Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by มาติกา ก้อนกล่อม, 2021-11-09 16:53:01

Description: กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

กฎหมายและ จรรยาบรรณ ในการใช้เทคโนโลยี

กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือ จริยธรรม คือ แนวทาง ผู้ที่มีอำนาจสูงสุดในรัฐตาลขึ้น ปฏิบัติของคนในสังคม ซึ่ง บุคคลผู้นั้นควรยึดถือในการ หรือที่เกิดขึ้นจากจารีต ดำรงชีวิต และการทำตน ประเพณีอันเป็นที่ยอมรับ เพื่อให้เกิดประโยชน์ และมี นับถือเพื่อใช้ในการบริหาร ความสงบสุขต่อตนเอง ผู็ ประเทศ เพื่อบังคับบุคคลให้ ปฏิบัติตามหรือกำหนดระเบียบ อื่น และสังคม แห่งความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ

กฎหมายทางเทคโนโลยี 1 2 3 4 5 6 กฎ กฎหมาย กฎหมาย กฎหมาย กฎหมาย กฎหมายเกี่ยว หมาย ล า ย มื อ ก า ร พั ฒ น า การ การโอน กับกับการกระ ธุ ร ก ร ร ม โ ค ร ง ส ร้ า ง เ งิ น ท า ง ทำความผิด อิ เ ล็ ก ท ร ชื่ อ คุ้ ม ค ร อ ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อิ เ ล็ ก ท ร อ พื้ น ฐ า น ข้ อ มู ล ส่ ว น เกี่ยวกับ สารสนเทศ นิ ก ส์ คอมพิวเตอร์ นิ ก ส์ บุ ค ค ล

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้เสมอด้วยกระดาษ แต่เดิมจะจัดอยู่ในรูปแบบของ หนังสือแต่จัดทำขึ้นใหม่ให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวน การใดๆทางเทคโนโลยีให้เวสมอด้วยการลงลายมือชื่อ ธรรมดา กฎหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศ เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานสารสนเทศ ได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนดลยี สารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศสำคัญอื่นๆ ให้กระจายทั่วถึงและเท่าเทียมกัน

กฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รับรองสิทธิและให้ความคุมครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูก ประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ในระยะ เวลาิันรวดเร็ว อันเป็นการละเมิอต่อเจ้าของข้อมูล กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิด เพื่อกำหนดกลไกสำคัญทางกำหมายในการรับรองระบบ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงิน ระหว่างสถาบันการเงิน และระบบชำระเงินรูปแบบใหม่ใน รูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกำหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้ที่กระทำ ความผิดต่อระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบ ข้อมูลและระบบเครือข่าย เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม

พระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หมวดที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์ \"อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงานเข้า ด้วยกัน โดยได้มีการกำหนดคำสังหรื อชุดคำสั่ง และแนวทางปฏิบัติงานให้ อุปกรณ์ หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ\"

ข้อมูลคอมพิวเตอร์ \"ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุด คำสั่ง ที่อยู่ในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบ คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้\"

ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ \"ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของ ระบบคอมพิวเตอร์ แสดงถึงแหล่ง กำเนิดต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิด การบริการ\"

ผู้ให้บริการ \"ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้า สู่อินเทอร์เน็ต หรือสามารถติดต่อ ถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านทาง ระบบคอมพิวเตอร์\" \"ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูล คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของ บุคคลอื่น\"

หมวดที่ 1 ความผิดเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ฐานความผิด การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ การล่วงรู้มาตราการป้องกัน การเข้าถึง มาตราที่ 5 มาตราการป้องกันการเข้าถึงโดย เฉพาะและมาตรานั้นมิได้มีไว้สำหรับตน มาตราที่ 6 ผู้ใดล่วงรู้มาตราการ ป้องกันการเข้าถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ ผู้อื่นจัดทำขึ้นเฉพาะ ถ้านำมาตราการ ดังกล่าวไปเปิดเผยหรือเผยแพร่โดยมิ ชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้อื่น

การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ ผู้อื่นโดยมิชอบ มาตราที่ 7 ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตร มาตราที่ 8 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมื ชอบด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดัก รับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์และ ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์ สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลืั่วไปได้ใช้ประโยชน์

การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 9 ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบาง ส่วนซึ่งข้อมุลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ การรบกวน ขัดขวางการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ มาตราที่ 10 ผู้ที่กระทำการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง จนไม่สามารถทำงานตามปกติ

การสแปมเมล์ มาตราที่ 11 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอม แปลงแหล่งที่มาของข้อมูล การกระทำความผิดต่อ ประชาชนโดยทั่วไป/ความมั่นคง มาตราที่ 12 ถ้าการกระทำความผิดตามมาตร 9 หรือ 10 \"ก่อให้เกิดความเสียหายนั้นเกิดขึ้นทันทีหรือภายหลังและไม่พร้อมกัน\" \"เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยว กับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ปลอดภัยสาธารณะ หรือการกระทำต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอรื ที่มีเพื่อ ประโยชน์สาธาระ\"

การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด มาตราที่ 13 จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่ง ที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อ นำไปใช้เครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรือ มาตรา 11 นำเข้า/ปลอม/เท็จ/ภัยมั่นคง/ลามก/ส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตราที่ 14 ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ ลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ ความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน

ความรับผิดชอบของผู้ให้บริการ การเผยแพร่ภาพ ตัดต่อ/ดัดแปลง มาตราที่ 15 ผู้ให้บริการจงใจสนับสนุน มาตรที่ 16 ผู้ใดที่นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอรืที่ หรือยินยอม ตามมาตราที่ 14 ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูล กรณีความผิดเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร คอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และ ภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดขึ้นจากการสร้างขึ้น มาตราที่ 17 ผู้ใดกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วยวิธีการทาง นอกราชอาณาจักรและ อิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด \"ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่ง ประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้อง ของให้ลงโทษ หรือ ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสีย หายได้ร้องของให้ลงโทษ จะต้องได้รับโทษภายในราช อาณาจักร\"

อาชญากรรม คอมพิวเตอร์

1. การกระทำใด ๆ ก็ตาม ที่เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และทำให้ ผู้กระทำได้รับผลตอบแทน 2. การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งจะต้องใช้ความรู้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มาประกอบการกระ ผิด และต้องใช้ผู้มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ในการสืบสวน ติดตาม รวบรวมหลักฐาน เพื่อการ ดำเนินคดี จับกุมอาชญากรคอมพิวเตอร์จะก่ออาชญากรรมหลายรูปแบบ ซึ่งปัจจุบันทั่วโลกจัดออก เป็น 9 ประเภท 1) การขมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ 2) อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง 3) การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปลงรูปแบบ เลียนแบบระบบชอฟต์แวร์โดยมิชอบ 4) ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 5) ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน 6) อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เข้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไฟ ระบบการจราจร 7) หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม 8) แทรกแซงข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ เช่น ลักลอบคันหารหัสบัตรเครดิต ของผู้อื่นมาใช้ ดักข้อมูลทางการค้าเพื่อเอาผลประโยชน์นั้นเป็นของตน 9) ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอ

จริยธรรมในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 . ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว 2 . ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง 3 . ค ว า ม เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง 4 . ก า ร เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ข อ ง บุ ค ค ล ต้ อ ง ไ ด้ ดุ ล กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง สั ง ค ม สิ ท ธิ ข อ ง ส า ธ า ณ ช น อ ยู่ เ ห นื อ สิ ท ธิ ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ข อ ง ปั จ เ จ ก ช น

การคุ้มครองทางทรัพย์สินทางปัญญา สิ ข สิ ท ธิ์ สิ ท ธิ์ แ ต่ ผู้ เ ดี ย ว ที่ จ ะ ก ร ะ ทำ ก า ร ใ ด ๆ เ กี่ ย ว กั บ ง า น ที่ ผู้ ส ร้ า ง ไ ด้ ทำ ขึ้ น สิ ท ธิ บั ต ร ห นั ง สื อ สำ คั ญ ที่ อ อ ก ใ ห้ เ พื่ อ คุ้ ม ค ร อ ง ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ห รื อ ก า ร อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์

จัดทำโดย นางสาวมาติกา ก้อนกล่อม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook