1 ดนิ ทรพั ยากรธรรมชาติที่ควรบารงุ รักษาความสาคัญของดนิ ดินเกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ ผสมกับซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันเป็นเวลาหลายล้านปีดินหลังจากเปิดป่าใหม่จะเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์ดี ปลูกพืชงามและมีผลผลิตสูง เม่ือใช้ดินทาการเพาะปลูกติดต่อกันเป็นเวลานาน ดินจะมีสภาพเสื่อมโทรมลง ธาตุอาหารหรือปุ๋ยเดิมในดินจะหมดไป รวมทั้งลักษณะการโปร่ง ร่วนซุยของดินก็จะแน่นทึบ ไถพรวนยาก ถ้าไม่แก้ไขปรับปรงุ กจ็ ะทาให้ไม่สามารถปลกู พชื ใหไ้ ด้ผลผลิตสูงอีกต่อไป ดนิ เป็นแหล่งผลติ ปจั จัยทัง้ 4 ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค นอกจากนี้ดินเปรียบเสมือนเคร่ืองกรองที่มีชีวิต สามารถนาไปใช้ในการกาจัดของเสียท้ังในรูปของแข็งและของเหลวดินเป็นแหล่งของจุลินทรีย์หลายชนิดท่ีสามารถเปล่ียนสารประกอบต่างๆที่เป็นพิษในดินให้ไปอยู่ในรูปท่ีไม่เป็นพิษได้ ดินทาหน้าท่ีเป็นที่เกาะยึดของรากพืช ไม่ให้ล้ม ให้อากาศแกร่ ากพชื ในการหายใจ และใหธ้ าตุอาหารพืชเพื่อการเจริญเตบิ โต (ภาพที่ 1.1) ภาพที่ 1.1 ดนิ เป็นแหล่งใหอ้ ากาศ และธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโตของพชื
2 ส่วนประกอบของดิน ส่วนประกอบของดนิ ท่ีเหมาะสมต่อการปลกู พืชจะประกอบด้วย 1 อนินทรียวัตถุ เป็นส่วนที่เกิดจากชิ้นเล็กชิ้นน้อยของแร่และหินต่างๆ ที่สลายตัวโดยทางเคมี กายภาพ และชวี เคมี ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ แหล่งของธาตอุ าหารให้กับพืช และเป็นอาหารขอจุลินทรีย์ดนิ 2 อนิ ทรยี วัตถุ ไดแ้ กส่ ่วนท่เี กดิ จากการเน่าเปอ่ื ยผุพงั หรือการสลายตัวของเศษเหลือของพืชแลสัตว์ที่ทับถมกันอยู่บนดิน ทาหน้าท่ี เป็นแหล่งอาหารของจุลินทรีย์ดิน ให้พลังงานแก่จุลินทรีย์ดิน และ ควบคมุ สมบัตทิ างกายภาพของดนิ เชน่ โครงสร้างดิน ความรว่ นซยุ การระบายน้าและการแลกเปลยี่ นอากาศของดนิ เปน็ ต้น มปี ริมาณธาตุอาหารพชื ต่า 3 นา้ ทอี่ ย่ใู นดนิ นั้น ทาหน้าที่ให้น้าแก่พืช และช่วยละลายธาตุอาหารต่างๆ ในดิน และขนย้ายอาหารพืช 4 อากาศ ทาหนา้ ทใ่ี ห้ออกซเิ จนแกร่ ากพืช และจลุ นิ ทรยี ใ์ นการหายใจ ภาพท่ี 1.2 สว่ นประกอบของดนิ
3 หนา้ ตัดดนิ ดินมีความลึกหรือความหนา แตถ่ า้ มองความลึกนัน้ ลงไปตามแนวดง่ิ จะเหน็ ว่าดินนัน้ ทับถมกนั เป็นชั้นๆ ดนิ ที่ทับถมกันเป็นชั้นๆ ตามแนวดิ่งนั้นเรียกว่า หน้าตัดดิน ดังภาพที่ 1.3ตามปกติดินท่ีเกิดใหมม่ ักมอี ินทรยี วตั ถุสะสมอยู่ท่ีดินบน แต่จะมีปริมาณน้อยในดินล่าง ในระดับท่ีลึกลงไปตามแนวหน้าตัดของดินจะพบหินบางชนิดที่กาลังสลายตัวอยู่ในช้ันล่างเรียกว่า วัตถุต้นกาเนิดดิน ใต้วัตถุต้นกาเนิดดินลงไปเรียกว่าหินพ้ืน ซ่ึงเป็นช้ันที่ยังไม่ได้ผ่านการสลายตัวผุพัง รากพืชจะเจริญเติบโต และดูดธาตุอาหารในส่วนที่เป็นดินบนและดินล่าง ซ่ึงมีความลึกไม่เท่ากันในดินแต่ละชนิด ดินที่ลกึ กจ็ ะมีพืน้ ทท่ี ีใ่ หพ้ ืชหย่ังรากและดดู ธาตอุ าหารไดม้ ากกวา่ ดินท่ตี ้นื ดงั น้ันการปลกู พืชให้ได้ผลดคี วรพจิ ารณาความลึกของดนิ ดว้ ย ภาพที่ 1.3 แสดงหนา้ ตัดดนิ และหนิ พ้ืน
4[พมิ พ์คำอ้ำงอิงจำกเอกสำร หรือบทสรุปของจดุ ที่นำ่ สนใจ คณุ สำมำรถจดั ตำแหนง่ กลอ่ งข้อควำมได้ทกุ ท่ใี นเอกสำร ให้ใช้แทบ็ 'เคร่ืองมอื กลอ่ งข้อควำม' เพอื่ เปลย่ี นแปลงกำรจดั รูปแบบของกลอ่ งข้อควำมของคำอ้ำงอิงทดี่ งึ มำ] ภาพที่ 1.4 ปจั จัยท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช ความตอ้ งการธาตุอาหารของพืช ธาตุอาหารทจี่ าเป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื มี 16 ธาตุ ในจานวนน้ี 3 ธาตุ คือ คาร์บอนไฮโดรเจน ออกซิเจน ได้จากน้าและอากาศ ส่วนธาตุอาหารอีก 13 ธาตุน้ันมาจากดิน (ภาพท่ี1.5) ในบรรดาธาตุอาหารทั้ง 13 ตัวน้ัน เอ็น พี เค เป็นธาตุอาหารท่ีพืชใช้ในปริมาณมากที่สุดดังน้ันการเพ่ิมเติมธาตุอาหารพืชลงไปในดินในรูปของปุ๋ยจึงเน้นเฉพาะ เอ็น พี เค ส่วนธาตุอาหารอกี 10 ตัวน้นั จัดเป็นธาตุอาหารรองและจุลธาตุ หรือธาตุอาหารเสริม ซึ่งอาจจาเป็นต้องมีการใส่ให้กับพืชบ้างหากดินบริเวณที่ปลูกพืชนั้นขาดแคลน เช่น ดินทราย ดินท่ีเป็นกรดมากไปหรอื เปน็ ด่างมากไปเป็นตน้
5 ภาพที่ 1.5 ความต้องการธาตุอาหารของพืช เมื่อมีการเก็บเกี่ยวพืชออกไปจากดินในรูปของผล หรือใบก็ตาม ธาตุอาหารต่างๆ ก็จะสูญหายไปกับพชื ทเี่ กบ็ เกี่ยว โดยจะสูญเสีย เอน็ พี เค มากกว่าธาตุอาหารตัวอ่ืนๆ ถ้าเราไม่ใส่ธาตุอาหาร เอน็ พี เค เพิ่มเตมิ ลงไปในดนิ ดินก็จะมีธาตุอาหารลดลงเร่อื ยๆ จนในที่สุดดินก็เส่ือมโทรมและไม่สามารถผลิตพืชได้ เม่ือถึงเวลาน้ันการท่ีจะปรับปรุงบารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมือนเดิม จะใช้เวลานานมาก ดังน้ันเราจึงควรทะนุบารุงรักษาดินของเราไม่ให้เส่ือมโทรม โดยการใส่ธาตุอาหารพืชลงไปในดินให้เท่ากับการสูญเสียออกไป การสูญเสียธาตุอาหารไปจากดินมีหลายทางคือ 1.5.1 สูญเสยี ไปกบั สว่ นของพืชทเี่ กบ็ เกย่ี วออกไปจากพน้ื ทป่ี ลูก 1.5.2 ถกู ชะลา้ งออกไปจากบริเวณรากพืช โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ไนโตรเจน 1.5.3 สญู หายไปในรปู ของก๊าซ กรณีของไนโตรเจน 1.5.4 เกดิ การตรึง โดยเฉพาะอย่างย่ิงฟอสฟอรัส การตรงึ หมายถึงธาตอุ าหารถกู ดินหรอืสารประกอบในดินจับไว้ พืชไมส่ ามารถเอาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ (ภาพท่ี 1.6)
6 ภาพท่ี 1.6 การสูญเสียธาตอุ าหารไปจากดินโดยกระบวนการต่างๆ การสูญเสียธาตุอาหารไปกับพืชท่ีเก็บเก่ียวเป็นการสูญเสียท่ีมากท่ีสุด ตารางที่ 1.1 - 1.2แสดงปริมาณธาตุอาหารเอน็ พี เค ทสี่ ญู เสียไปกบั เมล็ดและตอซงั ขา้ วโพดท่ีปลกู ในดินสองชนิด
7 การใช้ท่ีดินเพ่ือการผลิตพืชเป็นการกระทาของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดความสูญหายของปริมาณธาตุอาหารพืชท่ีอยู่ในดิน เน่ืองจากพืชดูดธาตุอาหารที่มีอยู่ในดินเพ่ือใช้ในการเจริญเติบโตและสร้างผลผลิตของพืช ธาตุอาหารบางส่วนจะถูกเก็บสะสมไว้ในส่วนต่างๆของลาต้น ใบและผล เม่ือมนุษย์เก็บเก่ียวผลผลิตออกจากพ้ืนดินที่ปลูก ธาตุอาหารท่ีติดอยู่กับผลผลิตก็จะถูกนาออกจากพื้นท่ีน้ันด้วย หากใช้ท่ีดินผลิตพืชเป็นเวลานานโดยปราศจากการทดแทนปรมิ าณธาตอุ าหารท่ีตดิ ไปกบั ผลผลิต ดนิ ในบริเวณดงั กล่าวจะกลายเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ตา่ และไม่สามารถใช้ผลิตพืชได้ในทส่ี ดุ ภาพที่ 1.7 การทดแทนธาตอุ าหารที่สญู หายไปโดยการใสป่ ุ๋ย
8ดังนั้นเพื่อทดแทนปริมาณธาตุอาหารพืชท่ีสูญหายไปกับผลผลิตจาเป็นต้องมีการเพ่ิมธาตุอาหารให้กับดินที่ปลูกพืชนั้น ซ่ึงจะก่อให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติและนาไปสู่การผลิตพืชท่ีย่ังยืนตลอดไป การใสป่ ุย๋ เป็นวิธีการหนึ่งทสี่ ามารถเพิ่มปรมิ าณธาตอุ าหารให้กับดนิ (ภาพที่ 1.7) ทรัพยากรดิน ดินเป็นสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินชนิดต่าง ๆโดยใช้เวลาท่ีนานมาก หินที่สลายตัวผุกร่อนน้ีจะมีขนาดต่าง ๆ กัน เม่ือผสมรวมกับซากพืช ซากสัตว์ น้า อากาศ ก็กลายเป็นเนื้อดินซ่ึงส่วนประกอบเหล่านี้จะมากน้อยแตกต่างกันไปตามชนิดของดิน
9 ประโยชน์ของดนิ ดินมีประโยชนม์ ากมายมหาศาลต่อมนุษย์และสง่ิ มีชวี ิตอน่ื ๆ คอื 1. ประโยชน์ต่อการเกษตรกรรม เพราะดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรมเปน็ แหลง่ ผลิตอาหารของมนุษย์ ในดนิ จะมีอินทรียวตั ถแุ ละธาตุอาหารรวมท้ังน้าท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช อาหารท่ีคนเราบริโภคในทุกวันน้ีมาจากการเกษตรกรรมถึง90% 2. การเลี้ยงสัตว์ ดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ทั้งพวกพืชและหญ้าท่ีขึ้นอยู่ ตลอดจนเป็นแหลง่ ท่อี ยอู่ าศยั ของสัตว์บางชนดิ เช่น งู แมลง นาก ฯลฯ 3. เป็นแหล่งที่อย่อู าศยั แผ่นดนิ เปน็ ที่ต้งั ของเมือง บ้านเรือน ทาให้เกิดวัฒนธรรมและอารยธรรมของชมุ ชนตา่ ง ๆ มากมาย 4. เป็นแหลง่ เกบ็ กักนา้ เน้อื ดินจะมีสว่ นประกอบสาคัญ ๆ คือ ส่วนท่ีเป็นของแข็งได้แก่ กรวด ทราย ตะกอน และส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้าซ่ึงอยู่ในรูปของความช้ืนในดินซ่ึงถ้ามีอยู่มาก ๆ ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่าเช่น แม่นา้ ลาคลองทาใหเ้ รามนี ้าใช้ได้ตลอดปี
10 ชนิดของดิน อนุภาคของดินจะรวมตัวกันเข้าเกิดเป็นเม็ดดิน อนุภาคเหล่านี้จะมีขนาดไม่เท่ากัน ขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว อนุภาคขนาดกลางเรียกอนุภาคทรายแป้งอนุภาคขนาดใหญ่เรียกว่า อนุภาคทรายเน้ือดิน จะมีอนุภาคทั้ง 3 กลุ่มน้ีผสมกันอยู่ในสัดสว่ นทไ่ี ม่เทา่ กนั ทาให้เกิดลกั ษณะของดิน 3 ชนิดใหญ่ ๆ คือ ดินเหนียว ดินทราย และดนิ ร่วน 1. ดินเหนียว เป็นดินที่เม่ือเปียกแล้วมีความยืดหยุ่น อาจป้ันเป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้เหนียวเหนอะหนะติดมือ เป็นดินที่มีการระบายน้าและอากาศไม่ดี มีความสามารถในการอุ้มน้าได้ดี มีความสามารถในการจับยึดและแลกเปล่ียนธาตุอาหารพืชได้สูง หรือค่อนข้างสูง เป็นดินท่ีมีก้อนเน้ือละเอียด เพราะมีปริมาณอนุภาคดินเหนียวอยู่มาก เหมาะทจ่ี ะใช้ทานาปลูกขา้ วเพราะเก็บน้าได้นาน
11 2. ดินทราย เป็นดนิ ทีม่ ีการระบายน้าและอากาศดีมาก มีความสามารถในการอุ้มนา้ ต่า มคี วามอุดมสมบูรณ์ต่า เพราะความสามารถในการจับยึดธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชที่ช้ันบนดินทรายจึงมักขาดทั้งอาหารและน้าเป็นดินท่ีมีเนื้อดินทรายเพราะมีปริมาณอนุภาคทรายมาก 3. ดนิ รว่ น เป็นดินท่ีมเี น้อื ดนิ ค่อนขา้ งละเอยี ดนุ่มมือ ยืดหยุ่นได้บ้าง มีการระบายน้าได้ดีปานกลาง จัดเป็นเนื้อดินที่เหมาะสมสาหรับการเพาะปลูกในธรรมชาติมักไม่ค่อยพบ แต่จะพบดินทีม่ เี นือ้ ดินใกล้เคยี งกันมากกว่า
12 สีของดิน สขี องดินจะทาให้เราทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ปริมาณอินทรียวัตถุท่ีปะปนอยู่และแปรสภาพเป็นฮิวมัสในดิน ทาให้สีของดินต่างกันถ้ามีฮิวมัสน้อยสีจะจางลงมีความอุดมสมบรู ณ์นอ้ ย ลักษณะโครงสร้างท่ีดีของดิน ได้แก่ สภาพที่เม็ดดินเกาะกันเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่รวมกัน อย่างหลวม ๆ ตลอดชนั้ ของหนา้ ดนิ ปญั หาทรพั ยากรดิน ดนิ สว่ นใหญ่ถูกทาลายให้สูญเสียความอุดมสมบูรณ์ หรือตัวเนื้อดินไปเน่ืองจากการ กระทาของมนุษย์ และการสูญเสียตามธรรมชาติทาให้เราไม่อาจใช้ประโยชน์จากดินได้ อย่างเต็มประสิทธภิ าพ การสญู เสยี ดนิ เกิดไดจ้ าก 1. การกัดเซาะและพังทลายโดยน้า น้าจานวนมากท่ีกระทบผิวดินโดยตรงจะกัด เซาะผิวดิน ให้หลุดลอยไปตามน้า การสูญเสียบริเวณผิวดินจะเป็นพ้ืนท่ีกว้าง หรือถูกกัด เซาะเปน็ ร่องเล็ก ๆ ก็ข้ึนอยกู่ ับความแรง และบริเวณของน้าท่ีไหลบา่ ลงมาก 2. การตัดไม้ทาลายป่า การเผาป่า ถางป่าทาให้หน้าดินเปิด และถูกชะล้างได้ง่าย โดยน้าและลมเม่ือฝนตกลงมา น้าก็ชะล้างเอาหน้าดินท่ีอุดมสมบูรณ์ไปกับน้า ทาให้ดินมี คุณภาพเสือ่ มลง
13 3. การเพาะปลกู และเตรียมดินอยา่ งไม่ถกู วธิ ี การเตรียมที่ดนิ ทาการเพาะปลูกนั้นถา้ ไม่ถูกวธิ กี ็จะก่อความเสียหายกบั ดินได้มากตัวอย่างเช่น การไถพรวนขณะดินแห้งทาให้หน้าดินท่ีสมบูรณ์หลุดลอยไปกับลมได้ หรือการปลูกพืชบางชนิดจะทาให้ดินเสื่อมเร็วการเผาป่าไม้ หรอื ตอข้าวในนา จะทาให้ฮิวมสั ในดินเส่อื มสลายเกิดผลเสยี กับดินมาก ดนิ ทีเ่ ป็นกรด เกษตรกรแก้ไขไดโ้ ดยการใชป้ ูนขาวหว่าน และไถพรวนให้เข้ากบั ดนิ การอนุรกั ษ์ดนิ ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินนั้น จะทาให้เกิดปัญหาอ่ืน ๆ ติดตามมา เช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ทาให้เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบารุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดินที่ถูกชะล้างทาให้แม่น้าและปากแม่น้าตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจานวนมาก เราจึงควรป้องกันไม่ให้ดินพังทลายหรือเส่ือมโทรมซ่งึ สามารถกระทาได้ด้วยการอนุรักษด์ นิ
14 1. การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคานึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากน้ีควรจะสงวนรักษาที่ดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอ่ืน ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ท่ีอยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบรู ณ์และเหมาะสมในการเพาะปลกู มอี ย่จู านวนนอ้ ย 2. การปรบั ปรุงบารงุ ดนิ การเพม่ิ ธาตอุ าหารให้แกด่ นิ เช่น การใส่ปยุ๋ พชื สด ปุ๋ยคอก การปลกู พชื ตระกูลถ่ัว การใสป่ นู ขาวในดินทเ่ี ป็นกรด การแกไ้ ขพืน้ ท่ดี ินเค็มดว้ ยการระบายนา้ เข้าทีด่ นิ เปน็ ต้น 3. การปอ้ งกันการเส่ือมโทรมของดนิ ได้แก่ การปลูกพืชคลมุ ดิน การปลกู พชืหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนวระดับ การทาคนั ดนิ ป้องกันการไหลชะล้างหน้าดนิ รวมทง้ั การไม่เผาปา่ หรือการทาไร่เล่ือนลอย 4. การใหค้ วามช่มุ ชน้ื แก่ดนิ การระบายนา้ ในดินทมี่ ีนา้ ขงั ออกการจดั สง่ เข้าสู่ท่ีดินและการใช้วสั ดุ เช่น หญา้ หรือฟางคลุมหน้าดินจะชว่ ยให้ดนิ มีความอุดมสมบูรณ์
สารบญั หนา้ดิน ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีควรบารุงรักษา 1ความสาคญั ของดิน 1สว่ นประกอบของดิน 2หนา้ ตัดดิน 3ความต้องการธาตุอาหารของพืช 4ทรพั ยากรดนิ 8ประโยชน์ของดิน 9ชนิดของดนิ 10ปญั หาทรพั ยากรดนิ 12การอนรุ กั ษ์ดนิ 13
คานา ดินเปน็ ทรัพยากรท่ีสาคัญและเป็นสมบัติของประเทศ ดินเป็นที่อยู่อาศัยของส่ิงมีชีวิต เป็นแหล่งอาหารของพชื แตใ่ นปจั จุบนั ดินเร่ิมเส่ือมคุณภาพ เช่น ขาดธาตุอาหาร มีสารเป็นพิษเจือปนรวมทั้ง สภาพดินเค็ม สภาพดินเป็นกรด สาเหตุเหล่านี้ ทาให้ผลผลิตทางด้านเกษตรกรรมลดน้อยลง การกระทาของมนุษย์จะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของดิน โดยจะครอบคลุมไปถึงการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์และอิทธิพลของมนุษย์ที่เหนือกว่าสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การบริโภคและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรดินมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน จึงทาให้กิจกรรมในชีวิตประจาวันของมนุษย์เป็นการทาลายทรัพยากรดินอีกปัจจัยหนึ่ง ปัจจัยอ่ืนที่มีผลต่อความเส่ือมโทรมของ ทรัพยากรดินคือการละเลยต่อการบารงุ รักษา รวมทั้งการทิ้งของเสียและสารพิษลงสู่ดิน บทบาทของทรัพยากรดินในการรองรับของเสียจึงเปล่ียนแปลงจนเกิดสภาวะดินเป็นพิษ ดินท่ีเป็นพิษเหล่าน้ี เม่ือถูกพัดพาไปสู่ แหล่งน้าจะส่งผลให้แหล่งน้าน้ันเกิดมลพิษทางน้าได้ หากดินที่เป็นพิษถูกพัดพาหรือฟุ้งกระจายไปในอากาศจะส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศได้ ซ่ึงเป็นสาเหตุให้มนุษย์เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสุขภาพและคณุ ภาพชวี ติ ได้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่สนใจและสามารถนาความร้ทู ไ่ี ดร้ ับจากเอกสารเลม่ นีไ้ ปใช้ในชีวติ ประจาวันให้เกิดประโยชนม์ ากทีส่ ุด ทิพวรรณ หล่งุ ต้ี
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: