45 ชื่อ ลกั ษณะ สรรพคณุ ไพล ไมล้ ม้ ลกุ สูง 0.7-1.5 เมตร มเี หงา้ ใต้ดนิ ตํารายาไทยใช้เหงา้ เป็นยาขบั ลม ขับประจําเดอื น มีฤทธ์ิ ย่านาง เปลือกนอกสนี ้าํ ตาลแกมเหลอื ง เนื้อในสี ระบายออ่ น ๆ แก้บดิ สมานลําไส้ ยาภายนอกใชเ้ หง้าสดฝนทา เหลืองแกมเขียว มกี ล่ินเฉพาะ แทงหนอ่ หรือ แก้เคล็ดยอก ฟกบวม เสน้ ตึง เมอื่ ยขบ เหน็บชา สมานแผล ลําตน้ เทยี มข้นึ เป็นกอประกอบด้วยกาบหรอื จากการวิจยั พบวา่ ในเหงา้ มนี ํ้ามนั หอมระเหยซง่ึ มคี ณุ สมบัติลด โคน ใบหุ้มซ้อนกนั ใบ เด่ียว เรียงสลับ รปู อาการอักเสบและบวม จงึ มกี ารผลติ ยาขี้ผึ้งผสมนํา้ มนั ไพล ขอบขนานแกมใบหอก กวา้ ง 3.5-5.5 ซม. เพื่อใช้เปน็ ยาทาแกอ้ าการเคล็ดขดั ยอก น้ํามนั ไพลผสม ยาว 18-35 ซม. ดอก ชอ่ แทงจากเหง้าใตด้ ิน แอลกอฮอลส์ ามารถทากันยุงได้ นอกจากนพ้ี บวา่ ในเหงา้ มี กลีบดอกสนี วล ใบประดับสมี ว่ ง ผล เป็นผล สาร 4-(4-hydroxy-1-butenyl) veratrole ซึ่งมฤี ทธ์ิขยาย แหง้ รูปกลม หลอดลม ได้ทดลองใช้ผงไพล กบั ผู้ปว่ ยเด็กท่ีเป็นหืด สรปุ ว่า ให้ผลดีทง้ั ในรายทม่ี ีอาการหอบหืดเฉียบพลนั และเรอื้ รัง ไมเ้ ถา ใบเดี่ยว เรียงสลับ รปู ไข่แกมใบหอก รากตม้ กบั นํ้า ด่มื เป็นยาแก้ไข้ทกุ ชนดิ ใบมวี ติ ามนิ เอ กวา้ ง 2-4 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกช่อ ออก สูงมาก ชว่ ยบํารุงสายตาและหวั ใจ อกี ทัง้ นิยมใช้เป็นยาระบาย ตามเถาและท่ีซอกใบ แยกเพศอยู่คนละตน้ ไม่ และแก้กระษัย ผลสุกช่วยบํารงุ ธาตุ เจริญอาหาร และขบั ลม มกี ลีบดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ผลยอ่ ย รูปวงรี ในลําไส้
46 ใบงาน จงตอบคาํ ถามของประโยคดังตอ่ ไปน้ี ให้นักศกึ ษาบอกลักษณะ และสรรพคณุ ของสมนุ ไพรรอบบา้ น (ตามท้องถนิ่ ) มา 5 ชนดิ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
47 บทท่ี 5 วิธีปลูกพืชสมุนไพร แผนการเรียนรูป้ ระจาํ บท บทท่ี 5 วิธีปลกู พชื สมุนไพร สาระสาํ คัญ 1. วธิ กี ารปลูกพชื สมนุ ไพร 2. วธิ กี ารดูแลรกั ษาพชื สมนุ ไพร 3. วธิ ีการการเก็บเกีย่ วพชื สมุนไพร ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง ทราบถึงวิธีการปลกู พชื สมุนไพร ลักษณะการปลกู พืชสมนุ ไพร ประเภทของการปลกู พชื สมนุ ไพร การดแู ลรกั ษาพืชสมุนไพร และการเกบ็ เกี่ยวพชื สมนุ ไพร ขอบขา่ ยเนือ้ หา เมอ่ื ศึกษาบทที่ 1 จบแล้ว ผูเ้ รยี นสามารถ 1. อธบิ ายอธิบายถงึ วิธีการปลกู พชื สมนุ ไพรได้ 2. อธิบายถึงวิธกี ารดูแลรักษาพืชสมุนไพรได้ 3. อธบิ ายถึงวธิ ีการการเก็บเกีย่ วพืชสมุนไพรได้ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ทาํ แบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรยี น บทที่ 5 2. ศกึ ษาเอกสารการสอน บทท่ี 5 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามทรี่ ับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทาํ แบบประเมนิ ผลตนเองหลงั เรียน บทที่ 5 ส่ือการสอน 1. เอกสารการสอน บทท่ี 5 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. หนงั สอื
48 ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองกอ่ นเรียนและหลังเรยี น 2. ประเมินผลจากการสอบประจําภาคการศกึ ษา 3. ประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม
49 เรอื่ งที่ 1 การปลูกพชื สมนุ ไพร 1. ในการเตรียมดนิ ของพืชสมนุ ไพร มีข้ันตอนดงั น้ี 1.1 การไถพรวน เพ่ือกําจดั วัชพืชและทําใหด้ นิ รว่ นซุย 1.2 ใสป่ ยุ๋ คอกหรอื ปุย๋ หมกั 1.3กาํ หนดระยะปลกู ทเี่ หมาะสมกบั พชื แต่ละชนดิ กรณีท่ปี ลกู พชื สมุนไพรเพ่อื ใช้ราก หัว ลาํ ตน้ ใต้ดนิ หรือเหง้าจาํ เป็นตอ้ งเตรียมดินใหร้ ว่ นซยุ เปน็ พิเศษโดยเฉพาะอย่างย่ิงพืชท่ีใชร้ ากอาจตัดปลกู ในภาชนะทนี่ าํ เอา รากออกมาภายหลังได้ การยกแปลงปลกู การปลูกพืชสมุนไพร หลักการทั่วไปของการปลูกและการดูแลรักษาพืชท่ัวไปและพืชสมุนไพรไม่แตกต่างกันแต่ความอุดม สมบูรณ์ของพืชสมุนไพรจะเป็นเครื่องชี้บอกคุณภาพของสมุนไพรได้ พืชสมุนไพรต้องการการปลูก และการ ดูแลรักษาใกล้เคียงกับลักษณะธรรมชาติของพืชสมุนไพรนั้นมากที่สุด เช่น ว่านหางจระเข้ต้องการดินปน ทราย และอุดมสมบูรณ์ แดดพอเหมาะ หรือ ต้นเหงือกปลาหมอ ชอบขึ้นในที่ดินเป็นเลนและที่ดินกร่อยชุ่ม ชื้น เป็นต้น หากผู้ปลูกสมุนไพรเข้าใจสิ่งเหล่านี้จะทําให้สามารถเลือกวิธีปลูกและจัดสภาพแวดล้อมของ ต้นไม้ได้เหมาะสมพืชสมุนไพรก็จะเจริญเติบโตดี เป็นผลทําให้คุณภาพพืชสมุนไพรที่นํามารักษาโรคมีฤทธิ์ดี ข้ึนด้วย การปลูกและการบาํ รุงรักษาพืชสมุนไพร โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ยังไม่ จริงจังเท่าที่ควร บางประเทศได้ทดลองเพื่อหาคําตอบว่า สภาพแวดล้อมอย่างไรจึงจะทาํ ให้สาระสาํ คัญใน พืชสมุนไพรชนิดนั้น ๆ มากที่สุด ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือมากกว่าหน่ึงหน่วยงาน หรือการหาคาํ ตอบว่า วิธีการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรแต่ละชนิดจะทาํ อย่างไร จึงจะเหมาะสมและประหยัดมากท่ีสุด ในประเทศไทย หน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีงานวิจัยด้านน้ีอยู่บ้างและกาํ ลังค้นคว้าไปต่อไป การปลูกพืช สมุนไพรเป็นการนําเอาส่วนของพืช เช่น เมล็ด หน่อ กิ่ง หัว ผ่านการเพาะหรือการชาํ หรือวิธีการอ่ืนๆ ใส่ลง ในดิน หรือวัสดุอ่ืน เพ่ือให้งอกหรือเจริญเติบโตต่อไป
50 ลักษณะการปลูกพืชสมุนไพร 1.การปลูกพืชสมุนไพรบนพื้นดิน หมายถึงการนําเอาพันธ์ุไม้มาปลูกในสถานท่ีท่ีเป็นพื้นดิน ถ้า พันธ์ุที่ปลูกเป็นพันธุ์ไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่ม จะปลูกเป็นต้น ๆ ไป โดยขุดหลุมให้มีขนาดกว้างและยาว ประมาณ 1 เมตร ลึกประมาณ 70 เซนติเมตร เวลาขุดเอาดินบนกองไว้ข้างหนึ่ง เอาดินล่างกองไว้อีกข้างหน่ึง เสร็จแล้วหา หญ้าแห้ง ฟางแห้งและปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักมาใส่ลงในหลุมพอประมาณ แล้วเอาดินบนใส่ลงไปประมาณครึ่ง หลมุ เพราะดินบนมคี วามอดุ มสมบูรณ์กวา่ จากนั้นคลุกเคล้าดนิ ที่เหลือกับปุ๋ยให้เข้ากันดีนําใส่ลงในหลุมและนํา ต้นไม้ลงปลูกหลุมละ 1 ต้น กดดินให้แน่นพอควร หากพืชต้นสูงก็ควรหาไม้มาปักคํ้ายันจนกว่าจะต้ังตัวได้ พืช สมุนไพรส่วนใหญ่จะใช้ปลูกโดยวิธีนี้เน่ืองจากพืชสมุนไพรส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น เช่น ต้นสะเดา,ชุมเห็ดเทศ ,เพกา เป็นต้น 2.การปลูกในแปลง เตรียมดินโดยการขุดดินและยกร่องให้เป็นแปลงขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร พืชสมุนไพรท่ีใช้ปลูกโดยวิธีนี้มักเป็นพืชต้นเล็ก อายุสั้นเพียงฤดูเดียวหรือ สองฤดู เช่น ต้นกะเพรา, หอม, กระเทยี ม, ฟกั ทอง เป็นต้น 3.การปลูกในภาชนะ ปลูกโดยใช้ดินท่ีผสมแล้ว มีผลดีคือสามารถเคลื่อนย้ายได้ตามความพอใจดูแล รักษาง่าย พืชที่นิยมใช้ปลูกเช่น ต้นฟ้าทะลายโจร, ว่านมหากาฬ, เสลดพังพอน เป็นต้นในการปลูกต้นไม้ใน ภาชนะในบ้านเรา ส่วนใหญ่ใช้กระถางดินเผาเพราะหาได้ง่ายและมีหลายขนาดให้เลือกหรือจะใช้ถุงดําก็จะ ประหยัดมากขึ้น การปลูกทาํ ได้หลายวิธี คือ การปลูกด้วยเมล็ดโดยตรง วิธีนี้ไม่ต้องเพาะเป็นต้นกล้าก่อน นําเมล็ดมาหว่านลงแปลงได้เลย หลังจากนั้นใช้ดินร่วน หรือทรายหยาบโรยทับบาง ๆ รดนํ้าให้ชื้นตลอดทั้งวัน เมื่อเมล็ดงอก เป็นต้นอ่อนจึง ถอนต้นอ่อนแอออก เพื่อให้มีระยะห่างตามสมควร ปกติมักใช้ในการปลูกผักหรือพืชล้มลุกและพืชอายุสั้น เช่น กะเพรา โหระพา การหยอดลงหลุมโดยตรง มักใช้กับพืชที่มีเมล็ดใหญ่ เช่น ฟักทอง โดยหยอดในแต่ละหลุมมากกว่า จาํ นวนต้นที่ต้องการ แล้วถอนออกภายหลัง การปลูกด้วยต้นกล้าหรือกิ่งชํา ปลูกโดยการนําเมล็ดหรือกิ่งชํา ปลูกให้แข็งแรงดีในถุงพลาสติก หรือในกระถางแล้วย้ายไปปลูกในพื้นที่ที่ต้องการ การย้ายต้นอ่อนจากภาชนะเดิมไปยังพื้นที่ที่ต้องการต้อง ไม่ทําลายราก ถ้าเป็นถุงพลาสติกก็ใช้มีดกรีดถุงออกถ้าเป็นกระถางถอดกระถางออกโดยใช้มือดันรูกลมที่ก้น กระถาง ถ้าดินแน่นมาก ให้ใช้เสียมแซะดินแล้วใช้น้ําหล่อก่อน จะทําให้ถอน ง่ายขึ้น หลุมที่เตรียมปลูกควร กว้างกว่ากระถางหรือถุงพลาสติกเล็กน้อย จึงทาํ ให้ต้นอ่อนเจริญเติบโตได้สะดวก วางต้นไม้ให้ระดับรอยต่อ ระหว่างลําต้นกับราก อยู่เสมอกับระดับขอบหลุม พอดีแล้วกลบด้วยดินร่วนซุยหรือดินร่วนปนทราย กดดิน ให้แน่นพอประมาณ นําเศษไม้ใบหญ้ามาคลุมไว้รอบโคนต้น เพื่อรักษาความชุ่มชื้นและป้องกันแรงกระแทก เวลารดน้ํา หาไม้หลักซึ่งสูงมากกว่าต้นไม้มาปักไว้ข้าง ๆ ผูกเชือกยึดกับต้นไม้ คอยพยุงไม้ให้ต้นไม้ล้มหรือ โยกคลอนได้ ปกติใช้กับต้น คูน แคบ้าน ชุมเห็ดเทศ สะแก ข้ีเหล็ก เป็นต้น หรือใช้กับพันธุ์ไม้ที่งอกยากหรือ มีราคาแพง จึงจําเป็นต้องเพาะเมล็ดก่อน
51 พืชสมุนไพรบางชนดิ ทปี่ ลกู โดยการเพาะเมลด็ พืช ระยะปลูก อัตราการใชพ้ นั ธ์ุ การเพาะเมลด็ (ตน้ แถว) กระเจย๊ี บแดง 1 x 1.2 ม. ใชเ้ มลด็ 300 กรมั / ไร่ หยอดหลมุ ละ 3-5 เมล็ด แลว้ ถอนแยกเมอ่ื ตน้ สงู 20-25 ซม. กานพลู 4.5 6 ม. จํานวน 60 ตน้ / ไร่ เลอื กเมลด็ สกุ ซง่ึ มีสีดาํ เพาะเมลด็ ทันทเี พราะจะสญู เสียอัตรา กะเพราแดง 5 15 ซม. งอกภายใน 1 สัปดาห์ ขี้เหล็ก 2 2 ม. ใช้เมลด็ 2 กก. / ไร่ ใช้วธิ ีหวา่ น จาํ นวน 400 ตน้ / ไร่ แช่เมลด็ ในน้าํ อนุ่ 50 องศาเซลเซยี ส คําฝอย 30 30-50 ซม. ชุมเหด็ เทศ 3 4 ม. 3-5 นาที มะขามแขก ใชเ้ มลด็ 2-2.5 กก. / ไร่ ต้องการความชนื้ แต่อยา่ ให้แฉะเมลด็ จะเนา่ ฟา้ ทะลายโจร 50 100 ซม. จาํ นวน 130 ตน้ / ไร่ เพาะเมล็ดจากฝักแก่จดั เมลด็ สีเทาอมน้ําตาล 15 20 ซม. จาํ นวน 3,000 ตน้ / ไร่ หยอดหลุมละ 2-3 เมล็ด แลว้ ถอนออกใหเ้ หลอื หลมุ ละต้น มะแว้งเครอื ใชเ้ มลด็ 400 กรมั / ไร่ เลอื กเมลด็ แก่สนี ้าํ ตาลแดงแช่นํา้ อนุ่ 3-5 นาที โรยเมลด็ บาง ๆ 1 1 ม. สม้ แขก ให้นาํ้ ใน แปลงเพาะอยา่ งสม่ําเสมอ 9 9 ม. จํานวน 1,600 ต้น / ไร่ แช่เมลด็ ในน้ําอนุ่ 50 องศาเซลเซยี ส 3-5 นาที เพาะในกระบะ 1 เดอื น จงึ ยา้ ยปลูก จํานวน 20 ต้น / ไร่ มีท้งั ต้นตัวผูแ้ ละตัวเมีย จงึ ควรเสียบ ยอดพนั ธด์ุ ีของตน้ ตวั เมีย บนตน้ ตอท่ี เพาะจากเมล็ดอกี ครงั้ หนงึ่ การปลูกด้วยหัว ปกติจะมีหัวที่เกิดจากรากและลําต้น เรียกชื่อแตกต่างกัน ในที่นี้จะรวมเรียกเป็นหัวหมด โดยไม่แยกรายละเอียดไว้ สําหรับการปลูกไม้ประเภทหัว ควรปลูกในที่ระบายนํ้าได้ดี มิฉะนั้นจะเน่าได้ การปลูกก็โดยการฝัง หัวให้ลึกพอประมาณ (ปกติลึกไม่เกิน 3 เท่า ของความกว้างหัว) กดดินให้แน่นพอสมควร คลุมแปลงปลูก ด้วยฟางหรือหญ้าแห้ง เช่น การปลูกหอม กระเทียม การปลูกด้วยไหล ปกตินิยมเอาส่วนของไหลมาชําไว้ก่อน แล้วจึงย้ายปลูกในพื้นท่ีที่เตรียมไว้อีกคร้ัง หนึ่ง เช่น บัวบก แห้วหมู การปลูกด้วยจุก หรือตะเกียง โดยการนําจุกหรือตะเกียง มาชําไว้ในดินที่เตรียมไว้ โดยให้ตะเกียง ต้ังขึ้นตามปกติ กลบดินเฉพาะด้านล่าง เช่นสับปะรด การปลูกด้วยใบ เหมาะสําหรับพืชที่มีใบหนาใหญ่และแข็งแรง คล้ายกับการปลูกด้วยส่วนของกิ่ง และลําต้น คือการตัดใบไปปักหรือวางบนดินที่ชุ่มช้ืนให้เกิดต้นใหม่ เช่น ว่านลิ้นมังกร การปลูกด้วยราก โดยตัดส่วนของรากไปปักชาํ ให้เกิดต้นใหม่ เช่น ดีปลี เป็นต้น การทําคา้ งให้พชื เถาเลอื้ ย
52 การปลูกด้วยหน่อหรือเหง้า ในกรณีท่ีมีต้นพันธุ์อยู่แล้วทาํ การแยกหน่อที่แข็งแรง โดยตัดแยกหน่อ จากต้นแม่ นาํ หน่อที่ได้ มาตัดรากที่ชาํ้ หรือใบที่มากเกินไปออกบ้าง แล้วจึงนาํ ไปปลูกในดินท่ีเตรียมไว้ กดดิน ให้แน่นและรดน้ําให้ชุ่ม ควรบังร่มเงาให้จนกว่าต้นจะแข็งแรงสําหรับการปลูกพืชสมุนไพรในกระถางมี ขั้นตอนในการปลูกพืช ดังนี้ พชื สมนุ ไพรบางชนิดทีป่ ลกู โดยการโดยใชส้ ่วนต่าง ๆ ของลาํ ตน้ พชื วธิ ปี ลกู ระยะปลูก อัตราพนั ธุ์ทใี่ ช้ต่อ การเตรยี มพันธ์ุปลูก (ต้น แถว) ไร่ ดปี ลี ปักชํา 1 1 ม. 1,600 ตน้ / ไร่ ตดั เถายาว 4-6 ข้อ เพาะชําในถุง 60 วนั พริกไทย ปกั ชํา 2 2 ม. 400 ต้น / ไร่ ใช้ยอดหรอื ส่วนทีไ่ มแ่ กจ่ ัด อายุ 1-2 ปี ตัดเปน็ ท่อน 5-7 ข้อ พลู ปักชาํ 1.5 1.5 ม. 700 ต้น / ไร่ ตดั เถาเป็นทอ่ นให้มีใบ 3 - 5 ขอ้ พญายอ ปักชํา 50 50 ซม. 4,000 ตน้ / ไร่ ตดั กิง่ พนั ธุ์ 6 - 8 นิ้ว มีตา 3 ตา ใบยอด 1/3 ของกง่ิ พนั ธุ์ เจตมูลเพลงิ ปักชาํ 50 50 ซม. 4,000 ตน้ / ไร่ ใชก้ ่ิงก่ึงแกก่ ง่ึ ออ่ นปกั ชาํ อบเชย ก่ิงตอน 2 2 ซม. 400 ตน้ / ไร่ ฝรง่ั ก่ิงตอน 4 4 ม. 100 ตน้ / ไร่ ขมนิ้ ชนั เหง้า 30 30 ซม. 10,000 ต้น / ไร่ เหง้าอายุ 7-9 เดือน แบ่งใหม้ ตี าอย่างน้อย 3-5 ตา ตะไคร้หอม เหงา้ 1.5 1.5 ม. 600 หลมุ / ไร่ ตัดแบ่งใหม้ ีขอ้ 2-3 ขอ้ ตัดปลายใบออกปลูก 3 ตน้ / หลมุ ไพล เหง้า 50 50 ซม. 4,000 ตน้ / ไร่ เหงา้ อายมุ ากกวา่ 1 ปี มีตาสมบูรณ์ 3-5 ตา บุก หัว 40 40 ซม. 6,000 หัว / ไร่ หัวขนาดประมาณ 200 กรัม ฝงั ลึกจากผิวดิน 3-5 ซม. หางไหล ไหล 1.5 1.5 ม. 700 ตน้ / ไร่ เลือกขนาดก่งิ 0.7-1 ซม. มขี อ้ 3-4 ขอ้ เร่ว หนอ่ 1 1 ม. 1,600 ต้น / ไร่ ตัดแยกหน่อจากตน้ เดมิ ใหม้ ีลาํ ต้นติดมาด้วย ว่านหางจระเข้ หน่อ 50 70 ซม. 4,500 ต้น / ไร่ แยกหนอ่ ขนาดสูง 10-15 ซม. 1. ก่อนที่จะปลูกต้นไม้ลงในกระถาง จะต้องเลือกกระถางให้มีขนาดที่พอเหมาะกับต้นไม้น้ัน เม่ือได้ กระถางมาแล้ว ก็ใช้เศษกระถางแตกขนาดประมาณ 2-3 น้ิว วางปิดรูก้นกระถาง ทุบอิฐมอญเป็นก้อนเล็ก ๆ ใสล่ งกน้ กระถางให้สูงประมาณ 1 นว้ิ เพ่ือชว่ ยใหเ้ ก็บความช้นื และระบายน้าํ ได้ดีข้นึ 2. ใช้ดินที่ผสมแล้วใส่ลงไปประมาณคร่ึงกระถาง นําต้นไม้วางลงตรงกลางแล้วใส่ดินผสมลงใน กระถางจนเกอื บเต็ม โดยใหต้ ่ํากวา่ ขอบกระถาง 1 นว้ิ กดดินใหแ้ น่นพอประมาณ เพอ่ื ไมใ่ หต้ น้ ไม้ล้ม 3. รดน้ําให้ชุ่มแล้วยกวางในร่มหรือในเรือนเพาะชําจนกว่าต้นไม้จะทรงตัว แล้วจึงยกออกวาง กลางแจง้ ได้
53 เรอ่ื งที่ 2 การดแู ลรักษาพชื สมนุ ไพร การกําจดั ศัตรพู ชื ควรใชว้ ิธธี รรมชาติ เชน่ ปลูกพืชหลายชนิดบริเวณเดียวกัน และควรปลูกสมุนไพรท่ีมีกล่ินฉุน และมีฤทธ์ิในการรบกวนแมลง แทรกอยดู่ ้วย เช่น ดาวเรืองตะไคร้หอม กระเพรา เสยี้ นดอกม่วง เปน็ ต้นอาศัยธรรมชาติจัดสมดุลกันเอง ไม่ควร ทาํ ลายแมลงทุกชนดิ เพราะบางชนิดเป็นประโยชน์ จะช่วยควบคุมและกําจัดแมลงท่ีเป็นศัตรูพืชให้ลดลงใช้สาร จากธรรมชาติ โดยใช้พืชที่มีสารประกอบที่มีฤทธิ์ต่อแมลงที่เป็นศัตรูพืชมากําจัด โดยท่ีแต่ละพืชจะมี สารประกอบทอ่ี อกฤทธ์ิกับแมลงต่างชนดิ กัน เชน่ สารสกดั จากสะเดา : ดว้ ง เพลี้ยออ่ น เพลย้ี กระโดด ยาสูบ : เพลีย้ ออ่ น ไรแดง โรครา หางไหลแดง : เพล้ีย ด้วง เปน็ ตน้ การบํารงุ รักษาพืชสมนุ ไพร ควรเลือกวิธีดูแลรักษาใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาตมิ ากท่สี ดุ และควรหลกี เล่ยี งสารเคมีไม่ว่าด้านการ ให้ปุ๋ย การกําจัดวัชพืชหรือศัตรูพืช เนื่องจากอาจมีพิษตกค้างในพืชและยังมีผลกับคุณภาพและปริมาณสาร สาํ คัญในพชื อกี ด้วย ตอนที่ 3 การเกบ็ เกย่ี วพชื สมุนไพร 1. เกบ็ เก่ียวถูกระยะเวลา ท่มี ปี รมิ าณสารสาํ คัญสูงสุด การนาํ พืชสมุ นไพรไปใช้ประโยชน์ให้ได้สูงสุดน้ัน ในพืชจะต้องมีปริมาณสารสําคัญมากที่สุด ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงเวลาที่เก็บ เก่ียวพืชสมุนไพร ดังนั้นการเก็บเกี่ยวสมุนไพรจึงต้องคํานึงถึงทั้งอายุเก็บเก่ียวและช่วงระยะเวลาท่ีพืชให้ สารสาํ คญั สูงสุดด้วย 2. เกบ็ เก่ียวถูกวิธี โดยท่วั ไปการเก็บส่วนของพชื สมนุ ไพร แบ่งออกตามสว่ นที่ใชเ้ ปน็ ยา ดงั น้ี 2.1 ประเภทรากหรือหัว เก็บในช่วงท่ีพืชหยุดการเจริญเติบโต ใบและดอกร่วงหมด หรือ ในช่วงตน้ ฤดหู นาวถงึ ปลายฤดรู อน ซ่ึงเป็นชว่ งท่ีรากและหัวมีการสะสมปรมิ าณสาระสําคญั ไว้ ค่อนข้างสูงวิธี เกบ็ ใช้วธิ ขี ุดอย่างระมัดระวัง ตัดรากฝอยออก 2.2 การเก็บเปลือกรากหรือเปลือกต้น จะเก็บในช่วงระหว่างฤดูร้อนถึงฤดูฝน ซ่ึงมีปริมาณ สาระสําคัญในพชื สงู และเปลือกลอกออกงา่ ย สว่ นเปลอื กรากเกบ็ ในชว่ งต้นฤดูฝนเหมาะสมทส่ี ดุ วิ ธี เก็บ การลอกเปลอื กต้นอย่าลอกออกรอบท้งั ต้นควรลอกออกจากสว่ นกง่ิ หรือแขนงยอ่ ยหรอื ใชว้ ธิ ี ลอกออกใน ลกั ษณะคร่ึงวงกลมก็ได้ เพอ่ื ไมใ่ หก้ ระทบกระเทือนต่อระบบการลําเลียงอาหารของพืช และไม่ควรลอกส่วนลํา ต้นใหญ่ของต้น 2.3 ประเภทใบหรือเก็บท้ังต้น ควรเก็บในช่วงท่ีพืชเจริญเติบโตมากท่ีสุด บางชนิดจะระบุ ช่วงเวลาที่เก็บ ซง่ึ ช่วงเวลาน้นั ใบมีสารสาํ คัญมากทีส่ ดุ เช่น เก็บใบแก่ หรอื ใบไม่ออ่ นไม่แก่เกินไป (ใบเพสลาด) เปน็ ต้นวธิ เี ก็บ ใชว้ ิธเี ดด็ หรือตัด 2.4 ประเภทดอก โดยทั่วไปเก็บในช่วงดอกเร่ิมบาน บางชนิดเก็บในช่วงดอกตูมวิธีเก็บ ใช้วิธี เด็ดหรอื ตัดตารางแสดงการเก็บเกีย่ วพชื สมนุ ไพรบางชนิดพืช สว่ นท่ีเกบ็ เกยี่ ว การเก็บเกีย่ ว เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ สารสําคญั สูงสุดอายกุ ารให้ผลผลติ สภาพต้นพืช
54 ใบงาน จงตอบคาํ ถามของประโยคดงั ตอ่ ไปนี้ ให้นักศกึ ษาบอกขน้ั ตอนวิธกี ารปลกู พืชสมนุ ไพรในครวั เรือน มา 1 อย่างอย่างละเอยี ด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
55 บรรณานุกรม http://www.baanjomyut.com/library_3/extension1/traditional_medicine/pharmacy_object/ind ex.html https://sites.google.com/site/ploy8768/.../smunphir-baeng-pen-ki-p-1 https://healthherb.wordpress.com/ประโยชน์ของสมนุ ไพร/ www.angelfire.com/ri2/rangsan/important.html http://www.sawadee.co.th/thailand/food/herbs.html http://www.budmgt.com/tech/tech01/mat-coloring-f-plants.html http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs1-11.htm health.kapook.com/view37827.html www.rakkhaoyai.com/jungle-path/4953
56 ท่ปี รกึ ษา บุญชู คณะผู้จัดทํา นางนริ มล ผูอ้ ํานวยการ กศน.อําเภอไชยปราการ คณะผูจ้ ดั ทาํ ชลอ ครอู าสาสมัครพนื้ ท่สี ูง กศน.อําเภอไชยปราการ นางสาวิตรี ธนาศักด์ิ ครูอาสาสมคั รพ้นื ที่สงู กศน.อาํ เภอไชยปราการ นางพรทพิ ย์ ปน่ิ ชุม ครูอาสาสมัครพน้ื ที่สงู กศน.อําเภอไชยปราการ นางเกษสรุ ี บวั ละวงค์ ครอู าสาสมคั รพ้นื ทสี่ งู กศน.อาํ เภอไชยปราการ นางณฏั ฐณชิ า ชลอ ครูอาสาสมคั รพน้ื ทส้ี งู กศน.อาํ เภอไชยปราการ นายสมชาย
57 ทป่ี รึกษา คณะบรรณาธกิ าร/ปรับปรงุ แก้ไข นายศุภกร ศรศี กั ดา ผ้อู ํานวยการสาํ นักงาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ นางมีนา กติ ิชานนท์ รองผู้อํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวดั เชยี งใหม่ คณะบรรณาธิการ/ปรบั ปรงุ แกไ้ ข นางนิรมล บญุ ชู ผ้อู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอไชยปราการ ประธานกรรมการ นางจฑุ ามาศ วงษศ์ ิริ ครูชํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอแม่รมิ กรรมการ นางวัฒนยี ์ พัฒนียก์ านต์ ครชู ํานาญการพิเศษ กศน.อาํ เภอหางดง กรรมการ นางจารวี มะโนวงค์ ครูชาํ นาญการ กศน.อาํ เภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางนชิ าภา สลกั จิตร ครชู าํ นาญการ กศน.อําเภอแม่แตง กรรมการ นางพมิ พ์ใจ โนจ๊ะ ครู คศ.1 กศน.อําเภอแมว่ าง กรรมการ นางยพุ ิน คาํ วนั ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอฮอด กรรมการ นางสาววริยาภรณ์ นามวงศพ์ รหม ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอเมือง กรรมการ นางเบญจพรรณ ปันกํา ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอแม่รมิ กรรมการ นายศรณั ย์ภัทร จกั รแก้ว ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอแม่แตง กรรมการ นางสาวณัฐกฤตา มะณแี สน ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอดอยสะเกด็ กรรมการ นางสาวณฐมน บญุ เทยี ม ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอเชียงดาว กรรมการ นางโยธกา ธรี ะวาสน์ ครูอาสาฯ กศน.อาํ เภอดอยสะเก็ด กรรมการ นางสาวภาสินี สิงหร์ ตั นพนั ธุ์ บรรณารกั ษ์ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ กรรมการ และเลขานุการ
Search