Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษาพลศึกษา ทช 31002

สุขศึกษาพลศึกษา ทช 31002

Published by Patong. CLC., 2020-04-20 23:46:30

Description: หนังสือเรียนวิชาสุขศึกษาพลศึกษา ทช 31002 เล่มนี้สำหรับเป็นแหล่งค้นคว้าหลักในการจัดกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้าหาคำตอบ ในการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

44 เรื่องที่ 1 การรวมกลุมเพอ่ื เสรมิ สรางสขุ ภาพ การดูแลรักษาและเสริมสรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตของแตละบุคคลเปนสิ่งสําคัญ ทคี่ วรปฏิบัตใิ หเปนกิจนิสัย โดยปฏิบัติใหครอบคลุมทุกองคประกอบท่ีสําคัญ ไดแก การเลือก บรโิ ภคอาหารใหถูกหลักโภชนาการ การพักผอนใหเพียงพอและออกกําลังกายสมํ่าเสมอ เปน ตน ท้ังน้ีหากปฏิบัติไดอยางครบถวนถูกตอง เหมาะสมกับสภาพความพรอมของรางกายและ สอดคลองกับวถิ ชี ีวิตยอมกอใหเ กิดความสมดุล สามารถดําเนนิ ชีวิตไดอยางมคี วามสขุ การดูแลรักษาสุขภาพของตนเองเพียงอยางเดียวคงไมเพียงพอ หากบุคคลใน ครอบครัวมีปญ หาสุขภาพยอมสง ผลกระทบตอ การดําเนินชีวิตของทุกคน เชน เกิดภาวะในการ ดูแลภาระคาใชจายในการรักษา ฟนฟูสุขภาพ เปนตน ทั้งน้ีจึงควรสงเสริมใหสมาชิกใน ครอบครวั และเพ่ือนสมาชิกในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพอยาง ถกู วธิ ี ตลอดจนเชิญชวน รวมกลมุ กันปฏิบัติกิจกรรมสงเสริมสุขภาพตาง ๆ ขึ้นในชุมชน อันจะ เปนการเสริมสรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตและความสัมพันธอันดีตอกัน ซ่ึงกิจกรรมที่จะ กอใหเกดิ การรวมกลุมเพ่ือเสริมสรางสุขภาพ เชน กลุมเตนแอโรบิก ทองเท่ียว กีฬาประเภท ตา ง ๆ ทาํ บุญไหวพ ระ เปนตน การประเมนิ สภาวะสุขภาพของตนเองและครอบครัว การประเมินภาวะสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว สามารถกระทําไดโดยใช แบบประเมินเคร่ืองชี้วัดคุณภาพชีวิตขององคการอนามัยโลกชุดยอ ฉบับภาษาไทย ซ่ึงมี องคป ระกอบ ดงั นี้ 1. ดา นรางกาย (Physical domain) คอื การรับรสู ภาพทางดา นรา งกายของบคุ คล ซ่ึงมีผลตอชีวิตประจําวัน เชน การรับรูสภาพความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย การรับรูถึง ความรสู ึกสุขสบายไมม ีความเจ็บปวด การรบั รถู ึงความสามารถที่จะจัดการกับการเจ็บปวดทาง รา งกาย การรับรวู าตนไมต อ งพึ่งยาตา ง ๆ หรือการรักษาทางการแพทย 2. ดานจิตใจ (Psychological) คือ การรับรูสภาพทางจิตใจของตนเอง เชน การรับรู ความรสู กึ ทางบวกทบี่ ุคคลมตี อ ตนเอง ภาพลกั ษณข องตนเอง การรับรูของความรูสึกภาคภูมิใจ ในตนเอง ความม่ันใจในตนเอง การรับรูถึงความคิด ความจํา สมาธิ การตัดสินใจ และ ความสามารถในการเรยี นรูเ รอื่ งราวตาง ๆ การรบั รูถงึ ความสามารถในการจัดการกับความเศรา หรือความกังวลการรับรูเกี่ยวกับความเช่ือตาง ๆ ของตนท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิต เชน ความ

45 เชอ่ื ดา นวญิ ญาณศาสนา การใหค วามหมายของชวี ิตและความเชื่ออื่น ๆ ท่ีมีผลทางท่ีดีตอการ ดําเนนิ ชีวิต มผี ลตอ การเอาชนะอุปสรรค 3. ดา นสมั พนั ธภาพทางสงั คม (Social relationships) คอื การรบั รูเรือ่ งความสัมพันธของตน กับบคุ คลอนื่ การรับรูถึงการท่ีไดร ับความชว ยเหลือจากบุคคลอื่นในสังคม การรับรูวาตนไดเปน ผูใหความชว ยเหลือบคุ คลอืน่ ในสังคมดวย รวมทั้งการรับรูในเร่ืองอารมณ ทางเพศ หรือการมี เพศสมั พันธ 4. ดานส่ิงแวดลอม (Environment) คือ การรับรูเก่ียวกับสิ่งแวดลอมท่ีมีผลตอการ ดาํ เนินชีวติ เชน การรับรูวาตนมีชีวิตอยูอยางอิสระ ไมถูกกักขัง มีความปลอดภัยและมั่นคงใน ชี วิ ต ก า ร รั บ รู ว า อ ยู ใ น ส่ิ ง แ ว ด ล อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ที่ ดี ป ร า ศ จ า ก ม ล พิ ษ ต า ง ๆ การคมนาคมสะดวกสถานบรกิ ารทางสุขภาพ และสงั คมสงเคราะห การรบั รูวาตนเองมีโอกาสที่ จะไดรับขาวสารหรือการฝกฝนทักษะตาง ๆ การรับรูวาตนไดมีกิจกรรมนันทนาการ และมี กจิ กรรมในเวลาวาง การวางแผนพัฒนาและเสริมสรา งสขุ ภาพของตนเองและครอบครัว การวางแผนพฒั นาสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั นน้ั ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. การวางแผนพัฒนาสขุ ภาพกาย 1.1 ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ปฏิบัติอยางนอย 2-3 ตอสัปดาห แตละครั้งใชเวลาใน การออกกําลังกายไมนอยกวา 30 นาที ใหปฏิบัติตามหลักของการออกกําลังกาย และตาม ความสามารถของบุคคล ตามวัย ตามความเหมาะสม ทั้งเวลา สถานท่ี เพศ วัย การออก กําลงั กายจะชวยใหเ กิดประโยชนตอ การทํางานของระบบตาง ๆ ในรา งกาย 1.2. รบั ประทานอาหารตองใหครบ 5 หมูและเหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะวัยท่ีกําลัง เติบโตมีการพัฒนาทางรางกาย ควรรับประทานอาหารใหเพียงพอ เชน วัยรุนยังอยูในวัยของ การเจริญเตบิ โตและตองออกกําลังกาย เสียพลังงาน จึงตองชดเชยดวย คารโบไฮเดรต สราง เสรมิ การเจรญิ เติบโตดว ยอาหารประเภทโปรตนี 1.3. พักผอนใหเ พียงพอ วยั เดก็ ตอ งพักผอนนอนหลับใหมาก ๆ ในวยั ผูใหญอาจนอนน อยลง แตตองไมนอ ยเกินกวา 6-8 ชั่วโมง และชว งของการนอนหลบั ใหหลับสนิทเพ่ือใหการหลั่ง ของสารแหง ความสุขไปอยางเต็มที่ ใชเวลาวางในวันหยุดทํากิจกรรมหรือไปเที่ยวพักผอนรวม กบั ครอบครวั เพื่อผอ นคลายและสรา งสัมพันธภาพในครอบครวั

46 1.4. ตรวจสขุ ภาพรา งกายอยา งนอยปล ะ 1คร้ัง และในการตรวจสขุ ภาพรา งกาย ตองตรวจทกุ ระบบอยา งละเอียด 1.5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอรางกาย โดยเฉพาะพฤติกรรมเส่ียงท่ีกอใหเกิด อนั ตรายตอตนเอง เชน การสูบบหุ ร่ี การด่ืมเครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล การสําสอนทางเพศ ตลอดจน การทดลองหรอื ใกลชดิ กับผูท ่ตี ดิ สารเสพติด เปน ตน 1.6. อยใู นส่งิ แวดลอมท่ีดี ซ่ึงเราสามารถหลีกเล่ียง หรือเลือกท่ีจะอยูในบริเวณที่มีสิ่ง แวดลอ มทีด่ ีได เพราะสง่ิ แวดลอ มมผี ลกระทบตอ สขุ ภาพ การมที ่อี ยูอาศยั ที่ปราศจากพาหะ นาํ โรค 2. การวางแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ 2.1 อานหนังสือที่ชวยใหรูสึกผอนคลาย จิตใจสงบ เชน หนังสือธรรมะ เพื่อใหได แนวคดิ ในการดําเนนิ ชีวติ ทีถ่ กู ตอ งรูสึกสบายใจ 2.2 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมคําสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ เพ่ือปองกันการเกิด ปญหาท่ีสง ผลกระทบตอ จิตใจ 2.3 หม่ันนั่งสมาธิ เจริญปญญาเพื่อใหจิตใจผองใส มีสติในการดําเนินชีวิต สามารถ ควบคุมอารมณของตนเองได 3. การวางแผนพัฒนาสุขภาพดานสงั คม 3.1 เขารวมกิจกรรมตามวัฒนธรรมและประเพณีในทองถ่ินอยูเสมอ หรือกิจกรรม อาสาสมคั รของชมุ ชนเพ่ือสรา งสมั พันธภาพกบั คนในชมุ ชน สามารถปรับตัว ใชชีวิตรวมกับผูอื่น ได 3.2 เขารวมเปนสมาชิกของชมรมหรือสมาคมตาง ๆ เพื่อใหรูจักการเปนผูให การเสยี สละเพือ่ สวนรวมไมเ อาเปรียบผูอนื่ เปน การใชช ีวิตอยา งมคี ุณคา 4. การวางแผนพัฒนาสุขภาพดานปญ ญา 4.1 ฝกทักษะการคิดวิเคราะห หาสาเหตุของปญหาจากขาวหรือสถานการณสําคัญ ของสงั คม รวมทง้ั ผลกระทบท่ตี ามมาเพือ่ ฝก การคิดและนําไปปรับใชในการแกปญหาชีวิตของ ตนเองหรือของครอบครัว 4.2 หมั่นฝกฝนทักษะการอานการฟง การพูด อยูเสมอ เชน การอานหนังสือ ภาษาตางประเทศ ฟงเพลงสากล ฝกพูดภาษาตางประเทศที่ตนสนใจ เพ่ือเพ่ิมพูนความรู เสริมปญ ญาใหก บั ตนเอง และเปนประโยชนในการประกอบอาชพี ในอนาคต

47 4.3 ศึกษาความกา วหนา ทางเทคโนโลยีทีท่ ันสมยั เพอ่ื ใหมคี วามรู สามารถใชเครื่องมือ หรอื อุปกรณเทคโนโลยที ่ที ันสมยั ได การมีสวนรวมในกจิ กรรมพัฒนาสุขภาพของชมุ ชน การมีสวนรวมในกิจกรรมสรางเสริมสขุ ภาพของบคุ คลในชุมชน คือ การรวมกจิ กรรม ทเ่ี ออื้ อาํ นวยใหผ ูค นในชุมชนมกี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่ดี ยกตัวอยา งเชน 1. กจิ กรรมดา นการสรางเสรมิ สุขภาพ ไดแก การดูแลรกั ษาสุขภาพ การออกกาํ ลังกาย การเฝา ระวังปญ หาสารเสพตดิ ในชุมชน การดาํ เนินโครงการอาหารปลอดภัย การสงเสริมพัฒนาการ และดูแลการไดรับวัคซีนในเด็กอายุต่ํากวา 6 ป การตรวจสุขภาพตนเองในเบื้องตน การใช อนิ ทรสี ารและการทําเกษตรอินทรีย 2. กิจกรรมดานการเขา รับบริการสุขภาพของประชาชน ไดแ ก การรบั การบริการสุขภาพ จากศูนยสุขภาพชุมชนหรือสถานีอนามัย เชน การทําบัตรทอง การรับการตรวจวัดความดัน เลอื ด การฝากครรภ 3. กิจกรรมดานการเขารับการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครเพื่อพัฒนาสุขภาพในชุมชน ไดแ ก การเขา รบั อบรมความรู การเขา รวมประชุมกลุม หรือการจัดเวทีเรียนรู การรับฟงความรู ผา นทางหอกระจายขาว 4. กจิ กรรมดา นการใหความรว มมอื ในการควบคุมและปอ งกนั โรค ไดแก การไม สูบบุหร่ี การปองกันอุบัติเหตุ การปองกันการแพพิษ สารเคมี การรวมรณรงคปองกันโรคตามฤดูกาล เชน โรคไขเลอื ดออก ไขห วัดนก อุจจาระรวง ไขฉ่หี นู 5. กิจกรรมดานการใหความรวมมอื ในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานดานสุขภาพในชุมชน ไดแก การมีสวนรว มในการวางแผนหรือรวมกจิ กรรมสาธารณสุขในชุมชนตนเอง และสนับสนุน การจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจากองคกรชุมชนทองถ่ิน เขารวมกิจกรรมสรางสุขภาพโดยใช ทรัพยากรชุมชนเปนหลัก มีสวนรวมดําเนินงานกับหนวยราชการหรือองคกรที่เก่ียวของ เพื่อการจัดกิจกรรมสงเสริมคณุ ภาพ ปองกนั โรค สรางความเขม แข็งใหชุมชน เรอ่ื งท่ี 2 การออกกําลงั กายเพื่อสุขภาพ การออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพมีหลักปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ความหนกั ควรออกกําลังกายใหหนักถึงรอยละ 70 ของการเตนสูงสุดของหัวใจโดย คํานวณไดจากคามาตรฐานเทากับ 170 ลบดวยอายุของตนเอง คาที่ไดคืออัตราการเตนของ

48 หัวใจคงที่ที่เหมาะสม ท่ีตองรักษาระดับการเตนของหัวใจน้ีไวชวงระยะเวลาหน่ึงท่ีออกกําลัง กาย 2. ความนาน ตอเนอื่ งนานอยางนอ ย 20 นาทีขนึ้ ไปตอ ครั้ง 3. ระยะผอนคลายรางกายหลังฝก ประมาณ 5 นาที เพื่อยืดเหยียดกลามเน้ือและความ ออ นตวั ของขอตอ รวมระยะเวลาทีอ่ อกกาํ ลังกายติดตอ กนั ท้งั ส้ิน อยา งนอ ย 20 - 30 นาที รปู แบบและวิธีการออกกําลังกายเพอ่ื สุขภาพ 1. การเดิน เปน การออกกําลังกายท่ีงา ยและสะดวกทส่ี ดุ แตใหประโยชนและสรางเสริม สมรรถภาพทางกายไมแพก ารออกกําลงั กายและการเลนกีฬาชนิดอ่ืน ๆ การเดินสามารถทําได ทุกเวลาและสถานที่ วิธกี ารเดินทคี่ วรรแู ละปฏิบตั ิตาม ดังนี้ 1.1 ควรเร่มิ จากทา ยืนกอน ปลอ ยตัวตามสบาย และหายใจปกติ 1.2 ขณะเดินใหเ งยหนาและมองตรงไปใหไกลที่สุด เพราะหากเดินกมหนาจะทําให ปวดคอและปวดหลงั ได 1.3 เดนิ ใหเต็มเทาโดยเหยยี บใหเต็มฝาเทา แลว ยกเทา ขนึ้ ใหห วั แมเทายกขึ้นจากพื้น เปนสว นสุดทา ย 1.4 ในการเดินควรเร่ิมตนจากเดินชา ๆ กอนประมาณ 5 นาที แลวจึงคอย ๆ เพมิ่ ความเรว็ จนหัวใจ เตนถงึ อัตราสูงสุดของมาตรฐาน คือ 200 ครั้ง/นาที สําหรับผูท่ีเริ่มออก กําลงั กายอาจเรมิ่ เดินคร้งั ละ 10 นาที หรือจนกวาจะรูสึกหอบเหน่ือยเล็กนอย เวนไป 1–2 วัน แลวคอย ๆ เพ่ิมเวลาเดินแตละครั้งจนสามารถเดินติดตอกันไดอยางนอย 30 นาที โดยเดิน สปั ดาหละ 3–5 คร้ัง 1.5 ขณะเดินมือทั้ง 2 ขาง ควรปลอยตามสบายและเหว่ียงแขนไปท้ังแขนเพ่ือเพิ่ม แรงสง ถาหากเดินแลวหัวใจยงั เตน ไมเ ร็วพอ ใหเ พม่ิ ความเร็วในการเดนิ หรือแกวงแขนขาใหแรง ขึ้น ซง่ึ จะชวยเพิม่ อัตราการเตน ของหวั ใจใหเ รว็ ขึ้นได 1.6 รองเทาใชใสเดินควรเปนรองเทาท่ีมีพื้นกันกระแทกท่ีสนเทาและหัวแมเทา สามารถรองรับนาํ้ หนกั ไดเปน อยา งดเี พื่อปองกันการบาดเจ็บท่เี ทา 2 . การวิ่ง เปน การออกกําลงั กายท่คี นนิยมกันมากซึ่งงายและสะดวกพอ ๆ กับการเดิน แตก ารวงิ่ มีใหเ ลือกหลายแบบ การที่จะเลอื กว่ิงแบบใดนนั้ ข้ึนอยูกับความสะดวกและความชอบ สว นตวั ของแตละบคุ คล เชน การวิ่งเหยาะ ๆ การว่ิงเร็ว การว่ิงมาราธอน การวิ่งอยูกับท่ี หรือ

49 การว่ิงบนสายพานตามสถานที่ออกกําลังกายทั่วไป การว่ิงตอครั้งควรมีระยะทาง 2 – 5 กิโลเมตร และสัปดาหหน่งึ ไมเกิน 5 ครั้ง ซ่งึ มีเทคนคิ งา ย ๆ ดังน้ี 2.1 การวิ่งอยกู บั ท่ี ตองยกเทาแตล ะขางใหสูงประมาณ 8 น้ิว ซึง่ มขี อจํากัดที่มีการ เคลือ่ นไหวของขอตาง ๆ นอย ไมมีการยืดหรือหดของกลามเนื้ออยางเต็มท่ี ซ่ึงถือเปนขอดอย กวา การวงิ่ แบบอนื่ ๆ 2.2 การว่งิ บนสายพาน เปนการวิ่งท่ีปลอดภัยกวา การวิง่ กลางแจง ไมตองเผชิญกับ สภาพที่มีฝนตก แดดรอน หรือมฝี นุ ละอองตาง ๆ และถา ใชสายพานชนิดใชไ ฟฟา จะมรี ะบบตาง ๆ บนจอภาพ ทําใหทราบวาการว่ิงของเรานน้ั มีความเร็วอยูในระดับใด วิ่งไดระยะทางเทาไร และมอี ัตราการเตนของชีพจรเทาใด เพื่อใชเปนขอมูลเบ้ืองตนในการปรับโปรแกรมออกกําลัง กายในครงั้ ตอไป 2.3 การวิ่งกลางแจง เปนการว่ิงท่ีทําใหเราไดอากาศบริสุทธิ์ ถาวิ่งในสวนสาธารณะ หรือว่ิงออกไปนอกเมืองจะไดชมทิวทัศน ทําใหไมเบ่ือและไมตองเสียคาใชจาย ที่สําคัญตอง ระมดั ระวังเร่ืองความปลอดภยั ในกรณีท่อี อกว่งิ เพยี งคนเดียว 3. การข่ีจักรยาน การข่ีจักรยานไปตามสถานที่ตาง ๆ เปนการออกกําลังกายท่ีให ประโยชนดานการทรงตัว ความคลองแคลววองไว และเปนการฝกความอดทนดวย การข่ีจกั รยานในสวนสาธารณะหรือในทไ่ี มมีมลพษิ นั้น นอกจากจะเกดิ ประโยชนตอ รางกายแลว ยงั เปน การสง เสริมสขุ ภาพจากความเพลิดเพลนิ ในการชมทิวทัศนรอบดานและอากาศที่บริสุทธิ์ ซึ่งแตกตางจากการขี่จกั รยานแบบตั้งอยูกับท่ีในบานหรอื สถานทอี่ อกกาํ ลังกายในการข่ีจักรยาน มเี ทคนคิ งา ย ๆ ที่ควรปฏบิ ตั ิดังน้ี 3.1 ปรับทน่ี งั่ ของจกั รยานใหเหมาะสม เพราะในการปน ตองมกี ารโยกตัวรวม 3.2 ในการปน จกั รยานใหป นดวยปลายเทา ตรงบริเวณโคนนว้ิ 3.3 ถา เปนจักรยานแบบตั้งอยูกับท่ี ในชวงแรกของการฝกควรตั้งความฝดใหนอย เพ่ืออบอุนรางกายประมาณ 3 – 4 นาทีแลวจึงคอย ๆ ปรับเพิ่มความฝดของลอมากข้ึนจนหัว ใจเตน เรว็ ถึงอัตราทีก่ ําหนดไวใ นเปาหมาย แลว จงึ คอ ยๆ ลดความฝด ลงจนเขาสูระยะผอนคลาย เม่ือชพี จรเตนชา ลงจนเปนปกติจงึ หยดุ ปน จกั รยานได 4. การเตน แอโรบกิ เปน การออกกาํ ลงั กายทไ่ี ดร ับความนิยมเปน อยางมาก และเปน การ ออกกาํ ลงั กายทีไ่ ดเ คลือ่ นไหวทุกสว นของรางกาย ชวยสรางความแขง็ แกรงและความอดทนของ กลา มเนือ้ โดยเฉพาะกลา มเนอ้ื หวั ใจเทคนคิ ในการเตนแอโรบิก มีดงั น้ี

50 4.1 ตองเคลื่อนไหวรางกายตลอดเวลา เพ่ือใหการเตนของหัวใจอยูในระดับที่ ตองการ 4.2 ใชเ วลาในการเตนแอโรบกิ คร้ังละ 20 – 30 นาที สัปดาหล ะ 3 คร้งั 4.3 สถานที่ท่ีใชในการเตนแอโรบิก ควรมีอากาศถายเทไดสะดวก และถาพ้ืนท่ีใช เตนเปนพื้นแข็งผูเตนจะตองใสรองเทาสําหรับเตนแอโรบิกโดยเฉพาะ ซ่ึงพื้นรองเทาจะชวย รองรับแรงกระแทกได 4.4 ควรหลกี เลี่ยงทา กระโดด เพราะการกระโดดทาํ ใหเทากระแทกกบั พนื้ การออกกาํ ลงั กายเพื่อสขุ ภาพทเี่ หมาะสมกบั บคุ คลและวยั ตางๆ อายุ 1-4 ป รา งกายตองการเคลือ่ นไหวและออกกาํ ลังกายตลอดเวลา อายุ 5-8 ป รา งกายตองการออกกาํ ลังกายดวยการว่ิง การกระโดด ปน ปาย หรอื อื่น ๆ อยางนอยวนั ละ 4 ชั่วโมง อายุ 9-11 ป รา งกายตอ งการออกกําลงั กายอยา งนอ ยวนั ละ 3 ช่ัวโมง อายุ 12-14 ป รางกายตอ งการออกกาํ ลงั กายอยางนอยวันละ 2.5 ชั่วโมง อายุ 15-17 ป รา งกายตองการออกกําลงั กายอยา งนอยวันละ 2 ช่วั โมง อายุ 18-30 ป รา งกายตองการออกกําลงั กายอยางนอ ยวันละ 1 ชว่ั โมง อายุ 31-50 ป รา งกายตอ งการออกกาํ ลงั กายหนกั ปานกลางอยา งนอ ย วนั ละ 1 ชวั่ โมง อายุ 51 ปข้นึ ไป รางกายตองการออกกําลังกายในกจิ กรรมที่เบาๆ อยา งนอ ย วนั ละ 1 ชวั่ โมง การออกกําลงั กายทีเ่ หมาะสมและปฏบิ ัตไิ ดอยา งถูกตอง ยอมใหคุณคาแกรางกายในทุก ระดับอายุ เชน ในวัยเด็ก การออกกําลังกายจะชวยใหรางกายเจริญเติบโตในทุกระบบตางๆ ของรางกายเปนอยางดี สําหรับผูที่มีอายุมากกวา 35 ปข้ึนไป ก็ย่ิงมีความ จําเปนมาก เพราะเปนระยะท่ีมีความปราดเปรียวลดลงทําใหอวนงาย และเปนชองทางที่ทําใหเกิด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตันในเสนเลือด ระบบความดันโลหิตต่ําหรือสูงไดงาย สําหรับผทู ี่อยูในวยั สูงอายุ การออกกําลังกายจะชว ยปองกันและรกั ษาความผดิ ปกติทเ่ี กดิ ข้ึน

51 ประโยชนข องการออกกําลงั กาย 1. ผลการออกกําลงั กายตอ ระบบกลามเนอ้ื ไดแ ก 1.1 กลา มเนือ้ มีขนาดใหญขึ้น ทําใหกลา มเนอื้ แข็งแรงขนึ้ 1.2 กลามเน้ือมีประสิทธิภาพการทํางานดีขึ้นหรือสามารถทํางานมากหรือหนัก เพมิ่ ขนึ้ มคี วามทนทานมากข้นึ หรอื ทาํ งานไดนานขึน้ 1.3 ระบบการทาํ งานของกลา มเน้อื จะปรบั ตามลักษณะของการใชในการออกกาํ ลังกาย 1.4 กลามเนื้อสามารถทนความเจ็บปวดไดดีขน้ึ 2. ผลการออกกําลังกายตอ ระบบกระดกู และขอตอ ไดแ ก 2.1 กระดกู จะมคี วามหนาและเพมิ่ ขนาดมากข้ึนโดยเฉพาะวยั เดก็ 2.2 กระดกู มคี วามเหนียวและแขง็ เพม่ิ ความหนาแนนของมวลกระดกู 3. ผลการฝก ตอ ระบบหายใจ ไดแก 3.1 ทําใหป ระสทิ ธิภาพการหายใจดขี ึน้ 3.2 ขนาดของทรวงอกเพิม่ ข้นึ 3.3 ปอดมขี นาดใหญและมคี วามจเุ พมิ่ ขึน้ 3.4 อตั ราการหายใจลดลงเนอื่ งจากการหายใจแตละครง้ั มปี ระสทิ ธภิ าพในการสบู ฉีด โลหติ ตอครัง้ มากขนึ้ (อัตราการหายใจของคนปกติ 16 – 18 ครง้ั ตอ นาท)ี 4. ผลการออกกําลงั กายตอ ระบบไหลเวยี น ไดแ ก 4.1 การสบู ฉีดของระบบไหลเวียนดขี ึ้น ทําใหอัตราการเตนของหัวใจลดลง 4.2 ขนาดของหัวใจใหญขน้ึ กลา มเนอื้ หัวใจแขง็ แรงขึ้น 4.3 หลอดเลอื ดมคี วามเหนียว ยืดหยุนดีขึ้น 5. ผลการออกกําลงั กายตอ ระบบอนื่ ๆ ไดแ ก 5.1 ระบบประสาทอัตโนมัติ ทาํ งานไดสมดุลกนั ทําใหก ารปรับตวั ของอวยั วะให เหมาะกบั การออกกาํ ลังกายไดเร็วกวา การฟนตวั เรว็ กวา 5.2 ตอ มหมวกไต เจริญข้ึน มีฮอรโ มนสะสมมากขน้ึ 5.3 ตับ เพม่ิ ปรมิ าณและนํา้ หนัก ไกลโคเจนและสารท่ีจาํ เปน ตอการออกกาํ ลงั กายไป สะสมมากขึ้น 6. ชวยปองกันโรคอว น การออกกําลังกายทถ่ี กู ตอ งและเหมาะสม จะชวยใหรางกายมี การใชพลังงานท่ีไดรับจากสารอาหารตาง ๆ โดยไมมีการสะสมไวเกินความจําเปน แตถาขาด

52 การออกกาํ ลงั กายจะทําใหส ารอาหารที่มีอยูในรางกายถูกสะสมและถูกเปลี่ยนเปนไขมันแทรก ซึมอยูตามเนื้อเย่อื ทัว่ รางกาย ซง่ึ เปนสาเหตุของการเกดิ โรคอว น 7. ผลตอ จติ ใจ อารมณ สตปิ ญ ญาและสังคม ไดแ ก 7.1 ดา นจิตใจ การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ นอกจากจะทําใหรางกายแข็งแรง สมบูรณแลว จิตใจก็ราเริงแจมใส เบิกบาน ซึ่งจะเกิดข้ึนควบคูกัน เนื่องจากเม่ือรางกาย ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ถา ไดอ อกกําลังกายรวมกนั หลาย ๆ คน เชน การเลนกีฬาเปนทีมจะทํา ใหเกดิ การเอือ้ เฟอ มเี หตผุ ล อดกล้นั สุขมุ รอบคอบและมคี วามยุติธรรมรูแพรูชนะ และใหอภัย กนั 7.2 ดานอารมณ มอี ารมณเ ยอื กเย็น ไมหนุ หันพลันแลน ชวยคลายความเครียดจาก การประกอบอาชีพในชีวิตประจําวัน จึงสามารถทํางานหรือออกกําลังกายไดอยางมี ประสิทธิภาพ 7.3 ดานสติปญญา การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ทําใหมีความคิดอาน ปลอดโปรง มีไหวพริบ มีความคิดสรางสรรค คน หาวิธีที่จะเอาชนะคูตอสูในวิถีทางของเกมการ แขงขัน ซงึ่ บางครัง้ สามารถนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ไดเ ปนอยา งดี 7.4 ดานสังคม สามารถปรับตัวเขากับผูรวมงานและผูอ่ืนไดดี เพราะการเลนกีฬา หรอื การออกกําลังกายรวมกันเปนหมูมาก ๆ จะทําใหเกิดความเขาใจ และเรียนรูพฤติกรรมมี บุคลิกภาพที่ดี มีความเปนผูนํา มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสามารถอยูรวมกันในสังคมไดอยางมี ความสขุ

53 กิจกรรมทา ยบทที่ 4 กจิ กรรมท่ี 1 จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. จงอธบิ ายรปู แบบและวธิ กี ารออกกาํ ลังกายเพอื่ สุขภาพมา 1 ขอ กิจกรรมที่ 2 จงเลอื กคาํ ตอบที่ถกู ตอ งที่สดุ เพียงคาํ ตอบเดียว 1. การรับรูถึงความสามารถในการจดั การกบั ความเศรา หรอื ความกังวลการรับรูเกีย่ วกับ ความเช่อื ตา งๆ เปนการประเมินภาวะสุขภาพของตนเองในดา นใด ก. ดา นจติ ใจ ค. ดานส่ิงแวดลอม ข. ดานรางกาย ง. ดา นสมั พันธภาพทางสงั คม 2. การวางแผนพัฒนาสขุ ภาพกายการออกกาํ ลังกายตองยดึ หลักขอใด ก. หนกั นาน บอ ย ค. ความตอ งการ ข. ความสามารถ ง. ความเหมาะสม 3. การออกกําลังกายจะมผี ลตอการเปล่ยี นแปลงตอระบบตา ง ๆ ในรางกาย จะตอง ทาํ ตอ เนอ่ื งอยา งนอ ยกี่นาที ก. 10-20 นาที ค. 30-40 นาที ข. 20-30 นาที ง. 40-50 นาที 4. ผลดขี องการอบอุน รา งกายกอนเลนกฬี าคือขอใด ก. ยืดกลา มเน้อื ค. กลา มเน้อื เกิดการเกรง็ ตวั ข. คลายกลา มเนื้อ ง. ลดความตงึ ของกลา มเนื้อ และทาํ ใหก ลา มเน้ือ ผอ นคลาย

54 บทที่ 5 โรคท่ีถายทอดทางพันธุกรรม สาระสาํ คญั มีความรูและสามารถปฏิบัติตนในการปองกันโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรมได สามารถ แนะนําขอ มลู ขา วสาร และแหลงบรกิ ารเพอื่ ปองกันโรคแกครอบครวั และชุมชนได ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง 1. บอกโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรมได 2. อธิบายสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรกั ษาโรคท่ถี ายทอดทางพนั ธุกรรมได 3. ปฏบิ ัตติ นในการปอ งกนั โรคติดตอ ทเ่ี ปน ปญหาตอ สขุ ภาพและปญ หา สาธารณสุขได 4. แนะนําวางแผนรวมกับชุมชนเพ่ือปองกัน และหลีกเล่ียงโรคติดตอ และโรคท่ีเปน ปญหาสาธารณสขุ ได 5. อธบิ ายผลกระทบของพฤตกิ รรมทีม่ ีตอ การปอ งกันโรคได 6. แนะนาํ ขอ มูลขาวสารและแหลงบริการเพ่อื ปอ งกันโรคแกครอบครวั ได ขอบขายเน้อื หา เร่ืองที่ 1 โรคท่ีถายทอดทางพันธุกรรม เรอ่ื งท่ี 2 การวางแผนรวมกับชมุ ชนเพือ่ ปอ งกันและหลกี เลย่ี งโรคติดตอและโรคท่ี เปนปญ หาสาธารณสุข เร่อื งที่ 3 ผลกระทบของพฤตกิ รรมสุขภาพท่มี ตี อ การปองกันโรค เรือ่ งท่ี 4 ขอ มลู ขา วสาร และแหลง บรกิ ารเพอื่ การปอ งกนั โรค

55 เร่ืองที่ 1 โรคทีถ่ า ยทอดทางพนั ธกุ รรม 1.1 โรคถา ยทอดทางพนั ธกุ รรม การท่ีมนุษยเกดิ มามลี ักษณะแตกตา งกัน เชน ลักษณะ สผี วิ ดํา ขาว รูปราง สงู ตํ่า อวน ผอม ผมหยิก หรือเหยียดตรง ระดับสติปญญาสูง ต่ํา ลักษณะดังกลาวจะถูกควบคุมหรือ กําหนดโดย “หนวยพันธุกรรมหรือยีน” ที่ไดรับการถายทอดมาจากพอและแม นอกจากนี้หากมี ความผดิ ปกติใด ๆ ท่ีแฝงอยูในหนวยพันธุกรรม เชน ความพิการหรือโรคบางชนิด ความผิดปกติ น้ันกจ็ ะถกู ถายทอดไปยังรนุ ลกู ตอ ๆ ไปเรยี กวา โรคท่ีถา ยทอดทางพันธุกรรม ความผิดปกติท่ีแฝงอยูในหนวยพันธุกรรมของบิดา มารดา เกิดขึ้นโดยไดรับการ ถายทอดมาจาก ปู ยา ตา ยาย หรือบรรพบุรุษรุนกอน หรือเกิดข้ึนจากการผาเหลาของหนวย พันธุกรรม ซึ่งพบในเซลลท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงผดิ ไปจากเดมิ โดยมปี จ จยั ตางๆ เชน การไดรบั รงั สี หรือสารเคมีบางชนิด เปนตน ความผิดปกตทิ ่ีถายทอดทางพันธกุ รรมสามารถเกิดข้ึนไดทั้งสองเพศ บางชนิดถายทอดเฉพาะเพศชาย บางชนิดถายทอดเฉพาะในเพศหญิง ซ่ึงควบคุมโดยหนวย พันธกุ รรมหรอื ยนี เดน และหนวยพันธกุ รรมหรอื ยนี ดอย บนโครโมโซมของมนุษย 1.2 โรคทถ่ี ายทอดพนั ธุกรรมท่ีสาํ คญั ไดแก 1.2.1 โรคธาลัสซเี มีย (Thalassemia) โรคเลอื ดจางธาลสั ซีเมยี หรอื โรคธาลัสซีเมีย คอื โรคซีดชนิดหน่ึงที่สามารถ ติดตอไดโดยทางกรรมพันธุ และมีการสรางฮีโมโกลบิน ทําใหเม็ดเลือดแดงมีลักษณะผิดปติ และแตกงา ย กอใหเกดิ อาการซีด เลือดจางเร้ือรัง และมีภาวะแทรกซอนอื่นๆ สวนใหผูที่เปน โรคนี้จะไดรับยีนที่ผิดปกติของพอและแม ที่พบมากคือภาคอีสาน ประมาณรอยละ 40 ของ จาํ นวนผูทเี่ ปน โรคน้ที ัว่ ประเทศ สาเหตุ โรคธาลัสซีเมีย เกิดจากพันธุกรรมโดยตรง โดยไดรับความผิดปกติ และ แตกตา งเปนโรคเลือดชนิดหน่งึ ที่ทาํ ใหร างกายสรางเม็ดเลือดแดงที่มีลักษณะผิดปกติมาจากพอ แม ถารับจากฝา ยในเพยี งฝา ยเดยี วจะไมแสดงอาการ ทแ่ี สดงอาการชัดๆ มปี ระมาณรอ ยละ 1 อาการ โรคนี้แบงไดหลายชนิด ซ่ึงมีความรุนแรงแตกตางกันไปตั้งแต ไมมี อาการจนถงึ เสียชีวติ ดังนี้

56 1. ผูท่ีเปนโรคธาลัสซีเมียชนิดออนหรือท่ีเรียกวา โรคเฮโมโกลบินเอช จะไมมีอาการผิดปกติแตอ ยางใดแตจะมอี าการซดี เหลืองเปนบางครั้งขณะทีเ่ ปนหวัดเจ็บคอหรือ เปนโรคติดเช้อื อนื่ ๆ 2. ผูที่เปนโรคธาลัสซีเมียท่ีแสดงอาการชัดเจนจะมีเลือดจางมาก มีอาการซีด เหลือง ตับโต มามโต ผิวหนังดําคลํ้า กระดูกใบหนาจะเปลี่ยนรูป มีจมูกแบน กะโหลกศีรษะ หนา โหนกแกม นนู สงู คางและขากรรไกรกวาง ฟนบนยื่น กระดูกบาง เปราะหักงาย รางกาย เจริญเติบโตชากวาคนปกติ แคระแกรน็ ทองปอง ในประเทศไทยมีผูเ ปน โรคประมาณ รอยละ 1 ของประชากร โรคธาลัสซีเมียมีอาการต้ังแตไมมีอาการใดๆ จนถึงมีอาการรุนแรง มากทที่ าํ ใหเ สียชีวิตตั้งแตอยูในครรภหรือหลังคลอดไมเกิน 1 วัน ผูท่ีมีอาการจะซีดมากหรือมี เลือดจางมาก ตองใหเลือดเปนประจํา หรือมีภาวะติดเชื้อบอยๆ หรือมีไขเปนหวัดบอย ๆ ได มากนอยแลวแตช นดิ ของธาลัสซีเมยี ผูทีม่ โี อกาสเปนพาหะ - ผูท ีม่ ีญาติพีน่ อ งเปน โรคน้ีโอกาสทีจ่ ะเปนพาหะหรอื มียนี แฝงสงู - ผูที่มลี ูกเปน โรคน้ี แสดงวา ทัง้ คูสามภี รรยาเปน พาหะหรอื มียนี แฝง - ผทู ม่ี ีประวัติบคุ คลในครอบครัวเปน โรคธาลสั ซีเมีย - ถา ผปู ว ยทเ่ี ปน โรคธาลัสซีเมียและแตงงานกับคนปกติท่ีไมมียีนแฝง ลูกทุกคนจะมี โอกาสมียีนแฝง การปอ งกันและการรกั ษา 1. ควรรับประทานอาหารที่มีคุณภาพสูงโดยเฉพาะอาหารท่ีมีธาตุเหล็ก เพ่ือนํา ไปสรางเมด็ เลอื ดแดง และชดเชยเมด็ เลอื ดแดงท่เี สียไป 2. ไมควรคลกุ คลีอยใู นทช่ี ุมชนแออัด เชน โรงมหรสพ เปนตน เพราะจะทําใหเกิด การติดเชอ้ื ไดงา ยและจะมอี าการแทรกซอ นเพม่ิ ขนึ้ 3. กอนจะแตงงานคูสมรสตองไปตรวจเลือดเสียกอนเพราะโรคนี้มีอันตราย ตอ บตุ รเปนอันมากควรมีการคมุ กาํ เนดิ เพอ่ื ปอ งกันการมบี ุตร 4. ในการใชยาควรปรึกษาแพทยเนื่องจากยาบางอยางทําใหโลหิตจางลงมาก เชน ยาซลั โฟนาไมต เปน ตน

57 1.2.2 โรคภูมิแพ คือ โรคท่ีเกิดขึ้น เนื่องจากปฏิกิริยาของรางกายตอสิ่ง แปลกปลอมหรือทเ่ี รียกอกี วา สารกอ ภมู ิแพที่ผานเขาไปในรางกาย ผูท่ีเปนโรคภูมิแพฝุน ตัวไรฝุน เช้ือราในอากาศ อาหาร ขนสัตว เกสรดอกไม เปนตน สารท่ีกอใหเกิดปฏิกิริยาภูมิแพไวเกินน้ี เรียกวา “สารกอ ภูมแิ พ” โรคภูมิแพ สามารถแบงไดตามอวัยวะท่ีเกิดโรคได คือ โรคโพรงจมูก อกั เสบจากภมู แิ พ หรือโรคแพอ ากาศ โรคตาอกั เสบจากภมู ิแพ โรคหอบหืด และโรคผ่ืนภูมิแพ ผิวหนัง โ ด ย ป ก ติ ถ า พ อ ห รื อ แ ม ค น ใ ด ค น ห น่ึ ง เ ป น โ ร ค ภู มิ แ พ ลู ก จ ะ มี โ อ ก า ส เปนโรคภูมิแพป ระมาณ 25% แตถ าท้ังพอและแมเปนโรคภูมิแพทั้งคู ลูกที่เกิดออกมามีโอกาส เปนโรคภูมิแพสูงถึง 66% โดยเฉพาะโรคโพรงจมูกอักเสบจากภูมิแพ จะมีอัตรา การถายทอดทางกรรมพันธุสูงท่ีสุด โรคภูมิแพ อาจหายไปไดเองเม่ือผูปวยโตเปนผูใหญ แตส ว นใหญมักไมหายขาด โดยอาการของโรคภูมิแพอาจสงบลงไปชวงหน่ึง และมักจะกลับมา เปน ใหม การปอ งกนั โรคภูมิแพ 1. พยายามหลกี เล่ยี งจากสารทีท่ าํ ใหเ กิดโรคภมู แิ พ 2. หมน่ั ทาํ ความสะอาดท่อี ยอู าศยั ใหเรยี บรอ ย 3. พยายามอยใู นสถานทท่ี ีม่ อี ากาศบรสิ ุทธิ์ 4. หลีกเล่ยี งเหตกุ ารณทีท่ ําใหเครียด 5. ทาํ จติ ใจใหร าเริงเบกิ บานอยเู สมอ การรักษา 1. ผทู เ่ี ปน โรคภมู ิแพ ควรสังเกตตนเองวาแพสารอะไร และควรงดรับประทานยา แกแ พ อยา งนอ ย 24 ถงึ 48 ช่ัวโมง กอนที่จะใหแพทยทดสอบทางผิวหนัง เพื่อหาสาเหตุของ โรค 2. หลกี เลยี่ ง ไมใหใ กลชดิ สัมผสั กบั สง่ิ ท่ีเราแพ อาการแพจะทเุ ลาหรือหายไปได 3. ยาแกแ พท่ีใชรบั ประทาน คือยาตานฮสี ตามีน เชน คลอเฟนริ ามนิ 1.2.3 โรคเบาหวาน เปนภาวะท่ีรางกายมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวาปกติ เกิดเนื่องมาจากการขาดฮอรโมนอนิ ซูลิน หรือประสิทธภิ าพของอินซลู นิ ลดลงเน่ืองจากภาวะดื้อ ตออินซูลิน ทําใหน้ําตาลในเลือดสูงข้ึนอยูเปนเวลานานจะเกิดโรคแทรกซอนตออวัยวะตางๆ เชน ตา ไต และระบบประสาท เปน ตน

58 ฮอรโมนอนิ ซูลนิ มคี วามสาํ คญั ตอ รางกายอยางไร อนิ ซลู นิ เปนฮอรโมนสําคัญตัวหนึ่งของรางกาย สรางและหล่ังจากเบตาเซลลของตับ ออนทําหนาทเี่ ปนตัวพานํา้ ตาลกลูโคสเขาสูเนอื้ เยือ่ ตาง ๆ ของรา งกาย เพือ่ เผาผลาญเปนพลังงาน ในการดําเนินชีวิต ถาขาดอินซูลินหรือการออกฤทธ์ิไมดี รางกายจะใชนํ้าตาลไมได จึงทําให นํ้าตาลในเลอื ดสูงมีอาการตางๆ ของโรคเบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญ อาหารคารโบไฮเดรตแลว ยังมีความผิดปกติอ่ืน ๆ เชน มีการสลายของสารไขมันและโปรตีน รว มดวย อาการของโรคเบาหวาน คนปกติกอนรับประทานอาหารเชาจะมีระดับนํ้าตาลในเลือดรอยละ 10-110 มก. หลัง รับประทานอาหารแลว 2 ชั่วโมง ระดับนํ้าตาลไมเกินรอยละ 1-40 มก. การวินิจฉัยโรค เบาหวานจะทาํ ไดโ ดยการเจาะเลือด อาการทพี่ บบอ ย ไดแก 1. การมีปสสาวะบอย ในคนปกติมักไมตองลุกขึ้นปสสาวะในเวลากลางคืน หรือ ปส สาวะไมเ กิน 1 ครงั้ เมื่อนาํ้ ตาลในกระแสเลือดมากกวา 180 มก. โดยเฉพาะในเวลากลางคืน น้ําตาลจะถูกขับออกทางปสสาวะ ทําใหนํ้าถูกขับออกมากขึ้น จึงมีอาการปสสาวะบอยและ เกิดสูญเสยี นา้ํ และอาจพบวาปสสาวะมีมดตอม 2. ผปู ว ยจะหวิ น้ําบอย เน่ืองจากตอ งทดแทนนํา้ ทถี่ กู ขับออกทางปสสาวะ 3. ผูปวยจะกินเกง หิวเกง แตน้ําหนักจะลดลงเน่ืองจากรางกายนํานํ้าตาลไปใช เปนพลงั งานไมได จงึ มีการสลายพลงั งานจากไขมนั และโปรตีนจากกลามเนื้อแทน 4. ออนเพลยี นํา้ หนกั ลด เกิดจากรา งกายไมสามารถใชน ้ําตาลจึงยอยสลายสวนที่ เปน ไขมนั และโปรตีนออกมา 5. อาการอ่ืน ๆ ทอี่ าจเกดิ ข้นึ ไดแก อาการคนั อาการตดิ เช้อื แผลหายชา - คันตามผิวหนัง มีการติดเช้ือรา โดยเฉพาะบริเวณชองคลอดของผูหญิง สาเหตุของอาการคนั เนื่องจาก ผิวแหงไป หรือมีอาการอักเสบของผวิ หนงั - เห็นภาพไมชัด ตาพรามัว ตองเปลี่ ยนแวนบอย เชน สายตาสั้ น ตอกระจก นํา้ ตาลในเลือดสงู - ชาไมมีความรูสึก เจ็บตามแขน ขา บอ ย หยอ นสมรรถภาพทางเพศ เน่อื งจาก นํา้ ตาลสูงนาน ๆ ทาํ ใหเสนประสาทเสอื่ ม - เกิดแผลทเ่ี ทา ไดง า ย เพราะอาการชาไมรูสึก เม่อื ไดร บั บาดเจ็บ

59 1.2.4 โรคขาดสารไอโอดีน หรือโรคเออ หรือโรคคอพอก เกิดจากการกินอาหาร ทม่ี ีไอโอดีนตํา่ หรืออาหารท่ีมีสารขัดขวางการใชไอโอดีนในรางกาย คนที่ขาดธาตุไอโอดีนจะเปน โรคคอหอยพอก และตอมไทรอยดบวมโต ถาเปนเด็กจะมีผลตอการพัฒนาทางรางกายและ จิตใจ รางกายเจริญเติบโตชา เต้ีย แคระแกรน สติปญญาเสือ่ มอาจเปน ใบและหูหนวก การรกั ษาและการปองกนั กินอาหารทะเลใหมาก เชน กุงหอย ปู ปลา เปนตน ถาไมสามารถหาอาหาร ทะเลไดก ค็ วรบรโิ ภคเกลืออนามยั ซึง่ เปนเกลอื สมทุ รผสมไอโอดีนทใ่ี ชในการประกอบอาหารแทนได นอกจากน้ีควรหลีกเลี่ยงอาหารท่ีมีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน พืชตระกูลกะหล่ําปลี ซึ่งกอ นกินตอ งตม เสียกอน เร่ืองที่ 2 การวางแผนรวมกบั ชมุ ชนเพือ่ ปอ งกนั และหลกี เล่ยี งโรคตดิ ตอ และ โรคท่เี ปน ปญ หาสาธารณสุข การปองกันโรค หมายถึง การดําเนินการลวงหนาเพื่อไมใหเชื้อโรคเขามาหรือ ไมใหค นเกิดโรคได การควบคุมโรค หมายถงึ การกาํ จดั ขอบเขตของโรคตามท่เี กดิ การระบาดข้ึนแลว เพอื่ ไมใ หแพรกระจายออกไปและใหโ รคตดิ ตอนั้นเบาบางลง องคประกอบสาํ คัญท่ีทาํ ใหเกิดโรคตดิ ตอ - เช้ือโรค (Agent ) ไดแก ตัวเชื้อโรคหรือพิษจากเช้ือโรคซึ่งเปนสาเหตุใหเกิด โรคนนั้ ๆ ข้นึ - ผูรับเช้ือ (Host) ไดแก บุคคลท่ีไดรับเช้ือเขาสูรางกาย ถาบุคคลนั้นไมมี ภูมคิ ุมกนั โรคอยางเพยี งพอกจ็ ะเกดิ โรคน้นั ๆ - สิ่งแวดลอม (Environment) ไดแก สิ่งตางๆ ท่ีมีชีวิตและไมมีชีวิตที่สงเสริม การเจริญเติบโตและการแพรก ระจายของเชื้อโรค การปองกันโรคติดตอทําไดหลายวิธี ถาจะใหไดผลดีตองอาศัยความรวมมือจาก ทุกฝา ยเพื่อประโยชนของตนเองและสวนรวม ในการปองกันโรคติดตอควรคํานึงถึงแหลงของ เชือ้ โรค การแพรก ระจายของเชื้อโรคและวิธตี ดิ ตอ ของเชอ้ื โรคดวย

60 การปอ งกนั โรคตดิ ตอ มีหลัก ดังน้ี 1. ปองกนั ไมใหเ ช้อื โรคแพรกระจาย 1.1 ถา ยอุจจาระและปส สาวะในสว มทม่ี ดิ ชิดและตองทําความสะอาด สมํา่ เสมอ 1.2 ใชผาเชด็ หนาปด ปากเวลาไอหรือจาม 1.3 ไมบว นนํ้าลายหรือเสมหะตามที่ตา งๆ 1.4 เส้ือผา ของผปู ว ยควรซกั หรอื ตม แลวผงึ่ แดดจัดๆ หรือใชย าฆาเชอ้ื โรค เพื่อใหป ลอดโรค 1.5 กาํ จัดแหลงที่เปนพาหะของโรค ไดแก กําจัดแหลงที่มีนํ้าขัง กําจัด หนแู ละแมลงสาบ ฯลฯ 1.6 หลีกเลยี่ งการอยูในทแี่ ออดั 2. การปอ งกันไมใ หเชือ้ โรคเขา สูรา งกาย 2.1 ลา งมอื ใหส ะอาดกอนรบั ประทานอาหารทกุ ครั้ง 2.2 รบั ประทานอาหารสกุ ใหมๆ และด่ืมน้าํ ที่สะอาด 2.3 ไมเท่ยี วสาํ สอน และไมใ กลช ิดหรอื สมั ผสั กบั ผูปว ยทเี่ ปน โรคติดตอ 2.4 ระวงั ไมใหย ุง สนุ ขั หรือสตั วอื่นกดั 3. เสริมสรางความตา นทานโรค โดยปกติรางกายแตละคนมีภูมิคุมกันโรคโดยท่ัวไปอยูแลวเพื่อใหรางกายมี ความตานทานโรคดขี ้ึนจึงมีความจําเปน ท่ตี อ งบํารงุ ใหส มบูรณแ ข็งแรงอยเู สมอดังน้ี 3.1 รบั ประทานอาหารดี มีประโยชนแ ละถูกหลักโภชนาการ 3.2 พกั ผอนใหเ พยี งพอ ออกกําลงั กายสมา่ํ เสมอ 3.3 ฉีดวัคซนี เพื่อปอ งกันโรคบางชนดิ เชน คอตีบ บาดทะยัก หัด ฯลฯ 3.4 ทาํ จติ ใจใหส บาย มองโลกในแงดี 3.5 ควรตรวจรางกายเปนประจําอยางนอยปละคร้ัง

61 เรอื่ งท่ี 3 ผลกระทบของพฤตกิ รรมสุขภาพทีม่ ตี อการปองกนั โรค พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง สิ่งที่บุคคลปฏิบัติหรือการแสดงออกที่บุคคลอื่นสามารถ สังเกตเห็นได และสิ่งท่ีบุคคลมีอยูภายใน เชน ความรู ความรูสึก ความคิด คานิยม การรับรู ฯลฯ ทเี่ กย่ี วของกบั สขุ ภาพดี พฤติกรรมการสง เสริมสุขภาพจะเกย่ี วของกับการปฏบิ ัตติ นในการดํารงชวี ิต หรือวิถี การดาํ รงชีวติ ซงึ่ เกีย่ วขอ งกับการปฏิบัติ ดังตอ ไปนี้ 1. รบั ประทานอาหารถูกตองตามหลักโภชนาบัญญัติ 2. กระฉบั กระเฉงและออกกาํ ลงั กายอยางสมํ่าเสมอ 3. พักผอ นใหเ พียงพอและสามารถผอนคลาย 4. มีสขุ ภาพจติ ดี 5. บริหารจัดการความเครยี ดไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 6. ไมสบู บหุ รี่ 7. ไมด มื่ สุรา หรอื เครื่องด่มื ทม่ี ีแอลกอฮอล 8. ไมใชยาหรอื สารเสพตดิ 9. เปลี่ยนแปลงนิสัยท่ีนําไปสูการมีสุขภาพไมดี เชน ไมดื่มชา กาแฟ สุรา เลิกบุหรี่ หรอื ยาเสพตดิ ทกุ ชนิด 10. การมีพฤติกรรมทางเพศท่ีสงเสริมสุขภาพ เชน ปฏิบัติตนอยางถูกตองใน การปอ งกันโรคเอดส และโรคติดตอ ทางเพศสัมพันธตา ง ๆ การปฏบิ ัติตนเมอื่ เจ็บปว ยจําแนกเปน หลายประเภท ดงั น้ี 1. ซ้อื ยารบั ประทานเอง โดยถามคนขายยา หรอื เภสัชกรประจํารานขายยา 2. รบั บริการทค่ี ลินิก โรงพยาบาลเอกชนและโรงพยาบาลของรฐั 3. รับบริการกับหมอเวทยมนต หมอกลางบาน 4. รบั บริการกับบุคคลทที่ าํ ตัวเปน แพทย แตไมไ ดศกึ ษามาดา นนี้ 5. อยูเฉย ๆ โดยปลอ ยใหหายเอง จะเห็นไดว าการปฏิบตั ติ ามขอ 1, 4 และ 5 เปน วธิ ีการท่ีเสี่ยงตออันตรายตาง ๆ ซึ่งไม ควรกระทํา ปจจุบันมีบริการทางการแพทยและสาธารณสุขที่แพรหลายขยายออกไปสูชนบท เมอื่ ไมสบายจึงควรปรึกษาบคุ ลากรดา นการแพทยแ ละสาธารณสุข ความสําคัญของพฤติกรรม สุขภาพ การปองกันโรค และการดํารงสุขภาพส่ิงที่คนเราปฏิบัติเก่ียวกับสุขภาพ เชน

62 การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การบริหารจัดการความเครียด การพักผอน การสูบบุหร่ี การด่ืมสุรา ฯลฯ เหลาน้ีลวนมีผลตอสุขภาพของบุคคล ซึ่งรวมถึงการเกิดโรค หรือไมเกิดโรค (สุขภาพดี) ดวย เม่ือพิจารณาดูการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมถูกตองจะ พบวาลวนมีผลตอการเกิดโรคทั้งส้ิน บางโรคเกิดจากการปฏิบัติท่ีไมถูกตองอยางเดียว บางอยางเกิดจากการปฏิบัติท่ีไมถูกตองหลายอยาง ดังน้ัน เพ่ือใหการดํารงไวซ่ึงสุขภาพที่ดี ทง้ั ดา นรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม จงึ ควรปฏบิ ตั พิ ฤติกรรมสุขภาพทถ่ี ูกตอ งเหมาะสม เร่อื งท่ี 4 ขอ มูล ขาวสาร และแหลงบรกิ ารเพ่ือปอ งกันโรค - สายดว นสขุ ภาพ 0-2590-2000 (กองสขุ ศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) 1. ใหบริการความรูพ้ืนฐานดานสุขภาพ มีเน้ือหาครอบคลุมเรื่องสุขภาพ ตั้งแต วัยเดก็ จนถึงวัยผสู งู อายุ ซง่ึ ประชาชนสามารถใชบรกิ าร ไดอยาง สะดวก รวดเร็ว และประหยัด โดยใหบ รกิ ารมี 3 ลกั ษณะ - ใหบ ริการความรูท างโทรศัพทอ ตั โนมตั ิ - ใหบ ริการความรผู านทางโทรสาร - ใหบรกิ ารฝากขอคิดเหน็ ขอเสนอแนะ 2. ประชาชนสามารถเลือกใชบริการความรูดานสุขภาพไดตามความตองการ โดยมี เนื้อหาความรูดานสุขภาพไดตามความตองการโดยมีเนื้อหา ความรูดานสุขภาพใหเลือกใช บรกิ าร จํานวน 692 หวั ขอ และใหบรกิ ารความรทู างโทรสาร จํานวน 179 หวั ขอ 3. ประชาชนสามารถนําความรูดานสุขภาพไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได และ นาํ ไปใชใ นการดูแลรักษาผูเจ็บปวยในเบ้อื งตนกอนพบแพทย - สายดวน 1669 (ศนู ยน เรนทร) (สาํ นกั งานระบบบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉิน) โทร. ไดที่หมายเลข (02) 590-1669 , (02) 590-2386, (02) 951-0364 และ (02) 951-0282 โทร. 1669 ฟรี 1. รับแจงเหตุชวยเหลือผูเจ็บปวยฉุกเฉินจากอุบัติเหตุและสาธารณภัย จัดหา รถพยาบาลฉุกเฉนิ ใหก ารชวยเหลือรักษาพยาบาล ณ จดุ เกดิ เหตแุ ละนําสงโรงพยาบาล ทเ่ี หมาะสม 2. ใหคําปรึกษาดา นสขุ ภาพแกประชาชนทั่วไปและในภาวะเจ็บปวยฉุกเฉนิ

63 3. รับแจงเหตุเฝาระวังสถานการณอุบัติภัย ตามแผนเตรียมความพรอมแหงชาติ และแผนเตรยี มความพรอมดา นการแพทย และการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข - สายดว น 1675 กินดี สุขภาพดี กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 1675 ใชในเขตกรุงเทพมหานครและ ปรมิ ณฑล หรือ 1900-1900-02 ใชใ นพืน้ ทตี่ า งจงั หวดั - ใหบริการขอมูลความถูกรูดานสงเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดลอม เชน อนามัยขณะต้ังครรภ อนามัยหลังคลอด อนามัยวัยทารก อนามัยวัยเรียน/วัยรุน อนามัยวัย ทาํ งาน อนามยั วัยทอง อนามัยวยั สูงอายุ เพศศึกษา สขุ ภาพฟน ฯลฯ - สายดว นปรึกษาเรอ่ื งยา 0-2644-8850 กด 73 (องคก ารเภสชั กรรม) - ใหค าํ ปรึกษาเก่ียวกับการใชยาทถ่ี ูกตอง โดยเภสัชกร (ในวันและเวลาราชการ) สายดว นสุขภาพ 0-2590-2000 (กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ) - สายดวน 1330 (สํานักงานหลักประกนั สุขภาพแหงชาต)ิ 0-2831-4000 ตอ 1330 1. ใหขอมูลตางๆ เกี่ยวกับการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา เชน การขึ้นทะเบยี น สิทธิประโยชนใ นโครงการฯ ขั้นตอนการใชบ รกิ าร ตรวจสอบสทิ ธบิ ัตรทอง 2. ใหบริการตอบคําถาม ขอสงสัย เกี่ยวกับโครงการสรางหลักประกันสุขภาพ ถวนหนา (บัตรทอง) 3. รับเร่ืองรองเรียน และคุมครองสิทธิประโยชนใหประชาชน ผูใชบริการ รกั ษาพยาบาลในโครงการสรางหลกั ประกนั สุขภาพถว นหนา 4. รบั ขอ เสนอแนะ เพื่อการพัฒนาระบบประกันสขุ ภาพถวนหนา - สายดว นผบู รโิ ภคกบั อย. 1556 (สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา) 1. ใหบรกิ ารขอมูลความรูเ กี่ยวกับผลิตภณั ฑส ุขภาพดว ยระบบตอบรบั อัตโนมัติ 2. ใหบริการสงขอมูลทางโทรสาร 3. รับแจงขอมูล และเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไมปลอดภัย (ผานเจา หนาท่ีในเวลาราชการ และฝากขอ ความนอกเวลาราชการ) - สายดวนสขุ ภาพจติ 1667 (กรมสขุ ภาพจติ ) - ใหบริการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตตลอด 24 ช่ัวโมง ท่ัวประเทศไทย โดยรบั ฟงปญหาที่ทาํ ใหเกิดความคบั ของใจ และใหคาํ แนะนาํ ในการแกไขปญ หา

64 - สายดวนปรึกษาเรอื่ งยา 0-2644-8850 กด 73 (องคก ารเภสัชกรรม) - ใหคาํ ปรึกษาเกี่ยวกบั การใชยาท่ีถกู ตอง โดยเภสัชกร (ในวันและเวลาราชการ) - สายดวนมะเรง็ 1668 (สถาบนั มะเร็งแหงชาติ กรมการแพทย) - ใหบริการขอมูลความรูเก่ียวกับโรคมะเร็ง อาทิ โรคมะเร็งที่ควรรูจัก ความสัมพนั ธร ะหวา งอาหารกับโรคมะเร็ง ความสัมพันธร ะหวา งสมนุ ไพร กบั โรคมะเร็ง บุหร่ีกับ โรคมะเร็ง ความรสู กึ เกี่ยวกับโรคมะเร็งและการรักษาโรคมะเร็ง การดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีบาน ฯลฯ กจิ กรรมทา ยบทที่ 5 กจิ กรรมท่ี 1 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. โรคท่ีถายทอดทางพนั ธุกรรม หมายถึงอะไร 2. อธิบายถึงวธิ ีการปอ งกันรกั ษาโรคทถ่ี า ยทอดทางพนั ธกุ รรม 3. บอกวิธีการประชาสัมพันธ การปองกัน และหลีกเลี่ยงโรคติดตอ และโรคที่มีปญหา สาธารณสุข 4. อธบิ ายผลกระทบของพฤตกิ รรมทม่ี ตี อ การปองกันโรค กิจกรรมที่ 2 จงเลือกคําตอบที่ถกู ตอ งท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว 1. ขอ ใดเปนโรคทถ่ี า ยทอดทางพนั ธกุ รรม ก. โรคเกาต ข. โรคไมเกรน ค. โรคกระเพาะ ง. โรคธาลสั ซีเมีย 2. ขอ ใดคอื อาการแพท่เี กิดขนึ้ กับระบบทางเดินหายใจ ก. เปนผ่ืนเมด็ ใส ๆ เกดิ ข้นึ บริเวณโพรงจมกู ข. หายใจไมออก แสบจมกู จามอยูเสมอ ค. คลนื่ ไส อาเจียน เปน ลม ชีพจรเตน ชา ง. เปน ผื่นข้ึนบริเวณผิวหนังทัว่ รางกาย

65 3. ขอใดคอื ลักษณะอาการของผูทแี่ พอาหารทะเล ก. เกิดผ่นื เม็ดเลก็ ๆ ข้ึนตามผิวหนัง ไมมอี าการคัน ข. ทองเสยี คลน่ื ไส อาเจียนจนหมดแรง ถา ยเปนมูกเลอื ด ค. วงิ เวยี นศีรษะ คดั จมูก หายใจไมอ อก ง. มีผน่ื หนาบรเิ วณผิวหนงั ตามรา งกาย มอี าการคนั 4. การปองกนั โรคคอพอก ควรทาํ อยางไร ก. กนิ ดนิ โปรง หรอื เกลือสินเธาว ข. กินอาหารทะเล ข. กนิ อาหารทีม่ ีแคลเซยี มมาก ๆ ง. กนิ อาหารที่มีธาตุเหลก็ มาก ๆ

66 บทท่ี 6 ความปลอดภยั จากการใชยา สาระสาํ คญั มีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับหลักการและวิธีการใชยาที่ถูกตอง สามารถจําแนก อนั ตรายทเี่ กดิ จากการใชย าได รวมทงั้ วเิ คราะหความเช่ือและอันตรายจากยาประเภทตางๆ เชน ยาบํารงุ กาํ ลัง ยาดองเหลา ตลอดจนการปอ งกนั และชว ยเหลือเม่ือเกิดอนั ตรายจากการใชยาได อยางถูกตอ ง ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง 1. อธบิ ายความหมายยาปฏิชวี นะและยาสมนุ ไพรได 2. อธิบายหลักการและวธิ กี ารใชยาท่ถี ูกตองได 3. วิเคราะหผ ลกระทบจากความเชื่อที่ผิดเกยี่ วกบั การใชยาได 4. อธบิ ายวธิ ีการเลือกใชยาปฏิชีวนะและยาสมุนไพรที่ถูกตอ งและปลอดภยั ได 5. จําแนกอันตรายท่ีเกิดจากการใชย าไดอ ยางถูกตอ ง 6. อธิบายวธิ กี ารปฐมพยาบาลและใหความชวยเหลือผทู ไี่ ดร บั อนั ตรายจากการใชย าได อยา งถูกตอ ง 7. เผยแพรความรทู ถี่ ูกตอ งเก่ียวกับการใชยาแกครอบครัวและชมุ ชน ขอบขา ยเนอื้ หา เร่อื งที่ 1 หลักการและวธิ กี ารใชย า เรอ่ื งที่ 2 ความเชอ่ื เกีย่ วกับการใชยา เรอื่ งที่ 3 วเิ คราะหอ นั ตรายจากการใชยา การปอ งกันและการชว ยเหลือ เรอื่ งที่ 4 การแนะนาํ ในการเลือกใชขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกับการใชย า

67 เร่ืองที่ 1 หลกั การและวิธีการใชย าท่ถี กู ตอ ง 1.1 ความหมายของยาปฏชิ วี นะและยาสมุนไพร 1.1.1 ยาปฏิชีวนะ (antibiotics) หรอื ยาตา นจลุ ชีพ หมายถึง ยาที่ผลิตมาจาก สิ่งมีชีวิต เพื่อใชรักษาโรคติดเช้ือ ซ่ึงแบงออกเปนกลุมยอยตามคุณสมบัติของยา ในการกําจัดเชื้อแตละชนิด เชน ยาตานเช้ือแบคทีเรีย ยาตานไวรัส ยาตานเชื้อรา ชื่ออื่น ที่ใชเรียกยาปฏิชีวนะ เชน ยาฆาเช้ือ หรือยาแกอักเสบ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวาเปนยา ท่ีมีคุณสมบัติครอบจักรวาล สามารถฆาเชื้อโรคไดทุกชนิด แกอาการอักเสบไดทุกชนิด ความจริงแลวยังมีโรคทีเ่ กดิ จากภาวะการอักเสบอกี มากมาย ทไี่ มส ามารถรกั ษาใหหายไดดวยยา ปฏิ ชี วนะ อาจตองใชยาแกอั กเสบ ท่ี มีคุ ณสมบั ติ ลดการอั กเสบโดยตรง เช น ยาแอสไพริน หรือพัก การใชอวัยวะสวนนั้นจนกวาจะหายดี นอกจากน้ียังมีการอักเสบ ทไี่ มไดเ กิดจากการติดเชื้อ เชน การที่ขออักเสบจากโรครูหมาตอยด หรือจากการบาดเจ็บเสียง แหบ เนอื่ งจากหลอดเสยี งอกั เสบ เพราะใชเ สยี งมาก ซ่ึงยาปฏชิ วี นะไมม ีประโยชนตอ การรกั ษา 1.1.2 ยาสมนุ ไพร คือ ยาทไี่ ดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธ าตุ ซ่ึงมิไดผสมปรุง หรือแปรสภาพ 1.1.3 ยาแผนโบราณ คือ ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ซึ่งอยูในตําราแผนโบราณท่ีรัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่ไดรับอนุญาตข้ึนทะเบียนเปนยาแผน โบราณ หรือใหเ ขาใจงา ยๆ คอื ยาท่ีไดจากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามท่ีระบุไวในตํารา ยาหรอื ท่ีกําหนดใหเปน ยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณน้นั กําหนดวา ใหใช วธิ ที ส่ี บื ทอดกันมาแตโ บราณโดยไมใ ชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตม รบั ประทาน หรอื ทําเปนผงละลายน้ํารับประทาน แตในปจจุบันมีขอกําหนดเพิ่มเติมใหยาแผน โบราณมกี ารพัฒนารูปแบบใหสะดวกและทันสมัยข้ึนเชนเดียวกับยาแผนปจจุบัน เชน ทําเปน เม็ด เมด็ เคลอื บนํา้ ตาลหรอื แคปซลู โดยมขี อสังเกตวาท่ีแคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ 1.2 หลกั และวธิ กี ารใชยา 1.2.1 หลักการใชยาปฏิชีวนะ การใชยาปฏิชีวนะ ใชเฉพาะเมื่อมีอาการ เจบ็ ปว ย ท่เี กดิ จากการติดเชื้อ และตอ งเลือกตัวยาปฏิชีวนะ ใหตรงกับเชื้อที่เปนสาเหตุ ดังน้ัน การใชยาปฏชิ วี นะ จงึ ตองใหแ พทยหรือเภสชั กรโดยเฉพาะทมี่ ีความรูทางดา น โรคติดเชื้อ เปน ผวู ินิจฉัยเลอื กตัวยาที่ไดผลกับเชื้อแตละชนิด รวมท้ังกําหนดปริมาณการใชยาท่ีเหมาะสมดวย การรักษาโรคจากการติดเชื้อแบคทเี รยี โดยใชยาปฏิชีวนะนั้น จะตองกนิ ใหไดครบตามขนาด และ ระยะเวลาท่ีจะฆาเชื้อท่ีเปนสาเหตุไดหมด แมอาการจะดีขึ้นแลว ซึ่งแตละโรคจะใชขนาดยา

68 และระยะเวลาการรักษาตางกัน หากกินยาไมครบ อาจทําใหการรักษาไมไดผล หรือกลับเปน โรคนั้นใหม และเชื้อโรคท่ีเปนสาเหตุอาจจะเปล่ียนเปนเช้ือดื้อยา ทําใหตองใชยาที่แพงข้ึน ในการรักษา หรอื รักษาโรคน้นั ไดยากขึน้ การปอ งกนั การดอ้ื ยานั้น ทําไดโ ดยการใชเฉพาะกรณี ที่จําเปนตองใชยาปฏิชีวนะรักษาโรคนั้นจริง โดยจะตองรักษาดวยชนิดและขนาดยาที่ถูกตอง และครบตามระยะเวลา 1.2.2 หลักการใชสมุนไพร เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคที่จะใช สมนุ ไพรไมวาจะเพือ่ ประสงคอยางไรก็ตามใหระลึกอยูเสมอวา ถาอยากมีสุขภาพท่ีดี หายจาก การเจ็บปวย สิ่งที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปนส่ิงที่ดี มีประโยชนตอรางกาย อยาให ความเช่ือแบบผิดๆ มาสงผลเสียกับรางกายเพิ่มขึ้น การเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และ ความรทู ถ่ี ูกตอ ง การใชจ งึ จะเกิดประโยชน ขอควรระวังในการใชอยางงาย ๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความ ปลอดภยั ในการใชสมุนไพร คือ - ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีชื่อพอง กนั การใชผดิ ตนนอกจากไมเ กิดผลในการรกั ษาแลวยังอาจเกิดพิษขึ้นได - ใชใหถ กู สว น ในแตละสวนของพืชสมุนไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมี สรรพคณุ ไมเหมือนกนั และบางสวนอาจมีพษิ เชน เมล็ดของมะกลา่ํ ตาหนเู พยี งเม็ดเดียวถาเค้ียว รบั ประทานอาจตายได ในขณะทสี่ ว นของใบไมเปนพิษ - ใชใหถ ูกขนาด ปริมาณการใชเปนสวนสําคญั ทที่ ําใหเ กดิ พิษโดยเฉพาะ ถา มีการใชใ นปริมาณทีม่ ากเกินไป หรือถา นอ ยเกนิ ไปกไ็ มเ กดิ ผลในการรักษา - ใชใ หถกู โรค สมุนไพรแตล ะชนดิ มีสรรพคุณไมเหมอื นกนั เปน โรคอะไร ควรใชสมุนไพรที่มีสรรพคุณรักษาโรคน้ันๆ และสิ่งที่ควรคํานึงคือ อาการเจ็บปวย บางอยางมี ความรุนแรงถึงชีวิตได ถาไมไดรับการรักษาทันทวงที ในกรณีเชนน้ีไมควรใช ยาสมุนไพร ควรรบั การรกั ษาจากแพทยผ เู ชี่ยวชาญจะเหมาะสมกวา การรับประทานยาสมนุ ไพรจากที่เตรียมเอง ปญหาที่พบบอยคือ ไมทราบขนาดการ ใชท่ีเหมาะสมวาจะใชปริมาณเทาใด ขอแนะนําคือ เร่ิมใชแตนอยกอนแลวคอยปรับปริมาณ เพม่ิ ขนึ้ ตามความเหมาะสมทีหลงั (มศี พั ทแบบพ้นื บานวา ตามกําลัง) ไมควรรับประทานยาตาม คนอ่ืนเพราะอาจทําใหรับยามากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาท่ซี อ้ื จากรา นควรอา นฉลากวธิ กี ารใชอยางละเอยี ดและใหเขา ใจกอ นใชท ุกคร้งั

69 โดยทั่วไปสมุนไพรเม่ือเก็บไวนานๆ ยอมมีการผุพัง เกิดความช้ืน เชื้อรา หรือมี แมลงวนั มากัดกิน ทําใหอ ยูในสภาพทไ่ี มเหมาะสมท่ีจะนาํ ไปใช และมีการเสื่อมสภาพลงแตการ จะกาํ หนดอายุที่แนนอนน้ันทําไดย าก จงึ ควรนับตงั้ แตว ันผลติ ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไม ควรใชเมอื่ มอี ายุเกิน 2 ป ยกเวน มีการผลติ หรอื เก็บบรรจทุ ี่ดี และถาพบวามีเชื้อรา มีกลิ่นหรือสี เปลี่ยนไปจากเดมิ ก็ไมค วรใช ขอ สังเกตในการเลอื กซอ้ื สมุนไพร และยาแผนโบราณ ยาแตละชนิดทางกฎหมายมีขอกําหนดที่แตกตางกัน ในการเลือกซ้ือหรือเลือกใช จงึ ตองรคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมาย วามีคุณสมบัติอยางไร มีวิธีการในการสังเกต อยา งไร เพอ่ื ทําใหทราบวายานัน้ ควรใชห รอื มีความปลอดภัยหรือไม 1.2.3 หลกั ปฏบิ ัตใิ นการใชย า การใชยาควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1) อานฉลากยาใหละเอียดกอนการใชทุกคร้ัง ซึ่งโดยปกติยาทุก ขนาดจะมีฉลากบอกช่อื ยา วิธีการใชย า ขอหามในการใชย า และรายละเอยี ดอืน่ ๆ ไวดวยเสมอ จงึ ควรอานใหล ะเอยี ดและปฏิบตั ิตามคาํ แนะนําอยางเครงครัด 2) ใชยาใหถูกชนิดและประเภทของยา ซ่ึงถาผูใชยาหยิบยาไม ถูกตองจะเปนอันตรายตอผูใชและรักษาโรคไมหาย เน่ืองจากยาบางชนิดมีช่ือ สี รูปราง หรือ ภาชนะบรรจคุ ลายกัน แตตวั ยา สรรพคณุ ยาทบี่ รรจภุ ายในจะตา งกัน 3) ใชย าใหถกู ขนาด เพราะการใชย าแตละชนดิ ในขนาดตาง ๆ กัน จะมี ผลในการรักษาโรคได ถาไดรับขนาดของยานอยกวาที่กําหนดหรือไดรับขนาดของยาเพียง ครึ่งหนึ่ง อาจทําใหการรักษาโรคนั้นไมไดผลและเชื้อโรคอาจดื้อยาได แตหากไดรับยาเกิน ขนาด อาจเปนอันตรายตอรางกายได ดังนั้น จึงตองใชยาใหถูกตองตามขนาดของยาแตละ ชนิด เชน ยาแกป วดลดไข ตอ งใชครงั้ ละ 1–2 เม็ด ทกุ ๆ 4–6 ชัว่ โมง เปนตน 4) ใชย าใหต รงตามเวลา เน่ืองจากยาบางชนิดตองรับประทานกอน อาหาร เชน ยาปฏิชีวนะพวกเพนนิซิลลิน เพราะยาเหลาน้ีจะดูดซึมไดดีในขณะทองวาง ถาเรา รับประทานหลงั อาหาร ยาจะถกู ดดู ซมึ ได ไมดี ซึง่ จะมผี ลตอการรักษาโรค - ยากอนอาหาร ควรรับประทานกอนอาหารประมาณครึ่งถึงหน่ึง ชัว่ โมง - ยาหลังอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารทันที หรือไมควรจะ นานเกนิ 15 นาที หลงั อาหาร

70 - ยากอนนอน ควรรับประทานกอนเขานอน เพื่อใหรางกาย ไดรับการพักผอน 5) ใชยาใหถูกวิธี เชน ยาอมเปนยาที่ตองการผลในการออกฤทธิ์ ที่ปาก จงึ ตอ งอมใหละลายชา ๆ ไปเรอื่ ย ๆ ถาเรากลืนลงไปพรอมอาหารในกระเพาะ ยาจะออก ฤทธผิ์ ิดท่ี ซงึ่ ไมเ ปน ที่ที่เราตองการใหรักษา การรักษานั้นจะไมไดผล ยาทาภายนอกชนิดอ่ืน ๆ ก็เชนกนั เปน ยาทาภายนอกรางกาย ถา เรานําไปทาในปากหรือนําไปกินจะไมไดผลและอาจให โทษตอรา งกายได 6) ใชยาใหถูกกับบุคคล แพทยจะจายยาตรงตามโรคของแตละ บคุ คลและจะเขยี นหรือพมิ พชอื่ คนไขไวห นา ซองยาทุกคร้ัง ดังนั้น จึงไมควรนําไปแบงใหผูอื่นใช เพราะอาจไมต รงกับโรคและมผี ลเสยี ได เนอื่ งจากยาบางชนิดหามใชในเด็ก คนชรา และหญิงมี ครรภ ยาบางชนดิ มีขอหามใชในบุคคลท่ีปวยเปนโรคบางอยาง ซ่ึงถานําไปใชจะมีผลขางเคียง และอาจเปนอนั ตราตอผูใชย าได 7) ไมควรใชยาที่หมดอายุหรือเส่ือมคุณภาพ ซึ่งเราอาจสังเกตได จากลักษณะการเปลยี่ นแปลงภายนอกของยา เชน สี กลิน่ รส และลกั ษณะที่ผิดปกตไิ ปจากเดมิ ไมควรใชยานนั้ เพราะเสอื่ มคุณภาพแลว แตถึงแมวาลักษณะภายนอกของยายังไมเปล่ียน เราก็ ควรพิจารณาดวู ันทห่ี มดอายุกอนใช ถาเปน ยาท่หี มดอายแุ ลวควรนําไปท้ิงทันที 1.2.4 ขอควรปฏิบัติในการใชยา 1. ยาน้ําทุกขนาดควรเขยาขวดกอนรินยา เพื่อใหตัวยา ที่ตกตะกอนกระจายเขา เปน เนื้อเดียวกัน 2. ยาบางชนิดยังมีขอกําหนดไวไมใหใชรวมกับอาหารบางชนิด เชน หา มด่มื พรอ มนมหรือน้ําชา กาแฟ เน่ืองจากมีฤทธิ์ตานกัน ซ่ึงจะทําใหเกิดอันตรายหรือไมมีผล ตอการรักษาโรคได 3. ไมค วรนาํ ตวั อยางเม็ดยา ขวดยา ซองยา หรือหลอดยาไปหาซ้ือมา ใชหรือรบั ประทานเอง หรอื ใชย าตามคาํ โฆษณาสรรพคณุ ยาจากผขู ายหรอื ผผู ลิต 4. เม่ือใชย าแลว ควรปดซองยาใหสนิท ปองกันยาช้ืน และไมควรเก็บ ยาในทแ่ี สงแดดสองถึง หรอื เกบ็ ในทอ่ี บั ช้ืนหรือรอ นเกินไป เพราะจะทาํ ใหย าเส่อื มคุณภาพ 5. เม่ือลืมรับประทานยาม้ือใดม้ือหนึ่ง หามนํายาไปรับประทานรวม กับม้ือตอไป เพราะจะทําใหไดรับยาเกินขนาดได ใหรับประทานยาตามขนาดปกติในแตละม้ือ ตามเดมิ

71 6. หากเกิดอาการแพยาหรือใชยาผิดขนาด เชน มีอาการคล่ืนไส อาเจยี น บวมตามหนา ตาและรางกาย มีผื่นข้ึนหรือแนนหนาอก หายใจไมออก ใหหยุดยาทันที และรีบไป พบแพทยโ ดยดวน พรอมท้ังนํายาท่รี ับประทานไปใหแพทยว ินิจฉัย 7. ไมควรเก็บยารักษาโรคของบุคคลในครอบครัวปนกับยาอ่ืนๆ ที่ใช กบั สัตวหรอื พชื เชน ยาฆาแมลงหรือสารเคมอี ืน่ ๆ เพราะอาจเกดิ การหยบิ ยาผิดไดง าย 8. ไมควรเกบ็ ยารักษาโรคไวใกลมือเด็กหรือในท่ีที่เด็กเอ้ือมถึง เพราะ เด็กอาจหยบิ ยาไปใสปากดว ยความไมร ูแ ละอาจเกดิ อันตรายตอ รา งกายได 9. ควรซ้ือยาสามัญประจําบานไวใชเองในครอบครัว เพื่อใชรักษาโรค ทั่ว ๆ ไปที่ไมรายแรงในเบื้องตนเนื่องจากมีราคาถูก ปลอดภัย และท่ีขวดยาหรือซองยาจะมี คําอธบิ ายสรรพคุณและวิธีการใชงาย ๆ ไวทุกชนิด แตถาหากเม่ือใชยาสามัญประจําบานแลว อาการไมด ีข้นึ ควรไปพบแพทยเพ่ือตรวจรกั ษาตอไป เร่ืองที่ 2 ความเชื่อเก่ียวกบั การใชยา ปจจุบันแมวาความกาวหนาทางแพทยสมัยใหมรวมทั้งวิถีชีวิตท่ีไดรับอิทธิพลจาก ตะวันตก ทําใหคนท่ัวไปเม่ือเจ็บปวยหันไปพึ่งการรักษาจากบุคลากรทางการแพทยซ่ึงมุงเนน การใชย าแผนปจจุบันในการรักษาอาการเจ็บปวยเปนหลัก ความเชื่อถือในยาพ้ืนบาน ยาแผน โบราณลดนอยลง ทําใหภูมิปญญาพ้ืนบานรวมถึงตําหรับยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวน มาก นอกจากน้ันยังขาดความตอเนื่องในการถายทอดองคความรูในการดูแลรักษาตนเอง เบื้องตนดว ยวิธกี ารและพชื ผกั สมุนไพร ทห่ี าไดงายในทองถนิ่ โดยองคค วามรูท่ถี ายทอดจากรุนสูรุนน้ัน ไดผานการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผล และไมเกิดอันตรายตอสุขภาพ ยังคงมีความเช่ือบางประการเก่ียวกับการใชยา เพื่อเสริม สขุ ภาพ และสมรรถภาพเฉพาะดา น ซง่ึ ยังไมไดร บั การพสิ จู นดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร การแพทย วา มีสรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอา ง ซ่งึ อาจกอใหเกดิ อนั ตรายหรือผลขางเคียงหาก ใชจํานวนมากและตอเนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลอื ด ยาชงสมนุ ไพร ยาท่ีทํา จากอวยั วะ ซากพชื ซากสัตว เปนตน รวมถงึ ยาชดุ ตาง ๆ ที่มักมีการโฆษณาชวนเช่ือ อวดอาง สรรพคุณเกินจรงิ ทําใหคนบางกลมุ หลงเชอ่ื ซอ้ื มารับประทาน ยาบางชนิดมรี าคาแพงเกินปกติโดย อางวา ทําจากผลติ ภณั ฑท ่หี ายาก สรรพคณุ ครอบจักรวาล กลาวอางเกนิ จรงิ เชน - กินแลวจะเจรญิ อาหาร ทาํ ใหรับประทานอาหารไดม ากข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพรบางชนิด เปนตน

72 - กินแลว จะทําใหม ีกําลัง สามารถทํางานไดท นนาน - กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพ่ิมข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตนี หมี ดงี ูเหา เปนตน - กินแลวจะทําใหเลือดลมไหลเวียนดี นอนหลับสบาย ผิวพรรณผองใส เชน ยาฟอกเลือด ยาขับระดู เปน ตน - กินแลวทําใหเปนหนุมเปนสาว อวัยวะบางสวนใหญขึ้น เชน เขากวาง กวาวเครือแดง เสรมิ ความหนมุ กวาวเครือขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน - กนิ แลวจะชว ยชะลอความแกห รือความเส่ือมของอวัยวะ เชน รังนกซึ่งทําจาก นา้ํ ลายของนกนางแอน หูฉลามหรือครบี ของฉลาม หรอื โสม เปน ตน - กินแลวรักษาอาการปวดเมื่อย ไขขออักเสบเร้ือรัง เชน ยาชุดตาง ๆยาแก กระษยั ไตพกิ าร ซ่งึ มกั ผสมสารหนู ทเ่ี ปน อนั ตรายตอ รา งกายมาก ทงั้ น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกดิ จากความเช่ือผิด ๆ หรือเชื่อในคําโฆษณาเกิน จรงิ ที่แฝงมาดวยภัยเงยี บทีก่ อใหเกดิ อันตรายตอรางกายหากใชอ ยางตอเนื่อง และใชในจํานวน มาก นอกจากนี้ยงั ทําใหเสียคาใชจายคอนขางสูง แตไมเกิดประโยชนตอรางกายไมมีผลในการ รักษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ีกลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือยาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ มาใช ควรศกึ ษาสรรพคุณ สว นประกอบ แหลงผลิต วนั หมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิต โดยพจิ ารณาจากมเี ลขทะเบียนถกู ตอ งหรอื มีตรา อย. หรือมใี บอนญุ าตการผลติ ใบประกอบโรค ศิลปะแพทยแ ผนโบราณ เปน ตน 2.1 ความเชือ่ และขอควรระวังในการใชย าชุด ยาดองเหลา และยาชงสมุนไพร 2.1.1 ยาชุด ยาชุด หมายถึง ยาท่ีผูขายจัดรวมไวใหกับผูซ้ือ สําหรับใหกินคร้ังละ 1 ชุด รวมกนั หมด โดยไมแ ยกวาเปน ยาชนิดใด ควรจะกินเวลาไหน โดยทั่วไปมักจะมียา ต้ังแต 3–5 เม็ด หรืออาจมากกวาและอาจจัดรวมไวในซองพลาสติกเล็กๆ พิมพฉลากบงบอกสรรพคุณไว เสร็จ สรรพคณุ ทพี่ ิมพไวบนซองยาชดุ มักโออวดเกินความจริง เพื่อใหขายไดมาก ชื่อที่ตั้งไวจะ เปนช่ือที่ดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชดุ แกไขมาลาเรีย เปนตน เนื่องจากผูจดั ยาชุดไมม ีความรูเรื่องยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเ ปน สาํ คญั ดังน้นั ผูใชยาชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อนั ตรายจากยาสงู มาก

73 อันตรายจากการใชยาชุด 1. ไดรับตัวยาซ้ําซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุด แกปวดเม่ือย ในยาชุดหนึ่งๆ อาจมียาแกปวด 2-3 เม็ด ก็ได ซึ่งยาแกปวดนี้จะอยูในรูปแบบ ตา งกนั อาจเปนยาคนละสหี รือขนาดเมด็ ยาไมเ ทา กนั แตมตี ัวยาแกปวดเหมือนกัน การที่ไดรับยา เกินขนาดทาํ ใหผูใชยาไดรบั พิษจากยาเกินขนาด 2. ไดรับยาเกินความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชวี นะยาลดน้าํ มูก ยาทําใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดใน อาการหวดั ท่ีเกิดจากเช้ือไวรัส และอาการหวัดของแตละคนไมเหมือนกัน ถาไมปวดหัวเปนไข ยาแกปวด ลดไขไ มจ ําเปน ไมมีอาการไอไมควรใชยาแกไอ การรักษาหวัด ควรใชบรรเทาเฉพาะ อาการทเี่ กดิ ขึน้ เทาน้นั ไมจ ําเปนตองกินยาทกุ ชนิดท่ีอยูในยาชุด 3. ในยาชุดมักมยี าเสื่อมคณุ ภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเกบ็ รกั ษา ยาชดุ ที่ อยูใ นซองพลาสตกิ จะไมสามารถกันความช้ืน ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดท่ีบริษัท เดิมผลติ มา ทําใหย าเสอื่ มคณุ ภาพเรว็ นอกจากน้นั ผจู ัดยาบางชุดบางรายตองการกําไรมาก จึงเอา ยาปลอมมาขายดวย ซง่ึ เปนอันตรายมาก 4. ในยาชุดมกั ใสย าอันตรายมากๆ ลงไปดว ย เพอ่ื ใหอ าการของโรคบรรเทา ลงอยา งรวดเรว็ เปนท่ีพอใจของผซู อ้ื ทงั้ ผขู ายโดยท่ียาจะไปบรรเทาอาการแตไ มไดแกสาเหตุของ โรคอยางแทจริง อาจทําใหโรคเปนมากขึ้น ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุก ชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายาครอบจักรวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธิ์บรรเทา อาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรคทุเลาลงเร็วแตจะไมรักษาโรคใหหาย ยาส เตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทําใหเกิดอันตรายตอผูใชสูงมากทําใหเกิด อาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทาํ งานหนัก หนาบวมกลมเหมือนพระจันทร ทําให กระดูกพรุน เปราะหักงาย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําใหเกิด ความผิดปกตดิ านประสาทจิตใจ 5. ผูท่ใี ชยาชุดจะไดยาไมครบขนาดรักษาที่พบบอ ยคือการไดรบั ยาปฏิชีวนะ เพราะการใชยาปฏชิ ีวนะตองกนิ อยางนอย 3-5 วัน วันละ 2-4 ครั้ง แลวแตชนิดของยา แตผูซ้ือ ยาชุดจะกินยาเพียง 3 - 4 ชุด โดยอาจกินหมดในหน่ึงวัน หรือกินวันละชุด ซ่ึงทําใหไดรับยา ไมครบขนาด โรคไมหายและกลบั ดอ้ื ยา อีกดวย

74 2.1.2 ยาดองเหลา และยาเลอื ด แตเดิมยากลุมน้ีจะใชในกลุมสตรีเพ่ือบํารุงเลือด ระดูไมปกติ และใช ในกลุมสตรีหลงั การคลอดบุตร เพื่อใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบของตัวยาจะมีสมุนไพรท่ีมี รสเผ็ดรอนหลายชนิด เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว เปลือกอบเชยเทศ ขงิ และสว นผสมอนื่ ๆ แลวแตชนดิ ของตํารับ มีขายทั้งท่ีเปนชิ้นสวนสมุนไพร และท่ีผลติ สําเร็จรูปเปน ยาผงและยาน้าํ ขาย และหลายตํารับจะมกี ารดองเหลาดวย การอวนมัก เกิดจากแอลกอฮอล (เหลา) ที่ไปลดการสรางพลังงานที่เกิดจากกรดไขมัน จึงมีการสะสมของ ไขมันในรางกาย และอาจเกิดตับแข็งไดถารับประทานในปริมาณมาก ๆ และติดตอกันทุกวัน นอกจากน้กี ารดื่มเหลาอาจทําใหเ ด็กทารกที่อยูในครรภเกิดการพกิ ารได ในเร่ืองยาเลือดน้ีอาจมี ความเช่ือและใชกันผิดๆ คือการนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปน ยาทําแทง ซ่ึงเปนสิ่งที่ไมควร อยางยิ่งโดยเฉพาะเมอื่ การตัง้ ครรภเกนิ 1 เดือน เน่ืองจากไมคอยไดผล และผลจากการกระตุน การบบี ตัวและระคายเคอื งตอผนังมดลูกท่ีเกิดจากการใหยาอาจทําใหเกิดการทําลายของเย่ือบุ ผนงั มดลกู บางสว นเปน เหตุใหท ารกเกิดมาพิการได 2.1.3 ยาชงสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรเปน ท่นี ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและ เอเชยี ในประเทศไทยปจ จุบนั พบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปน ยาชงมาก ขนึ้ เชน ยาชงดอกคาํ ฝอย หญา หนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน ขอดีของยาชง คือ มกั จะใชสมุนไพรเดี่ยว ๆ เพียงชนิดเดียว เม่ือใชกินแลว เกิดอาการอันไมพ งึ ประสงค อยางไรกต็ ามสามารถรวู า เกดิ จากสมนุ ไพรชนิดใด สําหรับประเทศไทย รายงานดานนี้ยังไมพบมากนัก เน่ืองจากสวนใหญมี การเลือกใชสมุนไพรที่คอนขางปลอดภัย แตท่ีควรระวังมีชาสมุนไพรท่ีมีสวนผสมของ ใบหรือฝกมะขามแขก ใชประโยชนเปนยาระบายทอง บางย่ีหอระบุเปนยาลดความอวนหรือ รบั ประทานแลวจะทําใหหนุ เพรยี วข้นึ อาการทีเ่ กดิ คือ สาเหตุจากมะขามแขกจะไปกระตุนการ บีบตัวของสําไสใหญ ทําใหเกิดการขับถาย การรับประทานบอย ๆ จะทําใหรางกายไดรับการ กระตุนจนเคยชนิ เม่ือหยุดรบั ประทานรางกายจงึ ไมส ามารถขบั ถา ยไดเองตามปกติ จึงไมควรใชยา ชนิดนี้ติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพิ่มปริมาณกาก และชวยหลอลื่น อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสรู างกาย เชน สารสกดั จากหัวบกุ จะปลอดภยั กวา แตการรับประทาน

75 ติดตอกันนานๆ อาจทําใหรางกายไดรับไขมันนอยกวาความตองการก็ได เพราะรางกายเรา ตอ งการไขมันตอ การดํารงชีพดว ย เร่อื งท่ี 3 การวิเคราะหอนั ตรายจากการใชย า การปองกันและการชว ยเหลอื ยาทุกชนิดมีท้ังคุณและโทษ เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากการใชยาจึงควรใชยาอยาง ระมดั ระวัง และใชเ ทาท่จี ําเปนจรงิ ๆ เทา นนั้ อนั ตรายจากการใชย ามสี าเหตุทส่ี ําคญั ดังน้ี 3.1 ผูใชย าขาดความรูในการใชย า แบง ได ดังน้ี 3.1.1 ใชย าไมถ ูกตอง เชน ไมถูกโรค บุคคล เวลา วิธี ขนาด นอกจากทําใหการใช ยาไมไ ดผ ลในการรกั ษาแลว ยังกอ ใหเกิดอันตรายจากการใชยาอีกดวย 3.1.2 ถอนหรือหยุดยาทันที ยาบางชนดิ เมอื่ ใชไดผ ลในการรักษาแลวตองคอย ๆ ลดขนาดลงทีละนอยจนสามารถถอนยาได ถาหยุดทันทีจะทําใหเกิดโรคขางเคียงหรือโรคใหม ตามมา ตัวอยาง เชน ยาเพรดนิโซโลน ยาเดกซาเมธาโซน ถาใชติดตอกันนานๆ แลวหยุดยา ทันที จะทําใหเกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไสอาเจียน ปวดทอง รางกายขาดน้ําและเกลือแร เปน ตน 3.1.3 ใชย ารวมกนั หลายขนาน การใชยาหลายๆ ชนิดรกั ษาโรคในเวลาเดยี วกัน บางครงั้ ยาอาจเสริมฤทธิ์กันเอง ทาํ ใหย าออกฤทธ์ิเกินขนาด จนเกิดอาการพิษถึงตายได ในทาง ตรงกันขาม ยาอาจตานฤทธก์ิ ันเอง ทาํ ใหไมไ ดผ ลตอการรักษาและเกดิ ด้ือยา ตวั อยา งเชน การใชยาปฏิชวี นะรวมกันระหวาง เพนิซิลลนิ กับเตตราซัยคลนี นอกจากนี้ ยาบางอยางอาจเกิด ผลเสียถาใชรวมกับเคร่ืองดื่ม สุรา บุหรี่ และอาหารบางประเภท ผูที่ใชยากดประสาทเปน ประจาํ ถา ดืม่ สรุ าดว ยจะย่ิงทาํ ใหฤ ทธก์ิ ารกดประสาทมากข้นึ อาจถึงขั้นสลบและตายได 3.2 คุณภาพยา แมผูใชยาจะมีความรูในการใชยาไดอยางถูกขนาด ถูกวิธี และถูกเวลาแลว ก็ตาม แตถายาท่ีใชไมมีคุณภาพในการรักษาจะกอใหเกิดอันตรายได สาเหตุที่ทําให ยาไมมี คุณภาพ มดี ังน้ี 3.2.1 การเกบ็ ยาท่ีผลติ ไดมาตรฐาน แตเก็บรกั ษาไมถ ูกวธิ ีจะทาํ ใหยาเสือ่ มคณุ ภาพ เกิดผลเสียตอผูใช ตัวอยางเชน วัคซีน ตองเก็บในตูเย็น ถาเก็บในตูธรรมดายาจะเสื่อมคุณภาพ แอสไพรนิ ถา ถูกความชน้ื แสง ความรอน จะทําใหเปลี่ยนสภาพ ซึ่งไมไดผลในการรักษาแลวยัง กดั กระเพาะทะลุอีกดว ย

76 3.2.2 การผลติ ยาทผี่ ลติ แลว มคี ณุ ภาพตาํ่ กวามาตรฐาน อาจเกดิ ขึน้ เนอ่ื งจากหลาย สาเหตุ คอื ใชวตั ถดุ บิ ในการผลติ ทมี่ ีคุณภาพตา่ํ และมีวตั ถุอนื่ ปนปลอม กระบวนการการผลิตไม ถูกตอง เชน อบยาไมแหง ทําใหไดยาที่เสียเร็ว ขึ้นรางาย นอกจากนี้พบวา ยาหลายชนิดมี การปะปนของเช้อื จุลินทรีย .ตํารบั ยาบางชนิดที่ใชไมเหมาะสม เปนสูตรผสมยาหลาย ๆ ตัวใน ตํารับเดียว ทาํ ใหย าตีกัน 3.3 พยาธสิ ภาพของผูใชยา และองคประกอบทางพันธุกรรมผูปวยท่ีเปนโรคเก่ียวกับ ตบั หรือไต จะมคี วามสามารถในการขบั ถายยาลดลง จึงตองระวงั การใชยามากย่ิงข้ึน นอกจากน้ี องคประกอบทางกรรมพันธุจะทําใหความไวในการตอบสนองตอยาของบุคคลแตกตางกัน ดงั น้นั ผูใชยาควรศกึ ษาเรื่องการใชย าใหเขาใจอยางแทจรงิ และใชยาอยางระมัดระวังเทาที่จําเปน จริงๆ เทานั้น โดยอยใู นความดูแลของแพทยหรือเภสัชกรอยางใกลชิด จะชวยขจัดสาเหตุที่ทําให เกิดอนั ตรายจากการใชย าไดอยางไรก็ตาม ผูใชยาควรตระหนักถึงโทษหรืออันตรายจากการใชยา ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ได ดงั ตอ ไปนี้ 3.3.1 การแพย า (Drug Allergy หรือ Drug Hypersensitivity) เปน ภาวะที่รางกายเคยไดรับยาหรือสารที่มีสูตรคลายคลึงกับยาน้ันมากอน แลว ยาหรือสารน้ันจะกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันขึ้นเรียกวา “สิ่งตอตาน” (Antibody) โดยใชเวลาประมาณ 7-14 วัน เม่ือไดรับยาหรือสารนั้นอีก จะเกิดปฏิกิริยาไดสารประกอบ เชงิ ซอนเปน “สิง่ เรงเรา ” (Antigen) ใหรา งกายหล่งั สารบางอยา งทสี่ าํ คญั ทาํ ใหเ กิดอาการ แพข้ึน การแพยาจะมีต้ังแตอาการเล็กนอย ปานกลาง จนรุนแรงมาก ถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งน้ีขึ้นอยูกับองคประกอบตอไปนี้ 1) ชนิดของยา ยาท่ีกระตุนใหเกิดอาการแพที่พบอยูเสมอ ไดแก เพนซิ ิลลนิ แอสไพริน ซัลโฟนาด เซรมุ แกบาดทะยกั ยาชา โปรเคน นา้ํ เกลือ และเลือด เปนตน 2) วิธีการใชยา การแพยาเกิดข้ึนไดจากการใชยาทุกแบบ แตการ รับประทานเปน วธิ ีทที่ ําใหแพน อ ยทส่ี ุด ขณะทก่ี ารสมั ผสั หรือการใชยาทาจะทําใหเกิดอาการแพ ไดงายที่สุด สวนการฉีด เปนวิธีการใหยาที่ทําใหเกิดการแพอยางรวดเร็ว รุนแรง และแกไข ไดยาก

77 3) พันธุกรรม การแพยาเปนลักษณะเฉพาะของบุคคล คนที่มีความไวใน การถูกกระตุนใหแ พย า หรอื คนที่มีประวตั ิเคยเปนโรคภูมิแพ เชน หืด หวัดเรื้อรัง ลมพิษผื่นคัน จะมีโอกาสแพยามากกวาคนทว่ั ไป 4) การไดร ับการกระตุน มากอน ผูปวยเคยไดรับยาหรือสารกระตุนมากอน แลวในอดีต โดยจําไมไดห รือไมรตู วั เมอื่ ไดรบั ยาหรือสารนนั้ อกี ครัง้ จงึ เกดิ อาการแพ เชนในราย ท่ีแพเ พนิซลิ ลนิ เปนครั้งแรก โดยมีประวตั ิวาไมเ คยไดรบั ยาท่ีแพมากอนเลย แทที่จริงแลวผูปวย เคยไดรับสารเพนิซิลลินมากอนแลวในอดีต แตอาจจําไมไดหรือไมรูตัว เพราะผูปวยใชยาที่ไม ทราบวามีเพนซิ ิลลนิ อยดู ว ย หรืออาจรบั ประทานอาหารบางชนิดที่มเี ชอื้ เพนิซลิ เลียมอยูด วย การปอ งกันและการแกไข การปองกันมิใหเกิดอาการแพยาเปนวิธีที่ดีท่ีสุด เพราะถาอาการแพร นุ แรงมาก อาจแกไ ขไมทนั การ โดยทั่วไปการปองกนั อาจทาํ ไดดงั น้ี 1) งดใชยา ผูปวยควรสังเกต จดจํา และงดใชยาท่ีเคยแพมากอน นอกจากนี้ ยงั ควรหลีกเลีย่ งการใชยาที่อยูในกลุมเดียวกัน หรือมสี ูตรโครงสรา งใกลเคียงกันดวย 2) ควรระมัดระวังการใชยาท่ีมักทําใหเกิดอาการแพงายบอย ๆ เชน เพนิซิลลิน ซัลโฟนาไมด หรือซาลิซัยเลท เปนตน โดยเฉพาะรายที่มีประวัติหอบหืด หวดั เร้ือรัง ลมพิษ ผ่ืนคัน แพสารตาง ๆ หรือแพย ามาแลว ควรบอกรายละเอียดใหแพทยหรือ เภสชั กรทราบกอนใชย า 3) กรณีที่จําเปนจะตองใชยาท่ีเคยแพ จะตองอยูในความดูแลของแพทย อยางใกลชิด โดยแพทยจะใชยาชนิดที่แพคร้ังละนอย ๆ และใหยาแกแพพรอมกันไปดวยเปน ระยะเวลาหนงึ่ จนกวารา งกายจะปรับสภาพไดจ นไมแพแลว จงึ จะใหย าน้นั ในขนาดปกติได การแกไขอาการแพยา ควรพิจารณาตามสภาพของการแพ ในกรณีที่มี อาการแพเพียงเล็กนอย เชน ผื่นคัน คัดจมูก ควรหยุดใชยา ซ่ึงจะชวยใหอาการตาง ๆ ลดลง และหมดไปภายใน 2-3 ชัว่ โมง สาํ หรบั รายท่ีมอี าการผ่ืนคันมากอาจจะใหยาแกแ พรว มดว ย ถามี อาการแพรุนแรงมากและเกิดขึ้นควรไปพบแพทยทันทีทันใด ควรลดการดูดซึมของยา โดยทําให อาเจียนหรอื ใหก ินผงถาน เพอื่ ชว ยดดู ซมึ ยา นอกจากนี้ ควรชว ยการหายใจเพ่ือชวยขยายหลอดลม และเพิม่ ความดันโลหติ ถามีอาการอกั เสบ อาจใชยาแกอักเสบชวยบาง 3.3.2 ผลขา งเคียงของยา (Side Effect) หมายถงึ ผลหรอื อาการอื่น ๆ ของยาอันเกิดขึ้นนอกเหนือจากผลท่ีตองการ ใชในการรักษา ดังเชน ยาแกแพม ักจะทาํ ใหเ กดิ อาการงวงซมึ เปน ผลขา งเคียงของยา หรือเตตรา

78 ซัยคลีนใชกับเด็ก ทําใหเกิดผลขางเคียง คือฟนเหลืองอยางถาวร เปนตน ในกรณีท่ีเกิด ผลขา งเคยี งของยาข้นึ ควรหยุดยาและหลกี เลี่ยงการใชยานน้ั ทันที 3.3.3 การดือ้ ยา (Drug Resistance) พบมากที่สุด มักเน่ืองมาจากการใชยาปฏิชีวนะไมตรงกับชนิดของ เชื้อโรคหรือใชไมถกู ขนาด หรือใชในระยะเวลาท่ีไมเพียงพอตอการทําลายเชื้อโรค ซึ่งเรียกวา การดื้อยา 3.3.4 การติดยา (Drug Dependence) ยาบางชนิดถาใชไมถูกตองหรือใชตอเน่ืองกันไปชั่วระยะเวลาหนึ่งจะทําใหติดยา ขนานนน้ั ได เชน ฝน มอรฟน บารบ ิทเู รต แอมเฟตามนี ยากลอมประสาท เปนตน 3.3.5 พษิ ของยา (Drug Toxicity) มักเกิดขึ้นเนอื่ งจากการใชย าเกนิ ขนาด สาํ หรับพษิ หรือผลเสียของยาอาจกลาว โดยสังเขป ไดด งั น้ี 1) ยาบางชนิดรับประทานแลวเกิดอาการไข ทําใหเขาใจผิดวาไขเกิด จากโรค ในรายเชนน้เี มอ่ื หยดุ ยาอาการไขจ ะหายไปเอง 2) ความผดิ ปกติของเม็ดเลือดและสวนประกอบของเลือด ยาบางอยางจะ ยบั ย้ังการทํางานของไขกระดกู ทาํ ใหเ มด็ เลือดขาวและเม็ดเลือดแดงลดจํานวนลงกวาระดับปกติ เปนผลใหเกิดภาวะโลหิตจาง รางกายออนแอ ติดเช้ือไดงายและรุนแรง ยาบางขนานที่ใชรักษา มาเลเรีย จะทาํ ใหเมด็ เลอื ดแดงสลายตัวไดงายกวาปกติ 3) ความเปนพิษตอตับ ถึงแมตับจะเปนอวัยวะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุด ในการกําจดั ยา แตม นั กถ็ ูกกับตัวยาในความเขมขนท่ีสูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานที่อาจเปนอันตรายตอเซลลของตับโดยตรง ในขนานสูงมากๆ อาจทําใหตับหยอน สมรรถภาพได 4) ความเปนพิษตอไต ไตเปนอวัยวะท่ีสําคัญที่สุดในการขับถายยาออก จากรางกาย ยาจาํ พวกซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทาํ ใหไตอักเสบเวลารับประทานยา พวกนจี้ ึงควรดืม่ นํ้ามาก ๆ นอกจากนี้ ยังมียาทอ่ี าจทําใหเ กดิ พิษโดยตรงตอ ไตได เชน ยานีโอมัย ซิน เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวกเพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปน เวลานาน อาจกอใหเ กิดพิษตอไต ไตหยอ นสมรรถภาพ จนถึงขนั้ เสยี ชีวิตได 5) ความเปนพิษตอเสน ประสาทของหูยาบางชนิดเปนพิษตอเสน ประสาทของ หู ทาํ ใหอ าการหูออื้ หูตึง และหูหนวกได

79 6) ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใชแอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวน กระวาย อยูไมส ขุ และชักได สวนยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําให เกิดอาการงวง ซมึ เศรา จนถึงขัน้ อยากฆา ตวั ตาย 7) ความเปน พิษตอระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด ไปทาํ ใหหวั ใจเตน เร็วผิดปกติ 8) ความเปนพิษตอกระเพาะอาหาร ยาบางชนิดถารับประทานตอน ทองวางและรับประทานบอ ยๆ จะทาํ ใหก ระเพาะอาหารอักเสบและเปน แผลได 9) ความเปนพิษตอทารกในครรภ มียาบางชนิดที่แมไมควรรับประทาน ระหวางตั้งครรภ เชน ยาธาลิโดไมลชวยใหนอนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาล ใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใชกลอมประสาท และยาแกคล่ืนไสอาเจียน เนื่องจากอาจ เปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ เปนผลใหเด็กที่คลอดออกมามีความพิการ เชน บางรายอาจมือกุด ขากุด จมูกโหว เพดานและริมฝปากแหวง ดังนั้น แมในระหวางต้ังครรภ ควรระมัดระวังการใชย าเปน อยางยิ่ง 3.4 การใชย าผิดและการติดยา (Drug Abuse and Drug Dependence) การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจนจุดประสงคข องการใชยานัน้ ในการรักษาโรค เชน การใชยาบารบ ิทูเรต (เหลาแหง) เพื่อให นอนหลับสบาย โดยอยูภายใตการดูแลของแพทย ถือวาเปนการใชยาถูกตอง แตถาใชยาบาร บทิ ูเรต (เหลา แหง) จาํ นวนเดมิ เพอื่ ใหเคลบิ เคลม้ิ เปนสุข ถอื วา เปน การใชยาผิด การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง แลวอวัยวะของรางกาย โดยเฉพาะอยา งยิ่งระบบประสาท ไดย อมรบั ยาขนานนน้ั เขาไวเ ปนสิ่งหน่ึงที่จําเปน สําหรับเมตาบอลิ ซมึ ของอวัยวะน้ัน ๆ ซึ่งถาหากหยุดยาหรือไดรับยาไมเพียงพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการ ถอนยา ซงึ่ แบง ไดเ ปนอาการทางกาย และอาการทางจิตใจ สาเหตุที่ทําใหเ กดิ การใชย าผดิ หรอื การตดิ ยา อาจเนอ่ื งมาจาก 1) ความเชื่อทว่ี ายานน้ั สามารถแกโรคหรือปญ หาตาง ๆ ได 2) สามารถซอื้ ยาไดง ายจากแหลง ตาง ๆ 3) มคี วามพงึ พอใจในฤทธิ์ของยาทที่ ําใหร ูสกึ เคลิบเคลิ้มเปนสุข 4) การทาํ ตามอยา งเพ่ือน เพอ่ื ใหเ ขากับกลุม ได หรอื เพือ่ ใหรูสกึ วาตนเองทนั สมัย 5) ความเชอ่ื ทีว่ า ยานัน้ ชวยใหมีความสามารถและสตปิ ญญาดีข้ึน

80 6) ความไมพอใจในสภาพหรือสงั คมทีเ่ ปนอยู หรือความรูส ึกตอ ตานวฒั นธรรม 7) การหลงเชื่อคําโฆษณาสรรพคณุ ของยานนั้ การใชย าผิดแบง ตามลักษณะการใชโดยสงั เขปไดเปน 2 ประการ คือ 1) ใชผ ดิ ทาง ไมเปนไปเพ่ือการรักษาโรค เชน ใชยาปฏิชีวนะเสมือนหน่ึงเปนการ ลดไข ชาวนาใชขผ้ี งึ้ เพนิซิลลนิ ทาแทนวาสลิน เพ่ือกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึง แกช วี ิตได โดยท่วั ไปแพทยจ ะใหน ํา้ เกลือและยาบาํ รุงเขาเสน ตาง ๆ เฉพาะผูที่ปวยเทาน้ัน แตผู ที่มีสุขภาพดกี ลับนําไปใชอ ยา งกวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใหประโยชนแลวยังเปนอันตรายถึง ชวี ติ ได 2) ใชพรํ่าเพรื่อ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมี สวนผสมของแอสไพริน และเฟนาเซติน เพ่ือรักษาอาการปวดเม่ือยหรือทําใหจิตใจเปนสุข ถาใชตดิ ตอกันนาน ๆ ทําใหติดยาและสุขภาพทรุดโทรม นอกจากนี้ การใชยานอนหลับ ยาระงับ ประสาท ยากลอ มประสาท กญั ชา โคเคน แอมแฟตามีน โบรไมด การสูดกาวสารทาํ ใหเ กิดประสาท หลอนติดตอ กันเปนเวลานานจะทําใหตดิ ยาได เร่ืองที่ 4 การแนะนําในการเลือกใชขอมูลขาวสารทเ่ี กย่ี วกับการใชย า ศูนยข อมลู ขาวสารท่เี กี่ยวกับการใชยา สายดวน 1330 (สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหงชาติ) 0-2831-4000 ตอ 1330 1. ใหขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา เชน การขึ้นทะเบียน สิทธิประโยชนในโครงการฯ ขั้นตอนการใชบริการ ตรวจสอบสิทธิ บัตรทอง ฯลฯ 2. ใหบริการตอบคําถาม ขอสงสัย เก่ียวกับโครงการสรางหลักประกันสุขภาพ ถว นหนา (บัตรทอง) 3. รับเร่ืองรองเรียน และคุมครองสิทธิประโยชนใหประชาชนผูใชบริการ รกั ษาพยาบาลในโครงการสรางหลกั ประกนั สขุ ภาพถวนหนา 4. รับขอเสนอแนะ เพอ่ื การพฒั นาระบบประกนั สุขภาพถว นหนา สายดว นผบู ริโภคกบั อย. 1556 (สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา) 1. ใหบ รกิ ารขอ มูลความรูเกี่ยวกับผลติ ภณั ฑสุขภาพดวยระบบตอบรบั อัตโนมตั ิ 2. ใหบ ริการสงขอมูลทางโทรสาร

81 3. รับแจงขอมูล และเรื่องรองเรียนเก่ียวกับ ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไมปลอดภัย (ผานเจา หนาที่ในเวลาราชการ และฝากขอความนอกเวลา ราชการ) สายดวนมะเรง็ 1668 (สถาบันมะเรง็ แหง ชาติ กรมการแพทย) ใหบริการขอมูลความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็ง อาทิ โรคมะเร็งที่ควรรูจัก ความสัมพันธ ระหวางอาหารกับโรคมะเร็ง ความสัมพันธระหวางสมุนไพรกับโรคมะเร็ง บุหรี่กับโรคมะเร็ง ความรูสึกเกี่ยวกับโรคมะเรง็ และการรักษาโรคมะเร็ง การดูแลผปู วยโรคมะเรง็ ที่บาน ฯลฯ

82 กิจกรรมทายบทที่ 6 กิจกรรมท่ี 1 จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. อธบิ ายความหมายของยาปฏิชวี นะและยาสมนุ ไพร 2. วเิ คราะหผ ลกระทบจากความเช่ือที่ผดิ เกีย่ วกับการใชยา กิจกรรมท่ี 2 จงเลือกคาํ ตอบที่ถกู ตอ งทีส่ ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว 1. ขอใดกลา วถึงยาปฏชิ ีวนะไดถ ูกตอง ก. ยาปฏิชีวนะเปนยาทใ่ี ชรักษาโรคตดิ เชื้อ ข. ฝนเปนสารเสพติดชนดิ กระตุนประสาท ค. ยากอ นอาหารตองกินกอนอาหาร 2 - 4 ชั่วโมง ง. ยาหลังอาหาร กนิ ทันทเี มอื่ อ่ิมหรือไมเ กิน 15 นาที 2. เพราะเหตใุ ดเราจึงควรตอ งใชยาใหถกู กับเวลา เชน ยากอ นอาหารก็ควรรับประทาน กอ นอาหารมใิ ชหลังอาหาร ก. เพราะยาตรงตอ เวลา ไมชอบผดิ นัด ข. เพราะยาแตละชนิดมีคณุ สมบตั จิ ําเพาะ ค. ใครบอก ยากอ นอาหารกก็ นิ หลงั อาหารได ง. เพราะถารับประทานยาผิดเวลาท่ีกําหนดไป ยาอาจหมดฤทธ์ิหรือไมมีผล ในการรักษา 3. ขอใดเปนผลเสยี ของการซือ้ ยามาใชเอง ก. เกิดการแพย า ข. มีอาการดอ้ื ยา ค. ทาํ ใหโ รคหายชา ง. เกดิ อาการติดยา

83 บทท่ี 7 ผลกระทบจากสารเสพติด สาระสําคญั มีความรู ความเขาใจ สามารถวิเคราะหปญหา สาเหตุและผลกระทบจากการ แพรระบาดของสารเสพติด มีสวนรว มในการปองกันสิ่งเสพติดในชุมชน และเผยแพรค วามรูดาน กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ งกบั สารเสพติดแกผอู ื่นได ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั 1. วิเคราะหป ญ หา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรระบาดของสารเสพติดได 2. วิเคราะหผลกระทบของสารเสพติดที่มีตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาตไิ ด 3. อธบิ ายแนวทางการปอ งกนั สารเสพตดิ ในชมุ ชนไดอยางเหมาะสม 4. มสี วนรวมในการรณรงคป องกันสารเสพติดในชมุ ชน 5. อธบิ ายสาระสาํ คญั ของกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ งกับสารเสพติดแกค รอบครัวและผูอน่ื ได ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 การวิเคราะหปญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรระบาดของ สารเสพติด เรือ่ งที่ 2 การมีสวนรวมในการปอ งกนั สารเสพตดิ ในชุมชน เรื่องที่ 3 กฎหมายทีเ่ ก่ียวของกบั สารเสพติด

84 เรื่องท่ี 1 การวิเคราะหปญ หา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรระบาดของสารเสพติด ปจจุบันปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดนับวารุนแรงมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะ ในกลมุ เดก็ และเยาวชน จากสถติ ขิ องกระทรวงสาธารณสุข พบวา จํานวนผูเสพและผูติดยาเสพ ติดในกลมุ เด็กในวยั เรยี น เพมิ่ มากข้ึนจนหนาเปนหวง ซ่ึงการที่เด็กวัยเรียนมีการใชสารเสพติด ยอมสงผลกระทบตอสุขภาพ สติปญญา และสมาธิในการเรียนรูทําใหคุณภาพประชากรลดลง เปน ปญหาตอ การพัฒนาประเทศ และการแขงขันในระดับโลกตอไปในอนาคต 1.1 สาเหตุของการติดสารเสพตดิ สรปุ ไดดังนี้ 1.1.1 ดา นตัวบคุ คล ไดแ ก - วัยของบุคคล พบวา ผูเสพยาสวนใหญจะเร่ิมตนในชวงอายุเขาสูวัยรุน กาํ ลงั อยใู นวยั คะนอง อยากลอง อยากรู อยากเหน็ ในสงิ่ ทแ่ี ปลกใหม - ความรู เจตคติ และความคิดเก่ียวกับสารเสพติด ความรุนแรง เชน เช่ือวา การใชกําลังหรือใชคําพูดรุนแรงทําใหคนอื่นเชื่อฟง ทําตาม การตีลูกทําใหลูกไดดี ผูมีศักดิ์ศรี ใครมาหยามตองตอสกู ันใหแพชนะ ฯลฯ - ขาดทักษะท่ีจําเปนในการอยูรวมกับผูอื่น เชน ทักษะการสื่อสาร การจัดการกับอารมณและความเครียด การจัดการกับความโกรธ การแสดงออกที่เหมาะสม เปน ตน - การใชยาเสพติดและเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ทําใหคนขาดสติยับย้ัง ควบคุม ตัวเองไมได - เคยเห็นการกระทํารุนแรงหรือเคยเห็นเหยื่อกระทํารุนแรงเมื่อเกิด อารมณโกรธทําใหกอ ความรนุ แรงไดงาย 1.1.2 ดานครอบครวั - ขาดความรัก ความเขา ใจ และการสนับสนนุ จากครอบครัว - เติบโตในบานที่ใชความรุนแรง ทําใหเห็นแบบอยาง และคิดวาความ รุนแรงเปน เรือ่ งปกติในสงั คม - การถกู ลงโทษและเปน เด็กที่เคยถูกทําราย - มพี อแมหรอื พ่ีนอ งทีม่ พี ฤตกิ รรมเกยี่ วของกบั อาชญากรรม 1.1.3 ดานสภาพแวดลอ ม - ความไมเ ทาเทยี มกนั ทางสงั คม เศรษฐกิจ สงั คมเมอื ง และความแออัด ทาํ ใหคนแขงขนั สูง และเกดิ ความเครียด

85 - การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และมีการวางงานสูงในกลุม ประชากรอายนุ อย - อทิ ธพิ ลจากสื่อ เชน ภาพยนตร โทรทัศน หนังสือพิมพ ที่แสดงภาพความ รุนแรงตางๆ - มาตรฐานทางสังคมท่ีสนับสนุนพฤติกรรมความรุนแรง เชน การที่คนมี พฤติกรรมความรนุ แรงไมไดร บั การลงโทษ ความรนุ แรงเปนเร่ืองปกติในสังคม - อยใู นพื้นท่ที ส่ี ามารถหายาเสพติดไดง า ย 1.2 ผลกระทบของสารเสพติด โทษและภัยอันเกิดจากการใชสารเสพติด นอกจากจะมีผลโดยตรง กอใหเกิด ผลตอรางกายและจิตใจของผูเสพเองแลว ยังกอใหเกิดผลกระทบตอระบบครอบครัว ระบบ สังคม และประเทศชาติ ดังน้ี 1.2.1 โทษและภยั ตอตัวผูเสพ ฤทธ์ขิ องสารเสพติดจะมีผลตอ ระบบประสาทและ ระบบอวยั วะตา งๆ ของรางกาย ตลอดจนจติ ใจของผูท เี่ สพเสมอ ดงั นัน้ จะพบวา สุขภาพรางกาย ของผูท่ีเสพยาจะทรุดโทรมท้ังรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคลํ้า ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเส่ือมและความจําสับสน เปนโรคติดเชื้ออ่ืน ๆ ไดงาย ไมสนใจตนเอง ไมส นใจการงานหรือการเรยี น และผูเสพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุถึงขั้นพิการ เชน พลัดตก จากที่สูงขณะทํางาน หกลม อันเน่ืองมาจากฤทธ์ิของยาเสพติดที่มีผลตอระบบประสาทและ สมอง 1.2.2 โทษและภัยตอครอบครัว การติดสารเสพติดนอกจากจะทําใหเสื่อมเสีย ชือ่ เสยี งของตนเองและครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลท่ีขาดความรับผิดชอบตอ ครอบครัวไมหว งใยดูแลครอบครัว ทําใหครอบครัวขาดความอบอุน ตองสูญเสียเศรษฐกิจและ รายไดของครอบครัว เนื่องจากตองนาํ เงนิ มาซอ้ื สารเสพติด บางรายอาจตองสูญเสียเงินจํานวน ไมนอ ยเพื่อรักษาตนเองจากโรครายแรงตาง ๆ อันเกิดจากการใชสารเสพติด กลายเปนภาระ ของครอบครัวในทสี่ ดุ อกี ทั้งนาํ ไปสูป ญหาครอบครัวเกิดการทะเลาะวิวาทกันบอย ๆ เกิดความ แตกแยกภายในครอบครวั เปนตน 1.2.3 โทษและภยั ตอสงั คมและเศรษฐกิจ ผูที่เสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูท่ี มีความรสู กึ วา ตนเองดอ ยโอกาสทางสงั คมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมท่ีนําไปสูปญหา สังคมสวนรวมได เชน กอ ใหเกดิ ปญหาอาชญากรรม ปญ หาอุบัติเหตุ และปญ หาโรคเอดส

86 เปนตน นับวาเปนการสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา ตลอดจนทรัพยสินของตนเองและ สวนรวมอยา งไรประโยชน ทําใหเปนภาระของสังคมสวนรวม ในการจัดสรรบุคลากร แรงงาน และงบประมาณในการปราบปรามและบาํ บัดรักษาผตู ดิ สารเสพติด 1.2.4 โทษและภยั ตอประเทศชาติ ผูท่เี สพสารเสพติดอาจกลาวไดวาเปนผูที่บอน ทําลายเศรษฐกจิ และความมนั่ คงของชาติ เน่ืองจากผูท่ีเสพสารเสพติดทําใหรัฐบาลตองสูญเสีย กําลังคนและงบประมาณแผนดินจาํ นวนมหาศาล เพื่อใชจา ยในการปราบปรามและบําบัดรักษา ผตู ิดสารเสพติด เกิดความไมสงบสขุ ของบานเมอื ง ทําใหเ ศรษฐกิจทรุด บ่ันทอนความม่ันคงของ ประเทศชาติ ตองสญู เสียกําลงั สาํ คัญของชาตอิ ยา งนา เสียดาย โดยเฉพาะถาผูที่เสพสารเสพติด เปน เยาวชน เรื่องที่ 2 แนวทางการปอ งกันการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ ปญหายาเสพติดเกิดขึ้นไดเพราะมีสถานการณสองอยางประกอบกัน คือ มีผูตองการ ใชยาอยูในสังคม กับมียาเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช ซึ่งองคประกอบท้ังสองน้ี ตางฝายตางสงเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันแบบลูกโซ ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด จึงตองดําเนินการกับองคประกอบทั้งสองอยางไปพรอม ๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณ ความตอ งการยาเสพตดิ ลง ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะตองลดปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดว ย การปอ งกันพฤติกรรมการใชยาของมนษุ ยท่เี กิดจากการคิดพ่ึงยาและหวังผลจากฤทธ์ิยา ซึ่งบุคคลในขายที่ตองปองกันไมใหทําพฤติกรรมใชยาเสพติดอาจแบงออกเปน 3 กลุมดวยกัน คอื กลมุ ที่ยงั ไมเ คยใชย า และยังไมเริ่มใชยา กลุมท่ีเคยใชยา และกลุมท่ีใชยาเปนประจําหรือติด ยาทีผ่ านการบาํ บัดรักษาและเลิกใชยาตดิ ยามาแลว การมีสวนรวมในการรณรงคการปองกันการสารเสพติดในชุมชน ไดแก 1. การปอ งกันในวงกวา ง เปนการปองกันโดยเนนเปาหมายที่สังคมโดยท่ัวไป มุงสรางสังคมใหตระหนักถึงพิษและภัยของยา ลดความตองการของสังคม และลดการ ตอบสนองของยาเสพตดิ ซึ่งการดําเนินงานมีหลายรูปแบบ เชน การพัฒนาสุขภาพ การสราง เสริมศีลธรรม การใชกฎหมาย การพัฒนาสังคม ฯลฯ กลวิธีของการปองกันใน แนวกวาง ไดแก 1.1 การใหการศึกษาในการถายทอดความรู เพื่อใหเกิดการเรียนรูทักษะและ ประสบการณในการสรา งคุณภาพชวี ิตและการไมพึ่งพายาเสพติด โดยเนนถึงการพัฒนาตนเอง และจติ ใจใหม ีความเชอื่ ม่ันวา ตนเองมีคณุ คา สรางสุขนสิ ัย และฝกทักษะในการประกอบอาชพี

87 1.2 การใหขอมูลและขาวสาร เปนการใหขอมูลและขาวสารที่ถูกตองของ ปญหายาเสพติด เพ่ือใหชุมชนไดวิเคราะห เลือกขอมูลและตัดสินใจดวยตนเอง ในการนําไปใชใหเกดิ ประโยชนต อตนเอง 1.3 การจัดกจิ กรรมทางเลือก เพ่ือเปนทางเลือกในการใชเวลาชวยเบ่ียงเบน ความสนใจจากพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม 2. การปองกันในวงแคบ มุง เนน เฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชน บางแหงท่ี เสี่ยงตอปญหาการเสพติด ไดแ ก 2.1 การฝกอบรม เปนการฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมี ความรู ดานการปองกันการเสพติด การใชยาในทางที่ถูก โดยมีจุดประสงคใหกลุมแกนนํา ประยุกตค วามรนู ั้นไปปฏิบัติในชมุ ชนใหส อดคลองกับสภาพของทองถ่ิน สวนกลุมประชาชนนั้น ใหม คี วามรูและมพี ฤติกรรมตอตา นการเสพตดิ โดยตรง 2.2 การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆ ภายใต ขอบเขตทกี่ าํ หนดไว ใหประชาชนเกิดการตื่นตวั ตระหนักถึงปญหาและเขามามีสวนรวมในการ แกปญหา 2.3 การปฏิบัติการทางสังคม เปนวิธีการที่หวังผลของการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเรว็ เชน ขจดั แหลง ม่วั สมุ กวาดลา งแหลงผลิต ฯลฯ 3. การปองกนั กรณีพเิ ศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบท่ีสุดโดยเปาหมายอยูที่ ผูคา ผูติดยาเสพตดิ หรือผูท ่มี ีความเสี่ยงสงู และครอบครัว ไดแ ก 3.1 การวิเคราะหปญหา เพื่อใหผูติดยาไดทราบเกี่ยวกับพฤติกรรมและ ปญ หาของตนในการติดยา 3.2 การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เปน การใหแนวทางปฏิบัติสําหรับเลือกปฏิบัติ ในกรณที ่ีเกิดปญ หาเพอ่ื หลกี เลีย่ งการใชยาเสพติด 3.3 การใหคําปรกึ ษาแกครอบครวั เพือ่ ลดความกดดันในครอบครัว และให แนวปฏิบตั แิ กค รอบครัวของผูติดยาเสพติดหรอื ผทู ม่ี ีความเสีย่ งสงู 3.4 การใหสุขศึกษา เปนการใหความรูเร่ืองยาและสุขภาพอยางถูกตอง เพ่อื ปองกันการกลับไปใชยาในทางทผี่ ดิ อีก 3.5 การใหกําลังใจ เพ่ือเพิ่มกําลังใจใหแกผูติดยาในขณะที่กําลังเผชิญ ปญหาทอี่ าจนําไปใชในทางทีผ่ ิดอีก

88 3.6 การฝกอาชีพ เพื่อเปน แนวทางในการดํารงชีวิตตามความสามารถและ ความถนดั ของตนเปน การลดความกดดนั ดา นเศรษฐกิจ และใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน กลวิธีทุกอยางสามารถนําไปปฏิบัติพรอมๆ กันไดหลายกลวิธีไมวาจะเปน การปองกันในระดับไหน หรือมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหเกิดการใชยาในทางที่ผิด หรือ ปอ งกันการตดิ ซ้าํ ซ่ึงเปนหัวใจสําคญั ของการปองกันและแกปญหาการติดสารเสพติด ทุกฝายท่ี เก่ยี วขอ งควรเขา มามีสวนรว มดาํ เนินการอยา งจริงจัง เรื่องที่ 3 กฎหมายท่เี กยี่ วขอ งกบั สารเสพติด 3.1 ประเภทของยาเสพติดใหโทษ ตามกฎหมายไดแบงประเภทของยาเสพติดใหโทษ แบง ออกเปน 5 ประเภท คือ 3.1.1 ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโ ทษชนดิ รายแรง เชน เฮโรอีน ฝน เปนตน หามมิให ผูใด ผลติ จาํ หนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษประเภท 1 เวน แตเพื่อประโยชนทางราชการตามท่ี รมต.ฯ อนุญาตเปนหนังสือเฉพาะราย ผูฝาฝนระวางโทษ ตั้งแต 1 ปถ ึงประหารชีวติ แลวแตจ าํ นวนยาเสพตดิ ท่ีจําหนา ยหรอื มีไวในครอบครอง 3.1.2 ประเภท 2 ยาเสพติดใหโทษทั่วไป เชน มอรฟน กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสง ออก ซ่งึ ยาเสพติดใหโทษประเภท 2 แตสามารถจําหนายหรือมีไวในครอบครอง ไดเ มื่อไดรับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซ่ึงไดรับมอบหมายหรือ สาธารณสุขจังหวัด สําหรับการมีไวในครอบครองที่ไมเกินจํานวนที่จําเปนสําหรับใชรักษาโรค เฉพาะตัว โดยมหี นงั สอื รบั รองของผปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมไมตองขออนุญาต ผูฝาฝนระวาง โทษจําคกุ ไมเ กนิ 5 ป ถึงจําคกุ ตลอดชีวติ แลว แตค วามหนักเบาของความผดิ 3.1.3 ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษท่ีมียาเสพติดประเภท 2 เปนสวนผสมอยู ดวย เชน ยาแกไอผสมโคเคอนี เปนตน กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซึ่งยา เสพตดิ ใหโ ทษประเภท 3 เวน แตไ ดรบั อนญุ าต ซ่ึงตอ งเปนรานคาท่ไี ดรับอนุญาตใหผลิต ขายนํา หรือสงเขาในราชอาณาจักรประเภทยาแผนปจจุบันและมีเภสัชกรประจําตลอดเวลาที่เปดทํา การ ผฝู า ฝน ระวางโทษจาํ คกุ ไมเกิน 1 ป ถึงจําคุกไมเ กิน 3 ป 3.1.3 ประเภท 4 สารเคมีท่ีใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษประเภท 1 หรือ ประเภท 2 กฎหมายหา มมใิ หผ ูใดผลิต นําเขา หรือสงออกหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติด ใหโ ทษประเภท 4 เวนแตร ัฐมนตรีอนญุ าต ผูฝาฝนระวางโทษจาํ คุกตงั้ แต 1 ป – 10 ป

89 3.1.3 ประเภท 5 ยาเสพติดใหโทษที่มิไดเขาอยูในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน กัญชา พืชกระทอม เปนตน กฎหมายมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวใน ครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 5 เวนแตรัฐมนตรีอนุญาต ผูฝาฝนระวางโทษจําคุก ตงั้ แต 2 ป – 15 ป 3.2 บทลงโทษเก่ยี วกบั สารระเหย ตามพระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 กําหนดมาตรการควบคุม ไมใหนําสารระเหยมาใชในทางที่ผิดไวหลายประการและกําหนดใหผูฝาฝนไมปฏิบัติตาม มาตรการดงั กลาว มีความผิดและตองรบั โทษ ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 3.2.1 กําหนดใหผูผลิต ผูนําเขา หรือผูขายสารระเหย ตองจัดใหมีภาพหรือ ขอ ความทภ่ี าชนะบรรจหุ รอื หบี หอ บรรจสุ ารระเหย เพ่ือเปนการเตือนใหระวังการใชสารระเหย ดงั กลา ว ผฝู าฝน ตองรับโทษจาํ คกุ ไมเกนิ สองปหรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหม่นื บาท หรือทง้ั จาํ ทั้งปรบั 3.2.2 หามไมใหผูใดขายสารระเหยแกผูท่ีมีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ เวนแต เปน การขายโดยสถานศกึ ษาเพ่ือใชในการเรียนการสอน ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรบั ไมเกินหนึง่ หมื่นบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ 3.2.3 หามไมใ หผ ใู ดขาย จัดหา หรอื ใหสารระเหยแกผูอ่ืนซึ่งตนรูหรือควรรูวาเปน ผตู ดิ สารระเหย ผฝู า ฝน ตอ งรบั โทษจําคุกไมเ กินสองป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือท้ังจํา ท้งั ปรบั 3.2.4 หา มไมใ หผใู ดจงู ใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม หรือใชอุบายหลอกลวงใหบุคคลอื่น ใชสารระเหย บาํ บัดความตองการของรา งกายหรือจิตใจ ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรบั ไมเกนิ สองหม่นื บาท หรือทง้ั จาํ ท้งั ปรับ 3.2.5 หามไมใหผูใดใชสารระเหยบําบัดความตองการของรางกายหรือ จิตใจ ไมวาโดยวิธสี ูดดมวธิ อี ่ืนใด ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ การเสพติดสารระเหย นอกจากจะเปนโทษตอรางกายแลว ยังเปนการ กระทําทีผ่ ดิ กฎหมายดวย กฎหมายท่เี กยี่ วขอ งกบั ยาเสพติด ท่ีมีการออกพระราชบัญญัติและระเบียบตางๆ ใชกัน อยใู นปจ จุบันมีหลายฉบบั ซ่งึ สามารถจดั เปน กลมุ ๆ ได คือ 3.3.1. กฎหมายทีเ่ กี่ยวกับตวั ยา ไดแก 1) พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522

90 2) พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ ทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 3) พระราชบญั ญตั วิ ัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. 2528 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2535 4) พระราชกาํ หนดปอ งกนั การใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 5) พระราชบญั ญัตคิ วบคุมโภคภณั ฑ พ.ศ. 2495 3.3.2. กฎหมายทีเ่ กี่ยวกับมาตรการ ไดแก 1) พระราชบญั ญัติปอ งกนั และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 2) พระราชบญั ญัติปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2545 3) พระราชบญั ญตั ิฟน ฟสู มรรถภาพผูต ิดยาเสพตดิ พ.ศ.2545 ประชาชน นักเรียน นกั ศึกษาจงึ ควรศึกษาทําความเขาใจถึงขอกําหนดการกระทําผิดและ บทลงโทษท่ีเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ เพอื่ หลกี เล่ียงการกระทาํ ผิดพรอมท้ังควรแนะนําเผยแพรความรู ดังกลาว แกเพ่ือน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชนใหตระหนักถึงโทษภัยของยา เสพตดิ รวมทง้ั รวมกันรณรงคปองกันการแพรระบาดสเู ดก็ และเยาวชนในชมุ ชน ตอไป ท้ังนี้ การกระทาํ ความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติดไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศตองรับ โทษในประเทศ ซึง่ ถารับโทษจากตา งประเทศมาแลว ศาลอาจลดหยอนโทษใหตามสมควรและ ตามท่ีกลาวไวในตอนตนถึงความจริงจังในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมีการ กําหนดใหก ารกระทําบางอยา งตอ งรับโทษหนักกวากฎหมายอื่น เชน กําหนดโทษใหผูพยายาม กระทาํ ความผดิ ตองระวางโทษเสมือนกระทําความผิดสําเร็จ ซึ่งตามกฎหมายอาญาผูพยายาม กระทาํ ความผิดจะรบั โทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมีกําหนดสําหรบั ความผิดนัน้ เทา นนั้ นอกจากน้ี ผูสนับสนุน ชวยเหลือ ใหความสะดวกผูกระทําความผิด ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทํา ความผิด และทรพั ยสนิ ทไี่ ดม าจากการกระทาํ ความผดิ จะตอ ง ถูกศาลส่ังริบ นอกจากพิสูจนได วาทรัพยสินน้ันไมเก่ียวของกับการกระทําความผิด และในเร่ืองการสืบทราบ การกระทําผิด เจาหนาท่ีมีอํานาจเรียกบุคคลใดใหถอยคําสงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการ พิจารณาและมีอํานาจเขาไปในเคหสถานเม่ือตรวจคนหลักฐานในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามี การกระทําความผิดเก่ียวกับยาเสพติด เมื่อตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทําความผิด เก่ียวกับยาเสพติดเจาหนาที่มีอํานาจจับกุมและสอบสวนผูกระทําผิดและทําสํานวนฟองศาล ตอไปตามกระบวนพิจารณาของศาลซ่ึงโทษที่จะไดรับสําหรับผูกระทําความผิดจะเปนโทษที่ หนักเน่ืองจากความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเปนความผิดรายแรงที่แตละชาติไดใหความสําคัญ ตามทกี่ ลา วไวใ นขา งตน

91 กจิ กรรมทายบทที่ 7 กจิ กรรมที่ 1 จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ใหผเู รียนอธบิ ายผลกระทบและการแพรระบาดของสารเสพตดิ ทม่ี ตี อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและประเทศชาติ 2. ใหผ ูเ รยี นบอกแนวทางการปอ งกนั สารเสพตดิ ในชุมชน 3. ผเู รยี นมสี วนรว มในการรณรงคป องกนั สารเสพตดิ ในชมุ ชนอยา งไร กจิ กรรมที่ 2 จงเลอื กคาํ ตอบทีถ่ กู ตอ งทีส่ ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว 1. ขอ ใดเปน สาเหตุที่ทาํ ใหวยั รนุ ติดส่งิ เสพติดนอยทส่ี ดุ . ก. อิทธิพลจากพอแม ค. คานิยมในหมวู ัยรุน ข. อยากรอู ยากลอง ง. ความเชือ่ ที่ผดิ 2. เหตใุ ดผูตดิ ยาเสพตดิ จงึ มักกออาชญากรรม ก. ประชดตัวเอง ค. ไมส ามารถควบคุมสตไิ ด ข. ตอ งการเงนิ ไปซอื้ ยา ง. ไมพอใจสง่ิ แวดลอ มตัวเอง 3. โรงพยาบาลใดท่รี บั ผดิ ชอบผตู ิดสงิ่ เสพติด ก. โรงพยาบาลสงฆ ข. โรงพยาบาลธัญญารกั ษ ค. โรงพยาบาลพระประแดง ง. โรงพยาบาลบาํ ราศนราดรู

92 บทที่ 8 ทกั ษะชวี ติ เพอื่ สขุ ภาพจติ สาระสําคญั มีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับความสําคัญของทักษะชีวิตทั้ง 10 ประการ และสามารถนํา ความรูไปประยุกตใ ชใ นชีวิตประจําวันในการทํางาน การแกปญหาชีวิตครอบครัวของตนเองได อยา งเหมาะสม ตลอดจนสามารถนํากระบวนการทักษะชีวิตไปใชในการแกปญหาแกครอบครัว ผูอื่นได ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ของทักษะชีวิตไดทั้ง 10 ประการ 2. อธบิ ายทักษะชวี ิตท่ีจาํ เปน ไดอ ยา งนอย 3 ประการ 3. นําทักษะชีวิตไปประยุกตใชในการปรับตัวและแกปญหาชีวิตครอบครัวได อยา งเหมาะสม 4. แนะนาํ กระบวนการทกั ษะชีวิตในการแกปญ หาแกครอบครัว เพือ่ น และผูอ ื่นได ขอบขายเนือ้ หา เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชวี ิต 10 ประการ เรือ่ งที่ 2 ทกั ษะชวี ิตท่จี าํ เปน 3 ประการ - ทกั ษะการตระหนักรูในตน - ทักษะการจัดการกับอารมณ - ทักษะการจดั การกบั ความเครียด เรื่องท่ี 3 การประยุกตใ ชทักษะชวี ติ ในการทํางาน การปรับตัวและการแกปญ หาชวี ิต เรื่องที่ 4 การแนะนํากระบวนการทักษะชีวิตในการแกป ญหากบั ผูอ่นื

93 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทกั ษะชวี ติ 10 ประการ ทักษะชีวิตจะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี อยางไรก็ตาม มีทักษะ ชีวติ อยกู ลมุ หนึง่ ท่ีถอื เปน หวั ใจสําคัญทีท่ กุ คนควรมี โดยองคการอนามัยโลกไดกาํ หนดไวดังนี้ 1.1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ เกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเก่ียวกับการ กระทําของตนเองท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมิน ทางเลอื กและผลท่ไี ดจากการตดั สนิ ใจเลือกทางทีถ่ ูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอการมสี ขุ ภาพที่ดี ทั้งรา งกายและจติ ใจ 1.2. ทกั ษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับ ปญหาทเี่ กิดข้ึนในชีวติ ไดอ ยา งมีระบบไมเ กดิ ความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเปน ปญ หาใหญโ ตเกินแกไข 1.3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดที่ จะเปน สว นชว ยในการตดั สนิ ใจและแกไขปญหาโดยการคดิ สรา งสรรค เพ่อื คนหาทางเลือกตางๆ รวมทั้งผลท่ีจะเกิดขึ้นในแตละทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชใน ชวี ิตประจาํ วนั ไดอยางเหมาะสม 1.4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถใน การคดิ วเิ คราะหข อ มูลตางๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท่ีอยูรอบตัวเราท่ีมีผลตอการ ดาํ เนนิ ชวี ติ 1.5. ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการใชคําพูด และทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองได อยางเหมาะสมกับวฒั นธรรม และสถานการณต า ง ๆ 1.6. ทักษะการสรา งสมั พันธภาพระหวางบคุ คล (Interpersonal Relationship) เปนความสามารถในการสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษา สัมพันธภาพไวไดย นื ยาว 1.7. ทกั ษะการตระหนักรูในตน (Self-Awareness) เปนความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและส่ิงท่ีไมตองการของ ตนเองซึ่งจะชวยใหเรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียด หรือสถานการณตาง ๆ และทักษะน้ียัง เปน พนื้ ฐานของการพัฒนาทักษะอื่น ๆ เชน การส่ือสาร การสรางสัมพันธภาพ การตัดสินใจ ความเห็น อกเห็นใจผอู นื่ เปนตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook