรมตา ง ๆ ลักษณะของวรรณกรรมทอ งถ่ิน 1. วรรณกรรมทองถ่ิน โดยทั่วไปมีวัดเปนศูนยกลางเผยแพรกวีผูประพันธ สวนมาก คือ พระภกิ ษุ และชาวบาน 2. ภาษาที่ใชเปนภาษาถ่ิน ใชถอยคําสํานวนที่เรียบงาย ชาวบานทั่วไปรูเรื่องและใช ฉันทลกั ษณทนี่ ิยมในทอ งถน่ิ น้ันเปน สาํ คญั 3. เน้ือเรื่องสวนใหญเปนเร่ืองจักร ๆ วงศ ๆ มุงความบันเทิงและสอดแทรกคติธรรมทาง พทุ ธศาสนา 4. ยึดคานิยมและปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรือธรรมะยอมชนะอธรรม เปน ตน ประเภทวรรณกรรมทองถ่ิน วรรณกรรมทองถ่นิ แบง ไดเ ปน 2 ประเภทคอื 1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขียนเปนลายลักษณอักษรเปนวรรณกรรม ปากเปลา ถายทอดโดยการบอกหรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นิทานพื้นบาน ปริศนาคําทาย ภาษิต 2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณอักษร ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตร ในทองถ่ิน และตําราความรูต าง ๆ คณุ คา ของวรรณกรรมทองถน่ิ 1. คณุ คา ตอการอธบิ าย ความเปนมาของชมุ ชนและเผาพนั ธุ 2. สะทอ นใหเห็นโลกทัศนแ ละคานยิ มตา ง ๆ ของแตล ะทองถิ่นโดยผา นทางวรรณกรรม 3. เปน เครื่องมอื อบรมสั่งสอนจริยธรรมของคนในสังคมสามารถนําไปประยุกตใชในสังคม ปจจบุ นั ได 4. เปนแหลงบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี และการดําเนินชีวิตของคนใน ทอ งถ่ิน

80 เรื่องท่ี 4 หลกั การและแนวทางการพิจารณาวรรณคดี การพิจารณาวรรณคดี คอื การแสดงขอคดิ เหน็ เกยี่ วกับวรรณคดเี ลมใดเลมหนึ่งอยางส้ัน ๆ โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีน้ันใหผูอานรูจักวามีเนื้อเร่ืองอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร ผูพจิ ารณามีความคิดเหน็ อยา งไรตอวรรณคดีเรอ่ื งน้ัน ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะ การวิจารณว รรณกรรม หลักการพจิ ารณาวรรณคดี 1. แยกองคป ระกอบของหนังสอื หรอื วรรณคดีทีจ่ ะวิจารณใหไ ด 2. ทาํ ความเขาใจองคประกอบท่แี ยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน 3. พิจารณาหรือวเิ คราะหหนังสอื หรือวรรณคดีตามหวั ขอตอ ไปน้ี 3.1 ประวัตคิ วามเปน มาและประวัตผิ ูแตง 3.2 ลกั ษณะการประพนั ธ 3.3 เร่ืองยอ 3.4 การวิเคราะหเร่ือง 3.5 แนวคิดและจดุ มงุ หมายในการแตง 3.6 คณุ คา ดานตา ง ๆ การพนิ ิจคณุ คา วรรณคดีและวรรณกรรมมี 4 ประเด็นดงั น้ี 1. คุณคาดานวรรณศิลป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซ่ึงอาจจะเกิดจากรสของคํา ท่ีผแู ตง เลือกใชและรสความไพเราะที่ใหค วามหมายกระทบใจผูอาน 2. คุณคาดานเน้ือหา คือ การใหความรูสึกในดานตาง ๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิด แกผูอาน 3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและ วรรณกรรมท่ีดีสามารถจรรโลงสังคมไดอ กี ดวย 4. การนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชีวิตได ความคิดและประสบการณจากเร่ืองท่ีอาน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต นําไปเปนแนวปฏิบัติ หรอื แกปญ หารอบ ๆ ตวั แนวทางในการพนิ จิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวาง ๆ เพื่อใหครอบคลุมงานเขียน ทกุ ชนดิ ซ่ึงผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไร ซึ่งจะมีแนวในการ พนิ จิ ทจี่ ะตองประยกุ ตห รอื ปรับใชใหเหมาะสมกบั งานเขียนนั้น ๆ

81 หลักเกณฑก วา ง ๆ ในการพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม มีดังนี้ 1. ความเปนมาหรือประวตั ขิ องหนังสือและผแู ตง เพ่ือชวยใหวเิ คราะหใ นสวนอ่ืน ๆ ไดด ีขน้ึ 2. ลกั ษณะคาํ ประพันธ 3. เร่อื งยอ 4. เน้ือเรื่อง ใหวิเคราะหเรื่องตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ได ตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใชถอยคํา สาํ นวนในเรื่อง การแตง วิธีคิดทสี่ รางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขยี น เปน ตน 5. แนวคดิ จดุ มุงหมาย เจตนาของผูเขียนท่ีฝากไวในเร่ืองซ่งึ จะตองวเิ คราะหอ อกมา 6. คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซ่ึงผูพินิจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยให สอดคลอ งกบั ลักษณะหนงั สอื ทจี่ ะพินิจนนั้ ๆ ตามความเหมาะสมตอไป การอา นวรรณคดเี พอ่ื พจิ ารณาคณุ คาดานวรรณศิลป วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะ ในการแตงหนงั สอื ศิลปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมท่ีถึงข้ึนวรรณคดี หนังสือท่ีไดรับการยกยอง วา แตงดี จากความหมายนี้ การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปตองศึกษาต้ังแตการเลือกชนิดคํา ประพนั ธใหเ หมาะสมกบั ประเภทงานเขียน ถูกตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรือตัวละคร ในเรอื่ งและรสวรรณคดี การรูจักตกแตงถอยคําใหไพเราะสละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะภาษากวี และทาํ ใหผ อู า นเกดิ ความสะเทอื นอารมณ ภาษากวเี พ่อื สรางความงดงามไพเราะแกบทรอ ยแกวรอ ยกรองนน้ั มหี ลักสําคัญท่ีเกี่ยวของ กนั 3 ดาน ดังนี้ 1. การสรรคาํ 2. การเรยี บเรียงคํา 3. การใชโวหาร การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหส่ือความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและอารมณไดอยาง งดงามโดยคาํ นึงถึงความงามดา นเสียง โวหาร และรปู แบบคําประพันธ การสรรคาํ ทําไดด ังนี้ การเลือกคําใหเ หมาะแกเ น้ือเรอื่ งและฐานะของบุคคลในเร่อื ง การใชค าํ ใหถกู ตอ งตรงตามความหมาย การเลอื กใชค ําพอ งเสียง คาํ ซ้าํ การเลือกใชคําโดยคํานงึ ถงึ เสียงสัมผัส

82 การเลือกใชค ําเลยี นเสียงธรรมชาติ การเลือกใชค ําไวพจนไดถกู ตองตรงตามความหมาย การเรียบเรียงคํา คือ การจัดวางคําท่ีเลือกสรรแลวใหมาเรียงรอยกันอยางตอเน่ืองตาม จงั หวะ ตามโครงสรางภาษาหรือตามฉนั ทลกั ษณ ซึ่งมหี ลายวิธี เชน จัดลาํ ดบั ความคดิ หรือถอยคําจากสิง่ สําคัญจากนอยไปหามาก จนถงึ สง่ิ สําคัญสูงสดุ จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญนอยไปหามาก แตกลับหักมุมความคิดผูอาน เมื่อถงึ จุดสุด จดั ลําดบั คําใหเปน คําถามแตไ มต องการคําตอบหรอื มคี าํ ตอบอยใู นตัวคาํ ถามแลว เรียงถอยคาํ เพอื่ ใหผอู า นแปลความหมายไปในทางตรงขามเพ่ือเจตนาเยาะเยย ถากถาง เรยี งคําวลี ประโยคท่มี คี วามสาํ คญั เทา ๆ กนั เคียงขนานกันไป การใชโวหาร คือ การใชถอยคําเพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพเรียกวา “ภาพพจน” ซ่ึงมี หลายวิธที ี่ควรรจู ัก ไดแ ก อุปมา คือ การเปรียบเทียบส่ิงหนึ่งวาเหมือนกับสิ่งหนึ่ง โดยมีคําเปรียบปรากฏอยูดวย คาํ เปรียบเทียบเหลาน้ไี ดแก เหมือน ดุจ เลห เฉก ดงั กล เพียง ราว ปูน อุปลักษณ คือ การเนนความหมายวา สิ่งหน่ึงเหมือนกับสิ่งหนึ่งมากจนเหมือนกับเปน ส่ิงเดียวกันโดยใชคาํ วา เปน กบั คือ เชน “แมเปน โสมสองหลา” สจุ รติ คือเกราะบังศาสตรพ อ ง” การพิจารณาวรรณคดีดานสังคม สังคม คือ ชนชาติและชุมชนที่อยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาท่ีสะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานิยมและ จริยธรรมของคนในสังคมท่ีวรรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชีวิต เห็นใจความทุกขยากของ เพือ่ นมนษุ ยด ว ยกันชัดเจนข้นึ ดงั น้นั การพิจารณาวรรณคดีดานสงั คมจะตองมีเน้อื หา ภูมปิ ญญาท่ีเก่ียวกับวัฒนธรรมหรือ จริยธรรมของสงั คมใหมสี วนกระตุนจติ ใจของผอู านใหเ ขามามสี ว นชว ยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ พฒั นาสงั คมไทยรวมกัน โดยพจิ ารณาตามหวั ขอดงั นี้ 1. การแสดงออกถงึ ภมู ปิ ญ ญาและวฒั นธรรมของชาติ 2. สะทอ นภาพความเปนอยู ความเช่อื คานิยมในสังคม 3. ไดค วามรู ความบนั เทงิ เพลดิ เพลินอารมณไปพรอมกัน 4. เน้ือเรื่องและสาระใหแงคิดท้ังคุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม ยกระดับ จติ ใจเห็นแบบอยางการกระทาํ ของตัวละครทงั้ ขอดีและขอควรแกไข

83 จากการพิจารณาตามหัวขอขางตนนี้แลว การพิจารณาคุณคาวรรณคดีดานสังคมให พิจารณาโดยแบงออกได 2 ลกั ษณะใหญ ๆ ดังนี้ ดานนามธรรม ไดแก ความดี ความช่ัว คานิยม จรยิ ธรรมของคนในสังคม ฯลฯ ดา นรปู ธรรม ไดแ ก สภาพความเปน อยู วถิ ชี วี ิต การแตงกายและการกอ สรา งทางวัตถุ ฯลฯ เรอื่ งท่ี 5 เพลงพ้ืนบา น เพลงกลอ มเด็ก ความหมายของเพลงพ้ืนบาน เพลงพ้ืนบาน คือ บทเพลงท่ีเกิดจากคนในทองถ่ินตาง ๆ คิดรูปแบบการรอง การเลน เปนบทเพลงที่มีทวงทํานอง ภาษาเรียบงาย ไมซับซอน มุงความสนุกสนานรื่นเริง ใชเลนกันใน โอกาสตา ง ๆ เชน สงกรานต ตรษุ จีน ลอยกระทง การเกยี่ วขา ว นวดขา ว ลกั ษณะของเพลงพน้ื บา น เพลงพน้ื บานจะมีลกั ษณะเดน ๆ ดงั นี้ 1. สํานวนภาษาใชธรรมดาพ้ืน ๆ ไมมีบาลี สันสกฤตปน ฟงเขาใจงาย ถอยคําคมคาย อยูในตัวทําใหเ กิดความสนุกสนาน 2. มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความคมคายในการใชภาษากระทบกระเทียบเปรียบ เปรยชวนใหคดิ จากประสบการณทีพ่ บเห็นในวถิ ีชีวติ ทอ งถนิ่ 3. มีภาษาถ่ินปะปนอยูทาํ ใหส ะทอ นใหเ ห็นถงึ วิถกี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ประเพณีความเชอื่ 4. มลี ักษณะภาษาตอ งคลอ งจองกัน เชน เพลงลามะลิลา ไปเอย ไป 5. มักจะมีคาํ รองซํ้า เชน เพลงพวงมาลัย เพลงฉอ ย เปน ตน ประเภทของเพลงพ้ืนบา น แบงตามการเลน ได 2 ประเภทคอื 1. เพลงเดก็ จําแนกได 4 ประเภทคือ 1.1 เพลงรอ งเลน เชน โยกเยกเอย 1.2 เพลงหยอกเลน เชน ผมจุก ผมมา 1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใครมา น้ําตาใครไหล 1.4 เพลงประกอบการเลน เชน จํา้ จ้ีมะเขอื เปาะ

84 2. เพลงผูใหญ 2.1 เพลงกลอ มเด็ก 2.2 เพลงปฏพิ ากย เชน เพลงฉอ ย เพลงรําวง 2.3 เพลงประกอบการเลน เชน รําโทน เขา ผี 2.4 เพลงประกอบพิธี เชน ทําขวญั นาค 2.5 เพลงเกีย่ วกบั อาชีพ เชน เตนกาํ รําเคียว 2.6 เพลงแขง ขัน คณุ คา ของเพลงพื้นบา น เพลงพื้นบานมีคุณคาอยางมากท่ีสําคัญคือใหความบันเทิง สนุกสนาน มีน้ําใจ สามัคคี ในการทาํ งานชว ยเหลือกนั สะทอ นวฒั นธรรม ประเพณี วิถีชีวิต การแตง กาย เพลงกลอ มเด็ก เพลงกลอมเด็ก คอื เพลงท่ีรอ งเพ่อื กลอมเดก็ นอย ๆ เกิดความเพลิดเพลินและอบอุนใจจะ ไดห ลับงา ยและหลับสบายเปนเพลงท่มี เี นือ้ ความสน้ั ๆ รองงาย ชาวบานในอดตี รองกนั ไดเนื่องจาก ไดยินไดฟงมาตง้ั แตเกดิ คือ ไดฟ ง พอ แมรอ งกลอ มตนเอง นอง หลาน ฯลฯ โดยมีจุดประสงคเ พอ่ื 1. เพลงกลอ มเด็กมหี นาทกี่ ลอมใหเดก็ หลบั โดยตรง ดังน้นั จงึ เปนเพลงทม่ี ที ํานองฟง สบาย แสดงความรกั ใครหวงใยของผใู หญท ม่ี ตี อ เด็ก 2. เพลงกลอมเดก็ มีหนาทแ่ี อบแฝงหลายประการ การสอนภาษาเพื่อใหเด็กออกเสียงตาง ๆ ไดโ ดยการหดั เลียนเสยี ง และออกเสยี งตาง ๆ ไดเร็วขึ้น เพลงกลอมเดก็ เปน วัฒนธรรมทองถิ่นอยางหน่ึงท่ีสะทอนใหเห็นความเชื่อคานิยมของคน ในทอ งถิน่ ตาง ๆ คนทกุ ชาติทกุ ภาษาในโลกมีบทเพลงกลอมเด็กดวยกันท้ังน้ัน สันนิษฐานวาเพลง กลอมเดก็ มีววิ ฒั นาการจากการเลา นทิ านใหเด็กฟงกอนนอน ดังน้ัน เพลงกลอมเด็กบางเพลงจึงมี ลักษณะเน้ือเรื่องที่เปนเร่ืองเปนราว เชน จันทโครพ ไชยเชษฐ พระรถเสน เปนตน การท่ีตองมี เพลงกลอมเดก็ กเ็ พ่อื ใหเด็กเกิดความเพลดิ เพลิน หลบั งาย เกดิ ความอบอุนใจ ลักษณะของเพลงกลอ มเดก็ ลักษณะกลอนของเพลงกลอมเด็กจะเปนกลอนชาวบาน ไมมีแบบแผนแนนอน เพียงแตมี สัมผัสคลองจองกันบาง ถอยคําที่ใชในบางคร้ังอาจไมมีความหมายเน้ือเรื่องเก่ียวกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอ มเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับชีวิต ความเปนอยู สะทอนใหเห็นความรักความหวงใยของ แมท ี่มีตอลกู ส่งั สอน เสียดสีสังคม เปนตน สามารถแยกเปนขอ ๆ ไดด ังนี้

85 เปน บทรอยกรองสั้น ๆ มคี ําคลอ งจองตอเน่ืองกัน มฉี ันทลักษณไมแ นนอน ใชคํางาย ๆ สัน้ หรือยาวกไ็ ด มจี งั หวะในการรองและทํานองทีเ่ รียบงา ย สนุกสนานจดจําไดง าย กิจกรรมทา ยบทที่ 6 การอานวรรณกรรม กิจกรรมท่ี 6.1 วรรณกรรมประเภทรอยแกว (5 คะแนน) 1. ใหผ ูเรยี นอานหนังสือนวนิยาย เรอื่ งสน้ั ขา ว หรอื บทความ 1 เรื่อง และอานวรรณคดี เชน ขนุ ชาง ขนุ แผน รามเกยี รติ (หรือหนังสอื ทีแ่ ตง ดวยคําประพันธ) 1 เร่ือง 2. ใหผูเรียนอธิบายความแตกตางของหนังสือ 2 ประเภท พรอมท้ังยกตัวอยางประกอบ เพม่ิ เตมิ กจิ กรรมท่ี 6.2 วรรณกรรมประเภทรอ ยกรอง (5 คะแนน) ใหผูเรยี นอา นคาํ ประพันธตอ ไปนี้ พรอมทัง้ สรปุ เนอื้ หา ถึงบางพูดพูดดีเปน ศรีศักดิ์ มีคนรักรสถอ ยอรอยจิต แมพูดช่วั ตัวตายทําลายมติ ร จะชอบผิดในมนษุ ยเพราะพดู จา เปนมนษุ ยส ดุ นิยมท่ีลมปาก จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา แมพ ูดดีมคี นเขาเมตตา จะพดู จาจงพเิ คราะหใ หเหมาะความ อันออยตาลหวานลนิ้ แลวสิน้ ซาก แตล มปากหวานหมู ิรูห าย แมเจบ็ อ่ืนหมนื่ แสนจะแคลนคลาย เจบ็ จนตายนนั่ เพราะเหน็บใหเจ็บใจ

86 บทท่ี 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี ภาษาไทยมีคุณคา และความสําคัญมากมายหลายประการ อาทิ มีคุณคาทางวัฒนธรรม คุณคาดานการติดตอสื่อสาร เพื่อการแสวงหาความรู เพ่ือการเขาใจอันดีตอกัน สรางความเปน เอกภาพของคนในชาติ เปนเครื่องจรรโลงใจ และเปนเครื่องมือเปนชองทางในการประกอบอาชีพ ซึ่งปจจุบันอาชีพที่ใชทักษะภาษาไทยดานการพูด และการเขียนเปนพื้นฐาน เปนอาชีพท่ีสราง ความมน่ั คงของชวี ติ อีกทางหน่ึง ซงึ่ มชี อ งทางและอาชีพ ดงั นี้ เรอื่ งท่ี 1 อาชีพทใี่ ชท กั ษะการพูดเปนชอ งทางในการประกอบอาชพี การพูดเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหน่ึงท่ีตองอาศัยวรรณศิลป คือ ศิลปะการใชภาษา ท่ีจะสามารถโนมนาวใจ กอใหเกิดความนาเชื่อถือ เห็นคลอยตาม สรางสัมพันธภาพท่ีดีระหวาง ผูพูดและผูฟง หรือโนมนาวใจใหใชบริการหรือซื้อส่ิงอุปโภคบริโภคในทางธุรกิจได การพูดจงึ เปนชองทางนาํ ไปสูอ าชีพตาง ๆ ไดดงั นี้ 1.1 อาชีพดานส่ือสารมวลชนทกุ รูปแบบ ทงั้ ในวงราชการ เอกชน และวงการ ธรุ กิจ ไดแ ก 1.1.1 อาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังการโฆษณาสินคาและบริการ โฆษณา การจัดงานตา ง ๆ ของชมุ ชน หนวยงานราชการ โดยใชรถประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธ ผานเสียงตามสาย โดยการพบปะติดตอ ตอบคําถามตางๆ เปนข้ันตน และในข้ันที่สูงข้ึนไป คือ การใชทักษะการพูดและเขียนประกอบกันเพ่ือคิดหาถอยคําในเชิงสรางสรรคในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธผา นสือ่ ตา ง ๆ ทีเ่ รยี กวาการโฆษณาสินคา และบริการ 1.1.2 อาชพี นกั จัดรายการวิทยุ เปนอีกอาชีพหน่ึงที่ตองใชทักษะในการพูด การมี โวหาร และวาจาคารมที่คมคาย ลึกซ้ึงกินใจ เพ่ือใหผูฟงติดตามรายการอยางตอเนื่องดวยความ นยิ ม มีท้ังนักจดั รายการวิทยุชมุ ชน วทิ ยเุ อกชน และรายการวิทยุของทางราชการ ตลอดจนการใช ภาษาพูดเพ่อื สรางความเปน นํา้ หนึ่งใจเดยี วกนั ของผฟู ง เชน นกั จดั รายการวิทยุของทางราชการ 1.1.3 อาชีพพิธีกร ในปจจุบันอาชีพพิธีกรเปนอีกอาชีพหนึ่งท่ีสามารถทํารายได อยางดีใหแกผูประกอบอาชีพ ไมวาจะเปนพิธีกรในชุมชนท่ีทําหนาท่ีในงานของราชการและงาน ของเอกชน เชน พิธีกรรงานประจําปตาง ๆ พิธีกรการประกวดนางงามของทองถิ่น พิธีกรงาน

87 ประเพณี สําคัญทางศาสนา พิธีกรงานมงคลสมรส พิธีกรงานอุปสมบท พิธีกรงานศพหรืองาน พระราชทานเพลงิ ศพ และพิธีกรงานพิเศษในโอกาสตา ง ๆ ของทางราชการ เรือ่ งที่ 2 อาชีพทใ่ี ชทักษะการเขียนเปน ชองทางกับการประกอบอาชีพ การเขยี นเปนทักษะสาํ คญั อีกทักษะหน่ึงที่เปนชองทางในการนําภาษาไทยไปใชประโยชนใน การประกอบอาชพี ตาง ๆ ได การจะใชภาษาเขียนเพ่ือประโยชนในการประกอบอาชีพก็เชนเดียวกับ การพูด คือ ตองมีวรรณศิลปของภาษา เพื่อใหสิ่งที่เขียนสามารถดึงดูดความสนใจดึง อารมณความรสู กึ รวมของผอู าน โนม นาวใจใหผูอานเห็นคลอยตาม และเพ่ือสรางความบันเทิงใจ รวมทั้งสรางความรูความเขาใจแกผูอาน ตลอดถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสวนรวม อาชีพที่สามารถนําทักษะการเขียนภาษาไทยไปใชเพื่อการประกอบอาชีพไดโดยตรง ไดแก อาชีพดังน้ี 2.1 อาชีพดานส่ือสารมวลชนทุกรูปแบบ ทั้งในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ไดแก อาชพี ดงั นี้ 2.1.1 อาชีพผูส่ือขาว ผูเขียนขาว เปนอาชีพที่ตองใชศิลปะการเขียนและการใช ภาษาทดี่ ึงดูดความสนใจของผอู าน 2.1.2 อาชพี ผพู ิสูจนอักษรและบรรณาธิการ เปนอาชีพที่ตองมีความรูในการเขียน การสะกดคาํ การใชถ อยคาํ สาํ นวนภาษา สุภาษิต คําพังเพยและหลักภาษาไทยเปนอยางดี จัดได วาเปน อาชีพทชี่ วยธาํ รงรักษาภาษาไทยไดอาชพี หนง่ึ 2.2 อาชีพดานการสรางสรรคงานศิลปะรูปแบบตาง ๆ ทั้งในวงราชการ เอกชน และ วงการธรุ กจิ ไดแกอาชีพ ดงั น้ี 2.2.1 อาชพี กวี นกั เขียน ทั้งการเขียนสารคดี นวนิยาย เร่อื งสั้น การเขียนบทละคร เวที บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร ผูประกอบอาชีพเหลานี้ นอกจากมีศิลปะการเขียน และ การเลือกใชถอ ยคาํ ภาษามาใชเ ปนอยางดีตอ งเปน คนที่อา นมาก ฟงมาก เพื่อนําขอมูลท่ีไดรับไปใช ประโยชนใ นการเขยี นสื่อสารสรางความสนุกสนาน บันเทิงใจ จรรโลงใจแกผูอานและควรเปนผูมี ความคิดริเร่ิมสรางสรรค และจินตนาการเปนองคประกอบ จึงจะทําใหอาชีพที่ประกอบประสบ ความสําเร็จดว ยดี นอกเหนือจากอาชีพทีใ่ ชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแลว ยังมีการประกอบอาชีพอื่น ๆ อีกที่ใชภาษาไทยเปนชองทางโดยออม เพื่อนําไปสู ความสําเร็จในอาชีพของตนเอง เชน อาชีพลา ม มัคคเุ ทศก เลขานกุ าร นักแปล และนัก ฝก อบรม ครู อาจารย เปนตน

88 เร่อื งท่ี 3 การเพ่ิมพนู ความรูและประสบการณทางดา นภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชพี ในการนาํ ความรทู างภาษาไทย ทั้งทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชีพ นน้ั เพียงการศกึ ษาในชัน้ เรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชีพตองเพ่ิมพูนความรู และประสบการณดา นภาษาและดา นตาง ๆ เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ ดังจะ ยกตวั อยา งอาชพี ทใี่ ชภ าษาไทยเปน ชอ งทางในการประกอบอาชพี โดยตรงเพื่อเปนตัวอยา ง ดงั นี้ 1. อาชพี นักโฆษณา - ประชาสัมพนั ธ เปนอาชีพท่ีผูประกอบการ ตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการ พูดแบบสรางสรรค รวมท้ังฝกประสบการณโดยการฝกเขียนบอย ๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของ หนว ยงาน หรือบริษัทเอกชนท่ปี ระสบความสําเร็จในเร่ืองของการโฆษณาและประชาสัมพนั ธ องคความรทู ค่ี วรศกึ ษาเพิม่ เตมิ ในการเพิ่มพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชีพดานน้ี ควรศึกษา เนอ้ื หาความรูที่จะนาํ ไปใชในการพฒั นาอาชีพในเรือ่ งตอ ไปน้ี 1) ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธเปนอาชีพ ที่ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดานประกอบกัน ในการพูดน้ําเสียงตองนุมนวลหรือเราใจข้ึนอยูกับ สถานการณของเร่ืองที่จะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ รูจักเลือกใชถอยคําที่เปนการใหเกียรติแก ผูฟ ง หรอื เคารพขอมูลท่ีเจา ของงานใหมา 2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเร่ืองของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสื่อสารและผูรับสาร ซ่งึ กลุมบุคคลในสังคมแบง ออกเปน หลายกลมุ หลายชนชั้นตามสภาพอาชีพถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษา จึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนท่ีใชภาษา เชน ถอยคําท่ีใชกับพระภิกษุสงฆและ พระราชวงศ อาจใชถ อยคําอยางหนึง่ ภาษาของนกั เขยี นหรือกวที สี่ อื่ สารถึงผูอ าน ก็อาจจะใชภาษาอีก อยางหน่ึง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสมและเลือกใชใหถูกตองเหมาะสม กบั กาลเทศะและบุคคล ในภาษาไทย จะแบงระดบั ของภาษาเปน 5 ระดบั คือ 2.1) ภาษาระดับพธิ กี าร เปน ภาษาท่ีใชใ นงานพระราชพธิ หี รืองานพิธขี องรัฐ

89 2.2) ภาษาระดับทางการ เปนภาษาท่ีใชในท่ีประชุมที่มีแบบแผนการบรรยาย การอภปิ รายที่เปนทางการ เปนตน 2.3) ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพดู ทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนงั สอื พมิ พ 2.4) ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาท่ีใชสนทนาท่ัว ๆ ไป กับคนที่ไมคุนเคย มากนัก เชน ครูพูดกับผเู รียน เปน ตน 2.5) ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา ของครอบครวั ในหมเู พือ่ นสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยใู นวงจาํ กดั 3) เรื่องของนา้ํ เสยี งในภาษา ซึง่ เปน เร่ืองทเี่ ก่ยี วกบั อารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฏในการส่อื สาร ซง่ึ นักโฆษณาประชาสมั พันธตองระมัดระวงั มใิ หม ีนํา้ เสยี งของภาษาออกมา ในทางท่ไี มพ ึงประสงค หรอื สรางความรูส กึ ท่ไี มด ีแกผูฟง 4) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางคร้ังนักโฆษณา - ประชาสัมพันธตองปรากฏตัวตอ บคุ คลทัว่ ไปในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานท่ี และงานทวั่ ไป ซงึ่ จะชวยสรางความนา เชื่อถอื แกผ ูพ บเห็นไดสว นหน่ึง 5) การพฒั นาองคความรูในตนเอง นักโฆษณา - ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู ติดตามขาวสารขอมูลทุกดานอยางสมํ่าเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการ โฆษณา - ประชาสัมพันธใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมท้ังตองแสวงหาความรูในดานการ ประเมินผล เพื่อใชประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการ ตาง ๆ ทจ่ี ะกอใหเกิดการพฒั นาอาชีพใหด ียงิ่ ขึน้ 2. อาชพี นกั จดั รายการวิทยุ เปนอาชีพที่ผูประกอบการตองเปนคนที่ตรงตอเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความ เปนกลางในการนําเสนอขาวสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนาและตองเพิ่มพูนความรูในเรื่อง การเขียน และการพูด เพราะการเปนนักจัดรายการวิทยุ ผูจัดตองเขียนสคริปตที่จะใชในการ ดําเนินรายการไดเอง และพูดตามสคริปตไดอยางเปนธรรมชาติ รวมทั้งตองอานมาก ฟงมาก เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลไวใชในการจัดทํารายการวิทยุ ซึ่งมีสถานที่ที่ผูประกอบการสามารถ ฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของภาครฐั และเอกชน

90 องคค วามรูที่ควรศึกษาเพ่มิ เติม ในการเพิ่มพูนความรูเพอ่ื การเปนนักจัดรายการวิทยุท่ีดี ผูประกอบอาชีพดานน้ีควรศึกษา เนอ้ื หาความรทู ี่จะนาํ มาใชใ นการพฒั นาอาชีพในเร่อื งตอ ไปนี้ 1) ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะเปนอาชีพท่ีตองอาศัยศาสตรท้ังสองดาน ประกอบกนั 2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเร่ืองของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและ ผูรับสาร ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นท่ีอยู อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับ พระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใชถอ ยคําภาษาอยางหน่ึง ภาษาของนักเขียนหรือกวีท่ีสื่อสาร ถึงผูอาน ก็จะใชภาษาอีกอยางหน่ึง เปนตน ดังนั้นผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสมและ เลอื กใชใ หถ ูกตองเหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล ในภาษาไทยจะแบงระดบั ของภาษาเปน 5 ระดบั คือ 2.1 ภาษาระดับพธิ ีการ เปน ภาษาทใี่ ชใ นงานพระราชพธิ ี หรอื งานพธิ ีของรฐั 2.2 ภาษาระดับทางการ เปน ภาษาทใ่ี ชใ นที่ประชุมทีม่ ีแบบแผน ในการบรรยาย การอภปิ รายทเ่ี ปนทางการ เปน ตน 2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาทใ่ี ชใ นการอภิปราย ประชมุ กลุม ในหอ งเรียน การพูดทางวิทยแุ ละโทรทัศน ขา ว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน 2.4 ภาษาระดับสนทนาทว่ั ไป เปนภาษาท่ีใชสนทนาท่ัว ๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนัก เชน ครพู ูดกบั ผูเรียน เปน ตน 2.5 ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับท่ีเรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของ ครอบครัว ในหมเู พอื่ นสนทิ หรอื ญาติพ่นี อง พดู อยใู นวงจาํ กดั 3) เร่ืองของนํ้าเสียงในภาษา ซ่ึงเปนเร่ืองท่ีเก่ียวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารท่ีปรากฏ ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเน้ือหาท่ีผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฏในการส่ือสาร ซ่ึงนักจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมาในทาง ทไี่ มพงึ ประสงค หรอื สรา งความรูสึกทไ่ี มด ีแกผ ูฟง 4) เร่ืองของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามท่ีเก่ียวกับบุคคล คําลักษณะนาม คําราชาศพั ท การออกเสียง ร ล และการออกเสยี งคาํ ควบกลํ้า

91 5) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางคร้ังนักจัดรายการวิทยุตองปรากฏตัวตอบุคคลท่ัวไป ในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานท่ีและงานที่ไป ซงึ่ จะชวยสรางความนา เชอ่ื ถอื แกผ ูพบเห็นไดสว นหนึ่ง 6) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักจัดรายการวิทยุ ตองหม่ันแสวงหาความรูติดตาม ขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุ ใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพื่อใชประโยชน ในการประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนา อาชพี ใหด ีย่งิ ขน้ึ 3. อาชพี พิธีกร เปนอาชีพที่ผูประกอบอาชีพตองมีพื้นฐานความรูในเรื่องการพูดเปนอยางดี เพราะเปน อาชพี ทีต่ องใชการพูดเปนเครื่องมือในการส่ือสารกับผูอ่ืน การใชคําพูดและถอยคําภาษาจึงเปนเร่ือง สาํ คัญตอ การสรางความรูสึกที่ดีหรือไมดีตอผูฟง นอกจากน้ีบุคลิกภาพและการแตงกายของผูทําหนาที่ พธิ กี รกเ็ ปน อีกเรอ่ื งหน่งึ ท่จี ะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมท้ังควรเปนผูท่ีตรงตอเวลา เพื่อเปนความ เชื่อถือในวชิ าชพี ไดส ว นหน่ึง องคความรทู ค่ี วรศึกษาเพิ่มเติม ในการเพิม่ พนู องคความรใู นการประกอบอาชีพพธิ กี ร ควรศึกษาเน้อื หาความรูที่จะนําไปใช ในการพัฒนาอาชพี ในเร่อื งตอ ไปนี้ 1. ศลิ ปะการพดู หรอื ศลิ ปะการใชภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองอาศัยศาสตร (ความรู) และศลิ ปข องการพูดเปนอยางมาก ซ่ึงตอ งอาศยั การฝก ฝนบอย ๆ 2. ระดับของภาษา ซ่ึงเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคําท่ีใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร ซึง่ กลุม บุคคลในสังคมแบง ออกเปน หลายกลมุ หลายชนช้ัน ตามสภาพอาชีพ ถน่ิ ท่ีอยอู าศยั ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนท่ีใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและ พระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหน่ึง ภาษาของนักเขียนหรือกวีท่ีส่ือสารถึงผูอาน ก็จะใช ภาษาอีกอยางหนึ่ง เปนตน ดังน้ันผูใชภาษาจึงตองคํานึงถึงความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตอง เหมาะสม กบั กาลเทศะและบคุ คล

92 ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดบั คอื 2.1 ภาษาระดบั พธิ กี าร เปน ภาษาท่ใี ชในงานพระราชพิธี หรืองานพธิ ขี องรฐั 2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษท่ีใชในที่ประชุมท่ีมีแบบแผน ในการบรรยาย การอภปิ รายที่เปน ทางการ เปน ตน 2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพูดทางวทิ ยุและโทรทศั น ขาว และบทความในหนังสือพมิ พ เปนตน 2.4 ภาษาระดับสนทนาท่ัวไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนัก เชน ครพู ูดกบั ผเู รียน เปนตน 2.5 ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของ ครอบครัว ในหมูเพอ่ื นสนทิ หรือญาติพ่ีนอ งพูดอยใู นวงจํากดั 3. เรอื่ งของน้ําเสียงในภาษา ซ่ึงเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกของผูสงสารท่ีปรากฏ ใหร สู ึก หรอื เปนรองรอยในภาษา หรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมา เปนความรูสึกแฝง ท่ีปรากฏในการสือ่ สาร 4. เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คาํ ราชาศัพท การออกเสยี ง ร ล และการออกเสยี งคําควบกล้ํา 5. เร่ืองของการพัฒนาบุคลิกภาพและการแตงกาย ผูทําหนาท่ีพิธีกร เปนผูท่ีตองปรากฏ กายตอหนาคนจาํ นวนมาก บคุ ลิกภาพและการแตง กาย จึงเปนเร่ืองสําคัญที่จะปรากฏเปนส่ิงแรก ใหผูที่พบเห็นเกิดความประทับใจหรือไม ถาประทับใจผูคนจะจดจอรอฟงการพูดเปนประการ ตอมา ถา ผพู ดู สามารถพดู ไดประทับใจ จะกอเกิดเปนความนิยมชมชอบตามมาและจะกอเกิดเปน ความสําเร็จของอาชพี ในท่ีสดุ 6. ดานการพัฒนาองคความรูในตนเอง พิธีกรตองหมั่นแสวงหาความรูท่ีเกี่ยวของกับการ ประกออาชพี เพือ่ นําไปสูการพัฒนาอาชีพของตนเอง เชน เรื่องของการวัดผลประเมินผลการทํา หนาทีข่ องตนเองดวยรปู แบบวธิ กี ารตา ง ๆ ซงึ่ จะกอใหเ กดิ การพฒั นาอาชพี ใหด ยี ิ่งข้ึน

93 กิจกรรมทา ยบทที่ 7การพดู อธิบาย (10 คะแนน) กจิ กรรมที่ 7.1 อาชีพท่อี าศยั การพูดในการประกอบอาชีพ ครใู หผ ูเรยี นอธิบายอาชีพทตี่ อ งอาศัย “การพดู ” ในการประกอบอาชีพ กจิ กรรมท่ี 7.2 อาชพี ทีต่ องอาศยั การเขยี นในการประกอบอาชีพ ครูใหผเู รียนอธิบายอาชีพทต่ี อ งอาศัย “การเรยี น” ในการประกอบอาชีพ

94 เฉลยกจิ กรรมทา ยบท กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การอา นบทความ (10 คะแนน) ใหผ เู รียนอา นบทความขา งลางนี้ และสรุปเนื้อหาใจความสําคัญของเร่ือง และบอกประโยชนที่ได จากบทความนี้ แนวคาํ ตอบ 1. อานถูกตอ ง ชดั เจน 2. สรปุ ลาํ ดับ เน้ือหา เหตุการณ ไดเปน ข้ันเปนตอน 3. แยกแยะบทความวาตอนใดมคี วามสําคญั 4. ตอนใดเปนสว นขยายได 5. วเิ คราะห/ วิจารณบ ทความนน้ั ได เกณฑก ารใหค ะแนน 1. ผเู รยี นอานถูกตอง สรปุ เนื้อไดใจความตรงประเดน็ เพยี งอยา งเดียวได (3 คะแนน) 2. ผูเรียนอานถูกตอง สรุปเนื้อไดใจความตามประเด็น สามารถแยกแยะใจความสําคัญของ เน้ือหาได 5 คะแนน 3. ผูเรียนอา นถูกตอ ง ชดั เจน สรุปเนอ้ื ไดใจความ สามารถแยกแยะใจความสําคัญของเน้ือหา ได บอกไดวาประโยคใดขยายความ และสามารถวเิ คราะหเนือ้ เรอ่ื งนั้นไดต รงประเด็น (10 คะแนน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook