Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ

Published by Patong. CLC., 2020-05-02 21:33:35

Description: ตัวอย่างของความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตามแนวพระราชดดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และการ
ทรงงานสานต่อพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี รวมถึงเรื่องราวการสนอง
พระราชดำริของสำนักงาน กปร. ที่ก่อเกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมากมายกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ
ทั่วประเทศ และการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติใช้ในรูปแบบต่าง ๆ

Search

Read the Text Version

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ แนวทางและหลักการในการประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาครฐั ประกอบด้วย ความพอประมาณ - การจดั ทำ� แผนงานโครงการทม่ี คี วามเป็นไปไดภ้ ายใตง้ บประมาณทีม่ ีอยู่ - ใช้งบประมาณไม่ฟมุ่ เฟือย ไมฟ่ ุง้ เฟอ้ ไม่เกนิ ตัว ความมีเหตุผล มีภมู ิคุ้มกนั - ประหยดั มธั ยสั ถ์ ใชง้ บประมาณตรงตามแผน - ระบบติดตามประเมนิ ผล - อาศัยหลกั วชิ าการพจิ ารณาอย่างรอบคอบ - แผนบริหารความเส่ยี ง ความรู้ คณุ ธรรม - ขวนขวายความรู้ รู้รอบ - แผนงานโครงการที่เกดิ ประโยชน์ - บูรณาการภารกิจ บทบาทและหนา้ ท่ี และเป็นธรรม - ถ่ายทอดความร้/ู สรา้ งองค์กรเรียนรู้ - โปร่งใส ตรวจสอบได้ 50 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” ตัวอยา่ งความสำ� เรจ็ ด้านหนว่ ยงานองค์กรภาครฐั การนอ้ มนำ� ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใช้สามารถดำ� เนนิ การได้ในหลายองคก์ ร ซ่งึ ภาครฐั นบั เปน็ ส่วนส�ำคัญ หากสามารถน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและ ถูกต้อง จะน�ำพาประเทศชาติและประชาชนให้มีความสุขโดยท่ัวกัน ซ่ึงมีตัวอยา่ งของภาครัฐที่น้อมน�ำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ชือ่ ที่อยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนนิ งาน ภาคเหนอื ๑) โรงพยาบาลหนองม่วงไข่ ๓๒๙ หมูท่ ี่ ๔ ๐๕๔-๖๔๗-๔๕๘-๙ บคุ ลากรทกุ คนมสี ว่ นรว่ มการดำ� เนนิ งาน ตำ� บลนำ้� รัด กิจกรรมตา่ งๆ เน้นใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดับ อ�ำเภอหนองม่วงไข่ ได้ปฏบิ ัติ ไดเ้ รยี นรู้ ได้ตระหนักถึงความ จงั หวดั แพร่ ๕๔๑๗๐ เหมาะสมดว้ ยตนเองและนำ� ความเขา้ ใจ มารว่ มกนั ดำ� เนนิ งานของโรงพยาบาลให้ เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้อย่าง เป็นรูปธรรม ภาคใต้ ๑) สำ� นกั เทศบาล ๑๒๒/๓ ๐๗๕-๖๘๗๗๗-๑๔๑ เทศบาลปลายพระยาเริ่มสร้างความ ตำ� บลปลายพระยา ถนนอา่ วลกึ -พระแสง ตอ่ ๑๑๑ เข้มแข็งของเทศบาลและกลุ่มชุมชน ตำ� บลปลายพระยา ที่จัดต้ังขึ้นรวม ๗ ชุมชน โดยใช้กลไก อ�ำเภอปลายพระยา ของกระบวนการการมีส่วนร่วมจาก จงั หวดั กระบี่ ทกุ ภาคสว่ นแบบภาครี ว่ มพฒั นาในทกุ ขน้ั ๘๑๑๖๐ ตอนของการพฒั นาชมุ ชนแบบ “ร่วมคดิ ร่วมวางแผน และร่วมด�ำเนินการ” อย่างมีเหตุมีผลตามสภาพปัญหากับ ความตอ้ งการของชมุ ชนเปน็ หลกั และยงั z 51

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ชื่อ ท่อี ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนินงาน สร้างความเกี่ยวพันเช่ือมโยงกันในการ พัฒนาและรับผลการพัฒนาร่วมกัน ระหว่างชุมชนไปพร้อมๆ กับการสร้าง วิถีชีวิตพอเพียง โดยประยุกต์ใช้หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) ธนาคารเพ่ือการเกษตร ๔๖๙ นายวรี ะชน เปรมศรี เป้าหมายการด�ำเนินงานตามหลัก และสหกรณ์การเกษตร ถนนนครสวรรค์ ผอ.กองตดิ ตามและ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายใน (ธ.ก.ส.) แขวงสวนจติ รลดา เขตดุสิต ประเมินผล องค์กร โดยขับเคล่ือนพร้อมกันท้ัง ๓ กรงุ เทพฯ ผปู้ ระสานงาน ดา้ น คอื ดา้ นองคก์ ร ดา้ นพนกั งาน และ ๑๐๓๐๐ ๐๒-๒๘๐-๐๑๘๐ ดา้ นลูกคา้ เพอ่ื เปน็ พลงั แหง่ การเกอ้ื กูล ต่อ ๒๙๓๑ ซ่ึงกันและกัน คือส่งเสริมเกษตรกรให้ ๒) กรมราชทัณฑ์ ๒๒๒ ๐๘๑-๖๑๗-๔๐๐๓ ด�ำรงชีวิตอย่างพอเพียง โดยไม่เน้นการ ถนนนนทบรุ ี 52 z ต�ำบลสวนใหญ่ ทำ� ธุรกจิ ท่ีค้ากำ� ไรเกนิ ควร อำ� เภอเมอื ง นางสาวก่งิ แกว้ สรา้ งวถิ อี งคก์ รแหง่ ความพอเพยี ง ปลกู ฝงั จังหวดั นนทบุรี ๑๑๐๐๐ คงกษัตริย์ วฒั นธรรมทางการบรหิ าร และการสรา้ ง ผู้ประสานงาน วถิ ชี วี ติ แบบพอเพยี งในองคก์ ร และเรอื น ๐๒-๙๖๗๓๓๘๔-๕ จ�ำต้นแบบ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษา ดงู านของหนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และ ประชาชน สามารถขยายผลไปสู่ความ ยง่ั ยืนของชาตไิ ด้

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ชื่อ ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนินงาน ๓) เรือนจ�ำชวั่ คราวเขากล้งิ ๘๗ หมูท่ ่ี ๘ ๐๓๒-๔๖๔-๑๗๑ นำ� แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตำ� บลวังจันทร์ เขา้ สยู่ ทุ ธศาสตรใ์ นงานหลกั เตม็ รปู แบบ มีกระบวนการมอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีมี อ�ำเภอแก่งกระจาน ความรบั ผดิ ชอบงานทชี่ ดั เจน เปดิ โอกาส จังหวัดเพชรบรุ ี ให้ผตู้ อ้ งขงั เข้ามามสี ว่ นรว่ ม ๗๖๑๗๐ ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ๑๒๕ หมู่ท่ี ๓ ผูป้ ระสานงาน เป็นโรงเรียนสงเคราะห์แก่เด็กด้อย นางรอง ตำ� บลบางรอง นางทิพยพ์ ร จัตุกูล โอกาส มีระบบการบริหารจัดการ อ�ำเภอนางรอง ๐๔๔-๖๓๑-๘๘๓ โรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ สามารถ จังหวัดบุรีรัมย์ ๓๑๑๑๐ ลดรายจ่าย สร้างรายได้ ใช้ทรัพยากร ในโรงเรียนอย่างคุ้มค่า เกิดการพัฒนา และการเรยี น การสอนตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็นรูปธรรม ในทกุ กลุม่ สาระการเรียนร้แู ละกจิ กรรม z 53

ชุดเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๕. การประยุกตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งภาคธุรกจิ ภาวะทางเศรษฐกจิ และสงั คมในหลายประเทศเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคอื การท่มุ เทสรา้ งเครอื่ งจกั รกลอนั กา้ วหนา้ และมปี ระสทิ ธิภาพสูงขน้ึ ใชใ้ นการผลติ ทำ�ให้ผลผลติ ทางอุตสาหกรรมเพ่มิ ข้ึนรวดเรว็ และมากมาย จนอาจถงึ ขัน้ ฟุ่มเฟอื ย พร้อมกันนนั้ ทำ�ให้คนวา่ งงานลงเพราะถูกเครือ่ งจกั รกลแย่งไปทำ� เป็นเหตุใหเ้ กดิ ความยุ่งยากตกต่ำ� ทางเศรษฐกจิ ขึน้ เพราะคนทว่ี ่างงานยากจน และผผู้ ลิตกข็ าดทนุ เพราะสนิ ค้าขายไมอ่ อก จงึ นา่ จะตอ้ งดดั แปลงแนวคดิ แนวปฏิบตั ิในการสง่ เสริมความเจริญด้านอตุ สาหกรรมไปบา้ ง ให้สมดลุ กับดา้ นอ่ืนๆ เพื่อความอย่รู อด พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั พระราชทานแก่ผู้สำ�เร็จการศกึ ษาจากสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เมือ่ วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๑๘ 54 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจ เน้นท่ีการตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจที่พอประมาณ มีเหตุผล และสร้าง ภมู ิคมุ้ กันให้กบั องคก์ ร บนพ้นื ฐานของความร้แู ละคุณธรรม โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ความพอประมาณ - พงึ่ ตนเอง/ผลิตเคร่ืองมือเครอื่ งใชบ้ างอยา่ งเอง - พึ่งพาอาศัย/พึ่งพิง ความมีเหตผุ ล มภี ูมิคมุ้ กนั - ระบบงานให้สอดคล้องกบั ภมู ิสงั คม - ใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ินสรา้ งนวัตกรรม - จดั โครงสร้างองค์กรให้เรียบงา่ ย - การให้บรกิ ารที่หลากหลาย ความรู้ คณุ ธรรม - สง่ เสริม/พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร - ให้อสิ ระพนักงานเลอื กทำ� หน้าที่ - สง่ เสรมิ ให้พนกั งานรขู้ ้อมูลขา่ วสาร - ดูแลสวัสดกิ ารพนกั งาน z 55

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ตวั อยา่ งความสำ� เรจ็ ภาคธุรกจิ การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคธุรกิจ เพื่อแก้ปัญหาในการประกอบธุรกิจ ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ทม่ี ีกลวธิ ิใี นการบริหารงานอยา่ งพอเหมาะพอควร เพิ่มภูมิค้มุ กนั ในการประกอบธรุ กิจ จนสามารถพลิกฟื้นความล้มเหลวให้ดีข้ึน มีรากฐานที่ม่ันคง โดยมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งภาคธุรกจิ ดังน้ี ชอ่ื ท่ีอยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนนิ งาน ภาคเหนอื ๑) บริษทั แปลนครีเอชน่ั ส์ ๘ หมู่ท่ี ๘ นายสบโชค วฒั นกจิ ทันสมัย สร้างสรรค์ ปลอดภัย เพิ่ม จ�ำกัด บา้ นกระบือ ผู้จดั การ คุณค่าใหก้ บั ไม้ยางพารา ด้วยการน�ำมา ถนนตรัง-ปะเหลียน ระบบคุณภาพ ท�ำของเล่นไม้ท่ีมีความปลอดภัยส�ำหรับ ๒) บริษทั พรทิพย์ (ภเู กต็ ) ตำ� บลทงุ่ กระบือ ๐๘๖-๔๗๖-๑๓๖๑ เด็กสูงสุด เป็นผู้น�ำในธุรกิจของเล่นที่มี จ�ำกดั อำ� เภอย่านตาขาว คุณภาพ สร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับ จงั หวดั ตรงั ๙๒๑๔๐ สิ่งแวดล้อม สนับสนุนการรับผิดชอบ ต่อสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๐๘/๑ หมู่ ๕ ถนน นายวิรวฒั น์ “ภูมิปัญญาท้องถิ่น...ภูมิคุ้มกันยั่งยืน” เฉลมิ พระเกยี รติ ร. ๙ เป่ียมววิ ตั ตกิ ลุ บริษทั ฯ มกี ารพัฒนาและคอ่ ยๆ เตบิ โต ต�ำบลรัษฎา กรรมการผจู้ ดั การ จากทุนจ�ำนวนไม่มากที่มีอย่างต่อเนื่อง อำ� เภอเมือง ๐๘๑-๙๗๐-๔๒๖๕ และมน่ั คง อาศยั จดุ เดน่ ทมี่ จี ากภมู สิ งั คม จังหวดั ภเู ก็ต ของพนื้ ท่ี วตั ถดุ บิ ทอ้ งถนิ่ มบี คุ ลากรจาก ๘๓๐๐๐ ชุมชน 56 z

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ชอ่ื ท่อี ยู่ โทรศพั ท์ การด�ำเนนิ งาน ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) บรษิ ทั บางจากปโิ ตรเลยี ม ๒๑๐ หมู่ท่ี ๑ ผู้ประสานงาน เลือกใช้เทคโนโลยีสะอาดในทุก จำ� กดั (มหาชน) ถนนสุขมุ วิท นายโชคชัย กระบวนการผลิต มีการลงทุนเพื่อลด แขวงบางจาก อัศวรงั สฤษฎ์ การใช้ทรัพยากร ด�ำเนินธุรกิจท่ีสร้าง เขตพระโขนง นางคณางค์ สมดุลระหว่างมูลค่าและคุณค่าพัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ อัศวนนท์ ธุรกิจอย่างยั่งยืนไปกับสิ่งแวดล้อม โทรศัพท์ และสงั คมรวมทง้ั ผบู้ รหิ ารองคก์ รมคี วาม ๐๒-๓๓๕-๔๖๓๔ เข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ๐๒- ๓๓๕ ๔๕๕๑ พอเพียงสูง และเป็นผู้น�ำในการด�ำเนิน ธุรกิจด้านพลังงานทดแทนตามแนว พระราชด�ำริ ลดการน�ำเข้าน้�ำมันดิบ จากตา่ งประเทศ ๒) บริษทั โทเทิล แอค็ เซส็ ส� ำ นั ก ง า น ส� ำ นึ ก ๐๒-๒๐๒-๘๐๐๐ เปน็ บรษิ ทั ทมี่ คี วามมงุ่ มน่ั ในการเปน็ ผใู้ ห้ คอมมนู เิ คชนั่ จ�ำกัด รักบ้านเกิด ๓๑๙ บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีความ อาคารจัตุรัสจามจุรี ซ่ือสัตย์ ยุติธรรม จริงใจ และเอาใจใส่ ช้ัน ๒๒-๔๑ ถนน ต่อลูกคา้ พญาไท แขวงปทมุ วนั กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ ๓) บริษัท ซีเอด็ ยูเคชนั่ ๑ ๘ ๕ ๘ / ๘ ๗ - ๙ ๐ คุณคะนึงนุช เนน้ การนำ� เอาปญั หาของประเทศดา้ นการ จ�ำกดั (มหาชน) อาคารเนชน่ั ทาวเวอร์ ทองประหยดั พฒั นาคน และนำ� อดุ มการณท์ างสงั คมที่ ชน้ั ๑๙ ถนนบางนา- ผู้ช่วยผ้จู ัดการ จะทำ� ใหส้ งั คมไทยเปน็ สงั คมทอ่ี ดุ มความ ตราด แขวงบางนา แผนกตรวจสอบ รมู้ าเปน็ เปา้ หมายการดำ� เนนิ ธรุ กจิ เพอ่ื เขตบางนา กรงุ เทพฯ ภายใน ใหอ้ งคก์ รสามารถเตบิ โตไปควบคกู่ บั การ ๑๐๒๖๐ ๐๘๖-๕๕๕-๒๐๐๐ พฒั นาของประเทศไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื z 57

ชดุ เผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ชื่อ ทอี่ ยู่ โทรศพั ท์ การดำ� เนินงาน ๔) บริษัท บาธรมู ดไี ซน์ ๗๒๙/๑๕๐-๑๕๒ จำ� กัด ถนนรชั ดาภเิ ษก ผบู้ รหิ ารสงู สดุ บริษัทฯ เลือกใช้กลยุทธ์ด้านจริยธรรม แขวงบางโพงพาง นายวชั รมงคล (Ethical Strategy) เป็นกุญแจน�ำไปสู่ เขตยานนาวา เบญจธนะฉตั ร์ ความส�ำเร็จ เลือกด�ำเนินธุรกิจท่ีตนเอง กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ ๐๒-๖๘๓-๗๓๒๒ มีความช�ำนาญ การขยายกิจการต้อง ต่อ ๓ กระท�ำอย่างพอเพียงไม่กู้มากเกินความ ๐๒-๖๘๓-๗๕๑๖ สามารถของบริษัท มีการปฏิบัติต่อผู้มี ต่อ ๒๗ ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างมีเหตุมีผล มุ่งเน้นการพัฒนาภายในองค์กร โดย เฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมความรู้และ ทกั ษะของพนกั งาน บรหิ ารงานดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าล ๕) บรษิ ทั ซองเดอร์ไทย ๑๐๖ ถนนสนามบนิ นำ�้ นางสวุ รรณา “สุขภาพลูกค้า สุขภาพธุรกิจ” ด�ำเนิน ออร์แกนิคฟดู้ ส์ จ�ำกัด ตำ� บลทา่ ทราย อำ� เภอ จวิ ฒั นไพบลู ย์ การผลติ สนิ คา้ แปรรปู อาหารจากธญั พชื เมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี ผจู้ ดั การ เกษตรอินทรีย์ไร้สารพิษ โดยมีแนวคิด ๐๘๑-๔๘๙-๙๓๒๓ หลักคือ ต้องใช้วัตถุดิบในประเทศไทย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ๖) หา้ งหนุ้ สว่ นจำ� กดั สมศกั ด์ิ ๒๒๔ ถนนสขุ มุ วทิ คณุ กรทศั น์ คณุ าวฒุ ิ มีการเรียนรู้ ในการด�ำเนินธุรกิจแบบ แกลงเซอรว์ สิ ตำ� บลทางเกวยี น ๐๘๑-๕๔๑-๔๔๔๒ ค่อยเป็นค่อยไป ศึกษาหาความรู้ อำ� เภอแกลง จงั หวดั ระยอง เพ่ือให้การด�ำเนินธุรกิจมีความม่ันคง ไม่ด�ำเนินธุรกิจที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง รวมทั้งท�ำธุรกิจโดยมองผลประโยชน์ 58 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” ช่ือ ท่ีอยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนนิ งาน ที่จะเกิดต่อสังคมด้วย และสนับสนุน กิจกรรมของชุมชนและสังคม เพ่ือเป็น ชอ่ งทางในการสง่ เสรมิ อาชพี ใหแ้ กค่ นใน ท้องถ่ิน ตระหนกั ถึงการช่วยเหลอื รกั ษา ส่ิงแวดล้อมโดยรอบสถานประกอบการ และชุมชน ๗) กลุ่มผลิตภัณฑข์ องใช้ ๕๖/๑ หมทู่ ี่ ๘ นางปิ่นรตั น์ “พึ่งตนเอง ลดความเส่ียง” กลุ่มสตรี ในครวั ตำ� บลเขาใหญ่ ตันหยง ในชุมชนได้เห็นถึงวัตถุดิบที่มีอยู่ใน อำ� เภอชะอำ� จงั หวดั เพชรบรุ ี ประธานกลุ่ม ทอ้ งถนิ่ ทมี่ ปี รมิ าณมาก ซงึ่ ไมไ่ ดน้ ำ� มาใช้ ๐๓๒-๗๘๐-๓๓๖ ให้เกิดประโยชน์ โดยการน�ำมาแปรรูป เปน็ ผลิตภณั ฑ์ของใช้ในครวั เรือน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑) บรษิ ทั โสมภาสเอน็ จเิ นยี รงิ่ ๑๓๕ หมู่ ๘ ๐๘๑-๐๕๒-๑๒๗๐ เป็นโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (2005) จ�ำกัด ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ “สรา้ งราย ตำ� บลดอนหวา่ น ได้ สรา้ งคน สรา้ งความมนั่ คงในทอ้ งถนิ่ ” อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั มหาสารคาม z 59

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๖. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี ง ภาคการศกึ ษา เดก็ ๆ นอกจากจะต้องเรยี นความรแู้ ล้ว ยังต้องหดั ทำ�การงานและทำ�ความดีดว้ ย เพราะการทำ�งานจะช่วยใหม้ คี วามสามารถ มคี วามขยนั อดทน พ่ึงตนเองได้ และการทำ�ดนี ัน้ จะชว่ ยให้เรา มีความสขุ ความเจรญิ ทง้ั ปอ้ งกนั ตนไวไ้ มใ่ หต้ กตำ่� พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเพ่อื ลงพมิ พ์ในหนังสอื วนั เดก็ ประจำ�ปี ๒๕๓๐ 60 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพยี งสสู่ ถานศึกษา คุณธรรมนำ� ความรู้ เศรษฐกิจพอเพียง การบรหิ ารสถานศึกษา การจัดหลกั สตู รการเรยี นการสอน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น - สรา้ งวฒั นธรรมองค์กร - กำ� หนดมาตรฐานการเรียนรู้ - ปลูกฝงั ให้เปน็ วิถีชวี ิต ช้ันปี (รายวชิ าพ้นื ฐาน) แนะแนว กจิ กรรมนกั เรียน - ชุมชนสัมพนั ธ์ - จดั ทำ� หนว่ ย/แผนการเรยี นรู้ - ใหบ้ รกิ ารแนะแนว - ลส. นน. ยวุ กาชาด - จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ - ระบบดูแลชว่ ย ผบู้ ำ� เพญ็ ประโยชน์ - จดั ทำ� สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ เหลือนักเรียน - โครงงาน - จดั ทำ� เครอ่ื งมือวัด/ประเมินผล - ชมุ ชน - เกณฑก์ ารผา่ นชว่ งชน้ั - ชมรม - ค่ายอาสา ฯลฯ เน้น จิตอาสา-จิตสาธารณะ-การมีสว่ นรว่ ม การเหน็ คุณค่าของการอยรู่ ่วมกนั z 61

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ กล่าวในบริบทของระบบการศึกษา หากผู้บริหาร และครูบาอาจารย์ รู้จักน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ และไปก�ำหนดเป็นนโยบายการ ศึกษา และจัดกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรให้แก่ลูกศิษย์ อยา่ งมีเหตุ มีผล มีความเหมาะสม พอประมาณภายใต้ความ รู้ และเงอ่ื นไขของการพฒั นาการศกึ ษา จะสง่ ผลใหเ้ ดก็ ซงึ่ เปน็ เยาวชนทส่ี �ำคัญของชาติ เปน็ เดก็ ดี มคี ณุ ภาพ และเป็นกำ� ลงั ในการพฒั นาประเทศสบื ไป ตัวอยา่ งความสำ� เร็จภาคการศึกษา ชอ่ื ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนนิ งาน ผปู้ ระสานงาน เปน็ โรงเรยี นสงเคราะหแ์ กเ่ ดก็ ดอ้ ยโอกาส ๑) โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ๑๒๕ หมทู่ ี่ ๓ นางทพิ ยพ์ ร จตั กุ ลู มีระบบการบริหารจัดการโรงเรียนที่มี นางรอง ต�ำบลนางรอง ๐๔๔-๖๓๑-๘๘๓ ประสทิ ธิภาพ สามารถลดรายจา่ ย สรา้ ง อ�ำเภอนางรอง รายได้ ใช้ทรัพยากรในโรงเรียนอย่าง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ ๓๑๑๑๐ คุ้มค่า เกิดการพัฒนาและการเรียน การสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงที่เป็นรูปธรรมในทุกกลุ่มสาระ การเรยี นรู้และกิจกรรม 62 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” โรงเรยี นคุณธรรม โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม เป็นโรงเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ ตัง้ อยูท่ ่ีอ�ำเภอบางมูลนาก จังหวดั พิจิตร ในต้นปี ๒๕๕๓ คณะผู้บริหารได้ตกลงกันว่าจะ พัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนคุณธรรมแห่งแรก และได้มี การพัฒนาระดมความคิดที่เป็นประโยชน์มากมาย จนได้ ข้อสรุปและมีมติให้ก�ำหนดคุณธรรมเป็นคุณธรรมหลักของ โรงเรยี นดงั นี้ ๑. ความซื่อสัตย์ ๒. ความรบั ผิดชอบ ๓. จิตอาสา เม่ือได้คุณธรรมหลัก ๓ ประการน้ีแล้ว ได้ให้แต่ละกลุ่ม (ก. ผู้บริหาร ข. คณะครู ค. คณะนักเรียน) รว่ มประชมุ กำ� หนดนโยบาย และหรอื ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ที่ กุ คนในกลมุ่ แสดงความปรารถนาวา่ จะปฏบิ ตั ิ ซงึ่ มผี ลการดำ� เนนิ ดังน้ี ๑. พฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์ : ลดลง ๒. พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ : เพิ่มข้นึ ๓. คะแนนสอบโอเนต็ ของโรงเรยี น : เพม่ิ ขึ้น ๔. นกั เรยี น ม.๖ สอบเข้ามหาวิทยาลยั ชน้ั น�ำไดเ้ กอื บหมด ปัจจยั แหง่ ความสำ�เร็จ : มี ๒ ขอ้ คอื ๑. ตอ้ งทำ� ท้งั โรงเรียน (ผบู้ รหิ าร-ครู-นักเรยี น) ไม่ใชท่ �ำเฉพาะนักเรียน ๒. ทุกคนช่วยกันก�ำหนดพฤติกรรมบวกและลบ แล้วก�ำหนดคุณธรรมหลักเพ่ือแก้ไขพฤติกรรมลบ และสง่ เสรมิ พฤติกรรมบวก z 63

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ 64 z

ารขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของส�ำนักงาน กปร. z 65

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ การขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง มีเป้าหมาย หลัก เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ให้มีการน�ำหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิด เป็น แนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนเป็นส่วนหน่ึงของ วิถีชีวิตของคนไทยในทุกภาคส่วน การขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการส่งเสริมพลัง ให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปได้อย่างมั่นคง ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยให้ความส�ำคัญกับการ สร้างฐานรากทางเศรษฐกิจและสังคมให้เข้มแข็ง รักษาความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติต่างๆ ตลอดจนสามารถปรบั ตวั พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ต่างๆ ได้อยา่ งเทา่ ทัน และนำ� ไปสู่ความอยเู่ ย็นเป็นสุข ของประชาชนชาวไทย 66 z

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” รัฐบาลได้ก�ำหนดนโยบายและมียุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นความพอดี พอสมควรแก่ฐานะ ความมีเหตุผลและความพอประมาณ ตลอดจนการมภี ูมคิ ุ้มกนั บนพ้นื ฐานของความรูค้ คู่ ณุ ธรรม อีกทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ ความเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ตามแนวพระราชด�ำริไปด�ำเนินการพัฒนาความเป็นอยู่ของ ประชาชนทว่ั ประเทศใหด้ ขี นึ้ อยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป โดยรฐั บาลไดก้ ำ� หนดแนวทางในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ การ ตามแผนยทุ ธศาสตรใ์ นชว่ งระหว่างปี ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐ เพ่อื ขบั เคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบตั ิ ใหส้ ามารถบรรลุเปา้ หมายและเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั ประกอบดว้ ยแผนยทุ ธศาตร์ ๗ ด้าน ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตร และชนบท โดยมสี ำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดำ� ริ (ส�ำนักงาน กปร.) เป็นเจา้ ภาพหลกั ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษา โดยมีกระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ เจา้ ภาพหลัก z 67

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจ บริการ การท่องเท่ียว อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ เป็นเจา้ ภาพหลกั ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการต่างประเทศ โดยมกี ระทรวงการตา่ งประเทศ เปน็ เจา้ ภาพหลัก ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ เพิ่มบทบาทการประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก เพื่อเผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่สู าธารณชนในวงกวา้ ง โดยมกี รมประชาสัมพันธ์ เป็นเจา้ ภาพหลกั ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านความม่ันคง โดยมีกองทัพไทย เป็นเจา้ ภาพหลัก ยุทธศาสตรท์ ่ี ๗ สรา้ งกลไกการบรหิ ารจดั การในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็น เจ้าภาพหลกั โดยมีพ้ืนที่เปา้ หมาย จำ� นวน ๑๘,๕๙๔ หมบู่ า้ น ในการนี้ สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ (สำ� นกั งาน กปร.) ซึ่งท�ำหน้าท่ีในการสนองพระราชด�ำริ และประสานการด�ำเนินงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ปัจจุบันมีถึง ๔,๕๙๖ โครงการ (กันยายน ๒๕๕๘) ทั่วประเทศ และหน่ึงในภารกิจหลักของส�ำนักงาน กปร. คือ การขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ประกอบกับได้ท�ำหน้าท่ีเป็นเจ้าภาพหลักตามนโยบายของรัฐบาลในยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ส่งเสริมการ ขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในภาคการเกษตรและชนบท ดังนั้น เพื่อการขับเคล่ือนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้บรรลุวัตถุประสงค์สูงสุด สำ� นักงาน กปร. จึงได้ดำ� เนนิ งานด้านตา่ งๆ ดงั นี้ 68 z

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ส่งเสริมการขับเคล่อื นการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งในภาคการเกษตรและชนบท สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ (ส�ำนกั งาน กปร.) ใน ฐานะเจา้ ภาพหลกั ในการดำ� เนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ไดม้ กี ารประชมุ คณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ การขบั เคลอื่ น การพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท คร้ังที่ ๑/๒๕๕๘ เมื่อวนั ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๕๘ ทป่ี ระชมุ ไดม้ มี ตใิ หค้ วามเหน็ ชอบใหร้ วบรวมพน้ื ทเี่ ปา้ หมายใหค้ รอบคลมุ ขน้ึ โดยมจี ำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๒๕ ของหมู่บา้ นในประเทศ ซ่ึงไดด้ ำ� เนินการแลว้ สรุปจำ� นวนหมูบ่ า้ นเปา้ หมายดำ� เนินการเทา่ กบั ๒๔,๐๘๖ หมู่บา้ น (จากหมู่บา้ นท้ังหมดในประเทศ จ�ำนวน ๗๔,๙๕๕ หมู่บ้าน ขอ้ มูลกรมการปกครอง ณ วนั ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๖) โดยหมบู่ า้ นเปา้ หมายดงั กลา่ ว เปน็ หมบู่ า้ นทมี่ พี น้ื ฐานการดำ� เนนิ การหรอื มคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาบ้าง จำ� นวน ๔ กล่มุ ดงั น้ี z 69

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ กลุ่มที่ ๑ : พื้นที่หมู่บ้านรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๖ แห่ง และพ้ืนที่หมู่บ้าน รอบศนู ย์สาขา ๒ แห่ง จ�ำนวน ๓๕๗ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ ๑) ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซอ้ นฯ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา จำ� นวน ๔๓ หม่บู ้าน ๒) ศูนย์ศึกษาการพฒั นาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จังหวดั จนั ทบรุ ี จ�ำนวน ๒๓ หมบู่ า้ น ๓) ศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ จงั หวดั นราธวิ าส จำ� นวน ๑๓ หมู่บ้าน ๔) ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาภูพานฯ จงั หวัดสกลนคร จ�ำนวน ๒๒ หมบู่ า้ น ๕) ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาห้วยฮ่องไคร้ฯ จงั หวัดเชยี งใหม่ จำ� นวน ๑๘ หมูบ่ า้ น ๖) ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จงั หวัดเพชรบรุ ี จ�ำนวน ๒๙ หมบู่ ้าน ๗) ศนู ย์พัฒนาการเกษตรภสู งิ หฯ์ (ศูนย์สาขา) จงั หวดั ศรีสะเกษ จำ� นวน ๘๖ หมูบ่ า้ น ๘) โครงการพัฒนาพนื้ ทล่ี มุ่ นำ�้ ปากพนังฯ (ศูนย์สาขา) จังหวดั นครศรธี รรมราช จ�ำนวน ๑๒๓ หมู่บ้าน 70 z

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” กลุม่ ที่ ๒ : พ้ืนที่หมู่บา้ นท่มี พี ้ืนฐานการท�ำงานตามแนวทางระยะท่ี ๑ มาบ้าง และค่อนข้างเข้มแขง็ จำ� นวน ๒๐,๔๓๓ หม่บู า้ น มี ๔ พ้นื ท่ี ประกอบดว้ ย ๑) พน้ื ท่หี มู่บา้ นน�ำรอ่ งของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จำ� นวน ๘๙ หมู่บา้ น ๒) พน้ื ทห่ี มบู่ า้ นนำ� รอ่ งในโครงการบรู ณาการจงั หวดั เพอื่ แกไ้ ขปญั หาความยากจน (๑๗ จงั หวดั ) และโครงการ บำ� บดั ทุกขบ์ ำ� รุงสุขแบบ ABC (๗๖ จงั หวัด) จำ� นวน ๘,๘๖๐ หมบู่ ้าน ๓) พ้ืนที่หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งของกรมการพัฒนาชุมชน (๗๖ จงั หวดั ) จ�ำนวน ๕,๔๒๗ หมบู่ า้ น ๔) หมู่บ้านสภาองค์กรชุมชนต�ำบล สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอ.ช.) ระดับ A และ B จ�ำนวน ๖,๐๕๗ หมู่บา้ น z 71

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ กลุ่มท่ี ๓ : พ้ืนท่ีหม่บู ้านที่รับประโยชน์จากโครงการแหลง่ น�้ำขนาดเลก็ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ ใน ๔๖ จังหวดั จำ� นวน ๔๕๑ หมบู่ า้ น กลุ่มที่ ๔ : พืน้ ที่หมบู่ า้ นทไ่ี มไ่ ด้อยใู่ น ๓ กลมุ่ แรก และเป็นหมบู่ ้านทม่ี ีความพร้อมตามเกณฑ์ ๑) หมู่บ้านต้นแบบตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จ�ำนวน ๗,๔๙๓ หมู่บ้าน ของธนาคาร เพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ๒) หมู่บ้านตามแนวบริเวณชายแดน และพ้นื ทคี่ วามม่นั คง จำ� นวน ๔๙๗ หม่บู ้าน ๓) พนื้ ทหี่ มบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งของสำ� นกั งานโครงการ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี (กรมการปกครอง) จ�ำนวน ๔๒ หมู่บ้าน 72 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” การดำ� เนินการ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ทำ� “คมู่ อื การขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและด้านความม่ันคง” เพ่ือให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง สามารถปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ได้อย่างถูกต้องในทิศทางเดียวกัน และได้ด�ำเนินการแจกจ่าย คมู่ อื ฯ ใหก้ บั ทกุ ภาคสว่ นเรยี บรอ้ ยแลว้ เพอ่ื จะไดน้ ำ� มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ การในระยะ ตอ่ ไปได้อยา่ งถูกตอ้ งสมบูรณ์มากย่ิงขึน้ จากน้นั จะได้จัดให้มีการ ฝึกอบรมให้ความรู้กบั ผู้ปฏิบตั งิ านรว่ มกับชุมชนและประชาชน ไดม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ตั งิ านใหม้ ที ศิ ทางเดยี วกนั เพอื่ ขบั เคลอื่ นไปสปู่ ระชาชน ท่วั ประเทศได้อย่างชดั เจนและถูกตอ้ งยั่งยนื ซ่งึ จะด�ำเนินการในปี ๒๕๕๙ z 73

ศรษฐกจิ พอเพยี ง สรา้ งความม่นั คง ม่งั ค่งั และย่งั ยืน 74 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ “เศรษฐกิจพอเพียง” พระเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ต้ังแต่ปี ๒๕๑๗ เพื่อชี้ถึงแนวทาง การด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ z 75 ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ เป็นปรัชญาแห่งวิถีชีวิตที่ มีความหลากหลาย สามารถยืดหยุ่นได้ตามความเป็นอยู่ของชีวิต และสามารถช้ีแนะแนวทางการด�ำรงอยแู่ ละปฏบิ ัตติ นในทางทค่ี วร จะเปน็ โดยมีรากฐานมาจากวัฒนธรรมไทย หรือวถิ ีชีวิตดัง้ เดมิ ของ สังคมไทย ซึ่งน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา โดยมีลักษณะการ ด�ำเนินการ ดังนี้ - เนน้ การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ตอ่ ยุคโลกาภวิ ัฒน์ - มีความพอเพยี ง คอื ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล - มรี ะบบค้มุ กนั ในตัวทด่ี ีพอสมควร - มคี วามรอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ในการนำ� วชิ าการตา่ ง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและการด�ำเนนิ การอย่างเป็นขั้นตอน - เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนให้มีส�ำนึก และมีคุณธรรม ซื่อสัตยส์ จุ ริต - ด�ำเนินชวี ติ ด้วยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญั ญา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนำ� ไปปรบั ใชใ้ น ๔ มติ ิ คือ สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกจิ สังคม และ วัฒนธรรม ประกอบไปดว้ ย

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ มติ สิ ่งิ แวดล้อม อาจมีบางคนเขา้ ใจว่าทำ�ไมจงึ สนใจเร่อื งชลประทานหรอื เรอื่ งปา่ ไม้ จำ�ไดเ้ ม่ืออายุ ๑๐ ขวบ ทีโ่ รงเรยี นมีครคู นหน่ึง ซึง่ เดีย๋ วนีต้ ายไปแล้ว สอนเรือ่ งวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ งการอนรุ ักษ์ดิน แล้วใหเ้ ขยี นวา่ ภเู ขาต้องมปี ่า อยา่ งน้นั เม็ดฝนลงมาแลว้ จะชะดินลงมาเรว็ ทำ�ใหไ้ หลตามน้าํ ไป ไปทำ�ความเสยี หาย ดนิ หมดจากภูเขาไหลตามสายน้ําไป ก็เปน็ หลักของป่าไม้ เร่ืองการอนรุ กั ษด์ ิน และเปน็ หลักของ ชลประทานทีว่ า่ ถ้าเราไม่รกั ษาป่าไม้ขา้ งบน จะทำ�ใหเ้ ดอื ดร้อนตลอดตัง้ แต่ดินบนภเู ขาจะหมดไป กระทัง่ การท่จี ะมตี ะกอน ลงมาในเขื่อน มตี ะกอนลงมาในแม่นํา้ ทำ�ให้น้าํ ท่วม น้นี ะ เรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ 76 z พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั วนั ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๑๒

“เศรษฐกิจพอเพียง” ทรงพัฒนาและฟนื้ ฟูดิน ทรงพฒั นาและฟน้ื ฟแู หลง่ น้�ำ • แกลง้ ดิน แก้ไขดนิ เปรี้ยว ดนิ พรุ • ฝนหลวง • หญ้าแฝก ป้องกนั ดินพังทลายปรับปรงุ • แก้มลิง • อ่างเกบ็ น�ำ้ เชงิ เขา/เขื่อน ดินให้ดขี ้นึ • พื้นทลี่ มุ่ นำ�้ ต่างๆ • บ�ำบดั นำ้� เสีย • ลา้ งดิน แกด้ นิ เค็ม ทรงพฒั นาพ้นื ท่ีเพื่อการเกษตร • ทฤษฎีใหม่ การบริหารจัดการพ้ืนท่ี ดินและน้�ำอยา่ งเกิดประโยชนส์ ูงสดุ • ปุ๋ยคอก/ปุ๋ยหมกั ทรงพฒั นาและฟนื้ ฟปู ่าไม้ • ปลกู ปา่ ในใจคน เพอ่ื ปลกู จติ สำ� นกึ ใหค้ นรกั และดูแลปา่ ไม้ ทรงพฒั นาพลงั งานทดแทน เอทานอล • ปลกู ปา่ โดยไมต่ ้องปลูก • พลงั งานสเี ขยี ว ไบโอดีเซล • ปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง : เช้อื เพลิงอดั แท่ง แกส๊ ชวี ภาพ ป่าส�ำหรับไม้ใช้สอย ไม้ผล และป่าไม้ฟืน ประโยชน์อย่างที่ ๔ คือ การอนุรักษ์ดิน • พลงั งานแสงอาทติ ย์ และน�้ำ • พลงั งานน�ำ้ • ป่าเปียก (wet fire break) ป้องกันการ เกิดไฟป่า • ฝายชะลอน้�ำ (check dam) เพ่ือชะลอ ความแรงของน�้ำและคงความชุ่มชื้นของ ผนื ดนิ z 77

ชุดเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ มิติเศรษฐกิจ ภาวะทางเศรษฐกจิ และสงั คมในหลายประเทศเปลย่ี นแปลงไป กลา่ วคอื การท่มุ เทสรา้ งเครื่องจกั รกลอนั ก้าวหน้า และมปี ระสิทธิภาพสงู ข้นึ ใช้ในการผลติ ทำ�ให้ผลผลิตทางอุตสาหกรรมเพิ่มข้นึ รวดเร็วและมากมาย จนอาจถงึ ขั้นฟมุ่ เฟอื ย พรอ้ มกันน้ันกท็ ำ�ให้คนว่างงานลงเพราะถกู เครอื่ งจักรกลแย่งไปทำ� เปน็ เหตใุ หเ้ กิดความ ยุง่ ยากตกต�ำ่ ทางเศรษฐกิจขึน้ เพราะคนท่วี า่ งงานยากจนลงและผู้ผลติ ก็ขาดทุน เพราะสนิ ค้าขายไมอ่ อก จึงน่าจะต้องดัดแปลงแนวคิด แนวปฏบิ ตั ิ ในการส่งเสรมิ ความเจริญ ดา้ นอตุ สาหกรรมไปบา้ ง ให้สมดลุ กับดา้ นอ่ืนๆ เพือ่ ความอย่รู อด พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ผสู้ ำ�เร็จการศกึ ษา จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เมื่อวนั ที่ ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๑๘ 78 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไว้ ไมเ่ พยี งใช้ในภาคการเกษตรเท่านั้น แต่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับภาคธุรกิจที่มุ่งแสวงผลก�ำไร ได้ ซึ่งภาคธุรกิจเป็นภาคส่วนที่ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ หากผู้ประกอบการธุรกิจทุกระดับมีความเข้าใจและสามารถ น้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการ บริหารธุรกิจอย่างถูกต้องโดยน�ำหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดี การมีความรู้ควบคู่กับ คุณธรรมเป็นเคร่อื งมอื สำ� คญั ในการบริหารธรุ กิจ น�ำไปสูก่ าร พฒั นาระบบเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง มคี วามสมดลุ ต่อเนอ่ื งและยง่ั ยืน z 79

มติ สิ งั คม ผทู้ ี่มุง่ หวงั ความดแี ละความเจริญมัน่ คงในชวี ติ จะต้องไมล่ ะเลยการศึกษา ความรู้ท่ีจะศึกษามีอยู่สามส่วน คือความรูว้ ชิ าการ ความรปู้ ฏบิ ตั ิการ และความรูค้ ดิ อา่ น ตามเหตผุ ลความเปน็ จริง ซงึ่ แต่ละคนควรเรยี นรใู้ หค้ รบ เพอื่ สามารถนำ�ไปใช้ ประกอบกิจการงานและแก้ปญั หาท้ังปวงไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ วันเสารท์ ่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๓๐ 80 z

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ “เศรษฐกจิ พอเพียง” นานปั การ เปน็ คณุ ประโยชนอ์ ยา่ งใหญห่ ลวงแกก่ ารพฒั นาการศกึ ษา ของไทย มีพระบรมราโชบายส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา z 81 ทกุ ระดับทุกประเภท ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ ใหก้ ารพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชาชนมคี วามเขม้ แขง็ มสี งั คมทม่ี น่ั คง และยัง่ ยนื ดังจะเห็นได้จากพระราชดำ� ริ ในการพัฒนาการศึกษาทง้ั ในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนและการส่งเสริมเร่ืองการ ศกึ ษา ในรปู ของทนุ การศกึ ษาการจดั ทำ� หนงั สอื สารานกุ รมไทยเพอื่ ใช้ตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคลด้วยการน�ำหลักความ พอประมาณอย่างมีเหตุมีผล การที่ได้เสด็จฯ ไปเย่ียมประชาชน ภมู ิภาคตา่ ง ๆ จึงทรงพบเห็นความแตกตา่ งของประชาชนในแต่ละ ภูมิภาคดังนั้นการส่งเสริมในเรื่องการศึกษาจึงทรงด�ำเนินการมา อยา่ งต่อเน่ืองยาวนาน การศกึ ษาในระบบโรงเรยี น อาทิ โรงเรยี นจติ รลดา, โรงเรยี น วังไกลกังวล, มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม, โรงเรียน รม่ เกล้า, โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ เป็นต้น การศกึ ษานอกโรงเรยี น อาทิ โรงเรยี นพระดาบส, ศนู ยศ์ กึ ษา การพัฒนาอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ เป็นต้น โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนจ�ำนวนทั้งส้ิน ๕๖ เล่ม การพัฒนาบุคคลด้านการศึกษาทุนพระราชทานต่าง ๆ อาทิ ทุนภูมิพล, ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล, ทุนการศึกษาสงเคราะห์ใน มลู นธิ ิราชประชานุเคราะห์ เปน็ ตน้

ชดุ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ มติ ิวฒั นธรรม งานด้านการศกึ ษาศิลปวัฒนธรรม น้ันคอื งานสรา้ งสรรคค์ วามเจริญทางปัญญา และทางจิตใจ ซึง่ เปน็ ท้งั ตน้ เหตทุ ง้ั องคป์ ระกอบทีข่ าดไม่ได้ ของความเจริญ ด้านอืน่ ๆ ทัง้ หมด และเป็นปัจจัยทจ่ี ะชว่ ยให้เรา รักษาและดำ�รงความเป็นไทย ไดส้ ืบไป พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ๑๒ ตุลาคม ๒๕๑๓ 82 z

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัย “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทะนุบ�ำรุงในศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นส่ิงแสดงความเก่าแก่และความ เจริญร่งุ เรืองของชนชาติไทย ทรงเป็นนักอนรุ กั ษ์และทรงคำ� นึงถึง z 83 อดีตอันดีงามของชาติไทย ทรงตระหนักดีว่าอดีตคือรากฐานของ ปัจจบุ นั และอนาคต • การฟื้นฟูพระราชประเพณีส�ำคัญ เช่น พระราชพิธี พืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ พชื พนั ธ์ธุ ญั ญาหาร และเพ่ือบ�ำรงุ ขวัญเพิม่ พูนกำ� ลังใจแก่เกษตรกร • การประกวดพืชผลและพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม การพัฒนาผลผลิตทางเกษตร พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผแู้ ทนชาวนาทกุ ภาค ไดเ้ ขา้ เฝา้ ฯ รบั พระราชทานรางวลั การประกวด พันธุ์ข้าว พระราชทานพันธุ์ข้าวให้เป็นเมล็ดข้าวมิ่งขวัญแก่ชาวนา ทัว่ ประเทศ • พระราชพธิ เี สดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยกระบวนพยหุ ยาตรา ทางชลมารค ซง่ึ เปน็ การบรู ณะและอนรุ กั ษม์ รดกของวฒั นธรรมไทย ให้คงอยคู่ บู่ า้ นเมอื งตลอดไป • ทรงสง่ เสริมศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงอน่ื ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ภาษาไทย ประวตั ิศาสตร์ไทย สถาปตั ยกรรม จติ รกรรม นาฏศิลป์ การดนตรแี ละศิลปะอน่ื ๆ

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นหลักการด�ำเนินชีวิต ท่ีมุ่งเน้นความมั่นคงและความย่ังยืนของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะท่ีส�ำคัญ คือ สามารถประยุกต์ใช้ใน ทกุ ระดบั ตลอดจนใหค้ วามสำ� คญั กบั คำ� วา่ ความพอเพยี ง ท่ีประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มี ภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวภายใต้เง่ือนไขของการตัดสินใจและ การด�ำเนินกิจกรรมท่ีต้องอาศัยเงื่อนไขความรู้และ เงื่อนไขคุณธรรม หากทุกฝ่ายเข้าใจกรอบแนวคิดของ เศรษฐกิจพอเพียงอย่างแจ่มชัดแล้ว จะสามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และพร้อมรับต่อการเปล่ยี นแปลงใน ทกุ ดา้ นทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมสงิ่ แวดลอ้ มและวฒั นธรรม ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลความมน่ั คงมง่ั คงั่ และยง่ั ยนื ท้ังเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ให้คงอยู่เป็นรากฐานท่มี ่นั คงในระดบั ประเทศตลอดไป 84 z

จดั พิมพโ์ ดย สำ� นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำริ อาคารส�ำนกั งานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ เลขที่ ๒๐๑๒ ซอยอรณุ อมรินทร์ ๓๖ ถนนอรณุ อมรินทร์ แขวงบางยขี่ ัน เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๔๗ ๘๕๐๐-๖ โทรสาร ๐ ๒๔๔๗ ๘๕๖๒ www.rdpb.go.th Facebook.rdpb.project ISBN : 978-616-7671-36-9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook