Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักกสิกรรมธรรมชาติ

หลักกสิกรรมธรรมชาติ

Published by SEP media, 2019-10-15 00:38:05

Description: “กสิกรรมมันเป็นอารยธรรม เป็นวัฒนธรรม คือผลิตออกมา
สร้างสรรค์ แบ่งปัน สร้างสังคมช่วยเหลือกัน ไม่ใช่สร้างสังคมแข่งขัน” หลักกสิกรรมจึงเชื่อมโยงกับหลักธรรมด้วย คือ นิยาม๕

Keywords: กสิกรรม

Search

Read the Text Version

ชุดถอดค�ำ ครู : วิชาหลักกสกิ รรมธรรมชาติ ๑เครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ (นิยาม ๕) โดย อาจารยย์ กั ษ์ (ดร.ววิ ัฒน์ ศลั ยก�ำ ธร)



หลักกสกิ รรมธรรมชาติ (นิยาม ๕) โดย ดร.ววิ ัฒน์ ศลั ก�ำธร ชุดถอดคำ�ครู : วิชาหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ จากการบรรยายเม่ือวันท่ี ๑๙-๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๑ล�ำ ดบั ๑ ภาคหลักปรชั ญา สารบญั จดุ เร่ิมตน้ ๖ อตุ ุนิยาม ๗ พีชนยิ าม ๘ จิตนยิ าม ๑๒ กรรมนิยาม ๑๒ ธรรมนิยาม ๑๓ กรณตี วั อย่าง นาขาวัง ๑๖ สง่ ทา้ ย ๑๘

4 ชุดถอดค�ำ ครู : วิชาหลักกสกิ รรมธรรมชาติ จะเปลี่ยนแปลงให้ก้าวทันโลกได้อย่างไร ท�ำไมเราไม่น�ำเขา คนทั้งโลกไหลตามน้�ำไป มแี ตป่ ลาตายเทา่ นน้ั ทล่ี อยตามนำ้� เราตอ้ ง เปน็ ปลาเปน็ หนั หลงั กลบั สวนกระแส ใหเ้ ขา มาวิง่ ตามเรา ดร.วิวฒั น์ ศลั ยก�ำธร หรอื อาจารย์ยักษ์ อดีตผอู้ �ำนวยการกองประเมินผลและขอ้ มลู สำ� นกั งาน คณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ (กปร.) สำ� นกั นายกรฐั มนตรี ผทู้ ำ� หนา้ ทจี่ ดบนั ทกึ พระราชดำ� รขิ องพระบาท สมเด็จพระจา้ อยูห่ ัว รชั กาลท่ี ๙ จดั ทำ� แผนสนองพระราชดำ� ริ ตดิ ตาม ประเมินผลและประมวลผลงานสนองพระราชด�ำริของหน่วยงานต่างๆ ถวายรายงานและรับผิดชอบโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริหลาย โครงการ ปัจจุบันเป็นผู้ก่อตั้งศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง และ โรงเรียนปูทะเลย์มหาวิชชาลัย โดยภารกิจส�ำคัญคือบ่มเพาะปรัชญา เศรษฐกจิ พ อเพยี ง ลงในหัวใจของผคู้ น

หลกั กสิกรรมธรรมชาติ (นิยาม ๕) 5

6 ชดุ ถอดคำ�ครู : วิชาหลกั กสิกรรมธรรมชาติ จุดเร่มิ ต้น “...กสิกรแข็งขันเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ไทยจะเรืองอ�ำนาจ เพราะไทยเป็นชาติ กสิกรรม... (เพลง)๑ กสิกรจึงไม่ใช่จะเรืองอ�ำนาจดว้ ยวิธอี ยา่ งอตุ สาหกรรมเหมือนปจั จบุ นั ท่ีพยายามเพาะปลูกบนความเช่ือของค�ำว่า “เกษตร” ซึ่งรากศัพท์ของเกษตรแปลว่ารวย เกษตรจึงหวังขาย หวังรวย สังคมเกษตรกรรมในยุคใหม่จึงเป็นอุตสาหกรรมเกษตร คือ สงั คมแขง่ ขนั ผลติ ออกไปแขง่ กนั เพอ่ื ใหต้ นเองรวยแตก่ สกิ รรมนนั้ เปน็ อารยธรรม กสกิ รรม คอื Agri-Culture เป็นวฒั นธรรมการผลิตท่ีสร้างสรรค์ แบ่งปนั อารยธรรมของเราคือไม่ ขาย ทำ� เพอื่ ใหเ้ หลือกนิ เหลือใช้แลว้ แบง่ ปนั กนั สร้างสังคมช่วยเหลือกนั ไม่ใช่สรา้ งสงั คม แขง่ ขนั แตเ่ ดย๋ี วนี้ปลกู ข้าวมาขายกนั ...มันไม่ใชว่ ัฒนธรรมของเรา” ออกแบบอย่างกสกิ รรม “เม่ือต้องการออกแบบพื้นท่ี ต้องการสร้างบ้านแปลงเมือง ส่ิงส�ำคัญคือต้องเข้าใจเร่ือง “ภมู สิ งั คม”๒ ภมู ิ คอื ภมู ศิ าสตร์ กายภาพ สภาพแวดลอ้ ม สว่ นสงั คม คอื สงั คมของมนษุ ย์ และส่ิงมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ ที่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นวัฒนธรรม เป็นวิถีชีวิต มีจิตวิญญาณ สว่ นหนทางท่ีจะเข้าใจภมู สิ งั คมเพอ่ื นำ� ความรู้นัน้ ไปออกแบบพื้นท่ีใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลง อยา่ งลกึ ซงึ้ และรอบดา้ น คอื การเรยี นรู้ “หลกั กสกิ รรมธรรมชาต”ิ และความอดอยากหวิ โหย จะไม่เกดิ ข้นึ ถา้ คนเราเข้าใจหลักนิยามเกยี่ วกับพชื สตั ว์ มนุษย์ นิยามเหลา่ น้ีมี ๕ นยิ าม” หลักกสกิ รรม ๑. อุตุนิยาม ธรรมชาติ ๒. พีชนิยาม (นยิ าม ๕) ๓. จิตนิยาม ๔. กรรมนิยาม ๕. ธรรมนิยาม หมายเหตุ ในครั้งนีเ้ นน้ ไปท่เี รื่องพชี นยิ าม เพ่อื กาสรา้ งฐานความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ ๑ เพลงชวี ิตกสิกร/กสิกรไทย คำ� ร้อง แก้ว อจั ฉรยิ ะกุล ท�ำนอง เอ้อื สุนทรสนาน ๒ ข้อมลู เพิม่ เติม : ชุดถอดคำ� ครู ภมู สิ ังคมของ อ.ธนติ ธนธู รรมเจรญิ และ อ.พเิ ชษฐ โสวทิ ยสกลุ

หลักกสิกรรมธรรมชาติ (นิยาม ๕) 7 ๑. อตุ นุ ิยาม “มนุษย์เป็นสัตว์สังคมต้องอยู่รวมกันเป็นสังคม เป็นกลุ่ม ซ่ึงสัตว์สังคมจะสัมพันธ์กับ ดวงอาทิตย์ อันเปน็ หน่ึงในอตุ ุ ๔” อตุ ุนยิ าม ประกอบด้วย ดนิ - น้ำ� - ลม - ไฟ : องคป์ ระกอบที่ต้องสำ� รวจ และวิเคราะห์ ก่อนออกแบบพ้ืนที่ ซ่งึ แต่ละพนื้ ที่กจ็ ะมลี กั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป ลม - การเขา้ ใจหลกั การของลม ลมบก ลมทะเล ไฟ - ทิศทพี่ ระอาทิตย์ข้นึ ทศิ ของลมในประเทศไทย หนา้ รอ้ นลมตะวันตก และตก หน้าหนาวมตี ะวนั เฉียงใต้ และหนา้ หนาวลมตะวันออกเฉยี งเหนอื อ้อมข้าวลงเฉยี งไปทางใต้ น้ำ� - ทศิ ทางการไหลของน�ำ้ ที่มาของน�ำ้ การมองภาพรวม ในระดับลมุ่ น้�ำ น�้ำจากสูงลงต่ำ� ส่วนใหญป่ ระเทศไทยน�ำ้ ไหลจาก เหนอื ลงใต้ (ปงิ วัง ยม น่าน ป่าสัก สะแกกรงั ) แตก่ ม็ ีที่ไหล จากใต้ไปเหนือ เชน่ แมน่ ้�ำภาชี และลำ� น�้ำส่วนใหญ่ในภาคอสี าน จะไหลจากตะวันตกไปตะวันออก แมน่ �้ำมูล แม่นำ�้ ชี เปน็ ตน้ ดนิ - รู้จกั ดินแตล่ ะลกั ษณะในพ้ืนท่ี รจู้ กั ความสมบูรณ์ในดนิ หรอื มคี วามรู้ พอทีจ่ ะหาทางแกไ้ ขดนิ เสียได้

8 ชุดถอดค�ำ ครู : วชิ าหลักกสกิ รรมธรรมชาติ ๒. พีชนยิ าม “พืช” เกร็ดความรู้ พชื มรี ะบบการปอ้ งกนั ใบไหม้ คอื การ “แมใ้ นลกู รงั กม็ ธี าตอุ าหารพอทพี่ ชื จะออกดอก ระบายน้�ำออกจากใบต้องคายน้�ำให้ทัน ผลได้ ถ้ามีจุลินทรีย์ โดยไม่ต้องซ้ือปุ๋ยเคมี ย่ิงแดดแรงยิ่งต้องคายน�้ำ เพราะถ้าคาย มาใช้ พระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ ๙ เคยกลา่ วไว้” ไมท่ นั ใบก็เหีย่ วได้ พืชจงึ ทำ� ให้รม่ เย็น พืช ส�ำคัญทสี่ ุด เพราะเป็นแหลง่ อาหาร แหลง่ พลงั งานใหก้ บั มนษุ ย์ ซ่ึงมีความสมั พันธก์ ับอตุ ุ นิยาม พืชเป็นสิ่งมีชีวิตเดียวท่ีสามารถเก็บ พลังงานจากดวงอาทิตย์และหาเล้ียงตนเองได้ (self feeder) ซึ่งคนและสัตว์ไม่สามารถปรุง อาหารได้จากแสง จึงต้องพ่ึงพิงพืชเป็นแหล่ง อาหารเพ่ือให้พลังงานแก่ร่างกาย ดังน้ัน กระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชจึงเป็น ส่งิ จำ� เป็นและสำ� คัญอยา่ งมาก “ใบไมส้ เี ขยี วสามารถเอาแสงมาปรงุ เปน็ นำ�้ ตาล ได้ (C6 H12 O6) ปรงุ เสรจ็ จะสง่ มาให้จลุ ินทรีย์ ทรี่ ากกนิ และเก็บเปน็ แป้งไวท้ ี่สว่ นหวั ” กระบวนการสังเคราะห์แสงของใบไม้คือ น�ำ คาร์บอนไดออกไซค์ 6CO2 รวมกับน้ำ� 6H2O แสงแดดและคลอโรฟลิ ล์ = ไดน้ ำ้� ตาล 1 โมเลกลุ C6 H12 O6 ไดอ้ อกซิเจน 6 โมเลกุล 6O2 (ตามภาพ)

หลกั กสิกรรมธรรมชาติ (นยิ าม ๕) 9 น�้ำ พืชจะดูดน้�ำและอาหารจาก “รากขน ต้นไม้จะเจริญงอกงามดีได้ ที่ต้องการคือ อ่อน” รากขนาดเล็กทมี่ องไมเ่ ห็นด้วยตา ปลาย คารบ์ อนไดออกไซด์ จงึ ทำ� ใหอ้ ากาศดขี นึ้ จากการ รากจะมีจุลินทรีย์อยู่เต็มไปหมด จุลินทรีย์ ซับคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้ ตัวอย่างการ ต้องการน�้ำตาลจึท�ำหน้าที่ย่อยสลาย เกิดการ เดินคุยกับต้นไม้คือการปล่อยคาร์บอนให้ต้นไม้ ดดู ซับขน้ึ ไป (ออสโมซสิ - Osmosis) ต้นไม้จึงโตไวเพราะไดค้ าร์บอน

10 ชุดถอดค�ำ ครู : วชิ าหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ ดินท่ีมชี ีวิตคอื อะไร? “ดนิ กม็ สี งั คม สงั คมของดนิ คอื มสี ง่ิ มชี วี ติ ทม่ี า อาศัยอยู่ ส่ิงมีชีวิตจะอยู่ได้ก็ต้องมีอากาศ ดังน้ันดินที่อุดมสมบูรณ์ควรมีอากาศแทรก อยู่อย่างน้อย 25% เพื่อให้จุลินทรีย์อยู่ได้ ไสเ้ ดอื นอยไู่ ด้ ดนิ ดมี อี ากาศพอดจี ะมลี กั ษณะ รว่ นซุย นมุ่ ยดื หย่นุ ” ภาพกระบวนการสรา้ งชีวิตในดิน ส่ิงมีชิวติ ประเภทไหนท่ที �ำใหม้ อี ากาศในดิน? “ไสเ้ ดอื น? แมลง? ไม่ใช่ ...ค�ำตอบคอื “รากหญา้ ” โบราณจึงมีคำ� สอนว่า “ดินดีเพราะหญ้า ปรก” น่นั เพราะหญ้ามีรากท่ีสามารถแทงลงไปในดนิ ไดล้ กึ และเยอะที่สุด แต่หญ้าจะมอี ายุ แค่เพยี ง ๔๕ วัน จากนัน้ จะออกดอกและตายไป เมื่อหญา้ ตายจลุ นิ ทรียจ์ ะตามมายอ่ ยราก หญ้า ไสเ้ ดือนและแมลงอื่นๆ กจ็ ะตามมากินรากดว้ ย และเมื่อหญา้ ตาย ใบหญา้ กจ็ ะตกมา คลุมดา้ นบนทำ� ใหแ้ ดดสอ่ งไม่ถึงดนิ หญ้าจึงทำ� หน้าท่หี ม่ ดนิ ไว้ (mulching) ไว้พอดินคาย น้�ำก็ขึ้นไปติดหญ้าท่ีห่มอยู่จึงมีความชื้นและท�ำให้เกิดราขาว (ไรโซเบียม) ซ่ึงเป็นราที่มี คณุ ประโยชน์ ทำ� ใหเ้ กดิ สงิ่ มชี วี ติ ตน้ ไมก้ ร็ เู้ รอ่ื งนเี้ หมอื นกนั ลองสงั เกตเวลาหนา้ หนาวตน้ ไม้ จะสลัดใบเพื่อเอาใบมาห่มรากตนเอง ใหเ้ กิดความชุม่ ชน้ื เกดิ ราขาวเพราะต้นไม้กม็ ชี ีวติ

หลักกสิกรรมธรรมชาติ (นิยาม ๕) 11 หลักกสกิ รรมธรรมชาติ : “ดนิ ดเี พราะหญ้าปรก” หญา้ ไม่ใช่ศตั รพู ืชแต่มีสว่ นชว่ ยให้ดินร่วนซยุ เมอ่ื มนี ำ้� สมบรู ณ์ ดนิ สมบรู ณ์ ซากพชื ยอ่ ยแลว้ จะกลายเปน็ ปยุ๋ (Humas) จลุ นิ ทรยี ก์ จ็ ะมาชว่ ย เพอ่ื ใหร้ ากขนดดู ซบั ขนึ้ ไปเลย้ี งสว่ นตา่ งๆ เลยี้ งใบ เลยี้ งตน้ ตน้ จะแตกใบออ่ นกอ่ น จากนน้ั ใบออ่ นจะเปน็ ใบเพสลาด (ไมอ่ อ่ นไม่แก)่ คอยเล้ียงยอดตอ่ ไป ท�ำใหข้ ว้ั เหนียวไม่มีหลดุ หากสังเกตป่าเปิดใหม่ หญา้ จะระบัดขึ้นกอ่ นเพ่ือปกคลุมดิน เมลด็ ตน้ ไม้ทีป่ ลิวมาลงหญ้า จะไมถ่ กู แดดเผา และจะฝงั เมลด็ อยอู่ ยา่ งนนั้ จนสามารถหยงั่ รากได้ โดยสว่ นใหญไ่ มเ้ บกิ นำ� จะเปน็ ไม้อายุส้ันประมาณหนึ่งปี เช่น สาบเสือ ไผ่ ตะขบ ปอหูชา้ ง จะเกิดข้นึ มากอ่ น จาก นน้ั ไมใ้ หญ่ ไม้แกน่ ต่างๆ จะขนึ้ ตามมาแทนที่ หญ้าจงึ เป็นพชื สรา้ งคุณประโยชน์ใหแ้ กด่ นิ ”

12 ชดุ ถอดค�ำ ครู : วิชาหลักกสกิ รรมธรรมชาติ ๓ จติ นิยาม “หากสงั คม คือคน สัตว์ พชื ทุกสังคมย่อมมีจิต มีใจและมีจติ วญิ ญาณ ถา้ เราจะเล้ียงปลา เราก็ตอ้ งเขา้ ใจธรรมชาติของปลาท่ีจะสร้างรัง วางไข่ หาท่ีเลี้ยงลกู การออกแบบหนองน�ำ้ จึงต้องมีตะพักเพื่อเข้าใจวิถีและธรรมชาติของปลา เหมือนการออกแบบบ้านให้คนอยู่ ก็ ต้องเขา้ ใจจติ ใจของผู้อยู่อาศยั ตอ้ ง “ปลูกเรอื นตามใจผู้อยู่” ถ้าเราจะจัดรูปแปลงนาในการเกษตร ก็ต้องรู้ว่าพืชควรอยู่ตรงนี้ ปลาควรอยู่แบบน้ีหากิน ริมตลิง่ กดั รงั ก็ตอ้ งออกแบบพื้นท่ีให้เอื้อตอ่ การด�ำรงชวี ิตของของกงุ้ หอย ปู ปลา หรือ แมแ้ ต่สัตวป์ ีกทจี่ ะมาวางไข่ ส่วนใหญ่มันกจ็ ะวางไข่ในทสี่ งู ไม่ค่อยออกไข่ทำ� รังดา้ นลา่ ง ก็ เพ่ือความปลอดภยั ของลกู มัน ก็ท�ำรังด้านบน ถา้ คุณจะเลยี้ งไก่ นก นกกระทา ตอ้ งอยู่ใน ที่สงู ท้ังหมดคือต้องเขา้ ใจเรยี กวา่ เป็นหลักกสกิ รรมธรรมชาติ...อยา่ งย่อ” ๔ กรรมนิยาม “คอื การทำ� แบบนีจ้ ะสง่ ผลเป็นแบบนี้ เชน่ ถ้าขดุ บ่อสีเ่ หล่ียมลึกลงไปเลย ไมม่ ตี ะพัก ไม่มี ชานส�ำหรบั วางไข่ กอ็ ย่าไดห้ วงั ให้มปี ลามาวางไขเ่ ลย ท�ำกรรมแบบนีผ้ ลก็ออกแบบนี้ จึง ต้องท�ำท่ีเหตุ คือต้องท�ำเหตุให้มันเอื้อให้ธรรมชาติสมบูรณ์ เมื่อท�ำให้สมบูรณ์ก็จะได้ผัก ได้ปลา เม่ือเรามปี ลา มขี องกิน ตน้ ทุนการผลิตกเ็ ทา่ กบั ศูนย์ ทั้งโลกกจ็ ะไมม่ อี ด” การออกแบบหนองทค่ี ดโคง้ ตามธรรมชาติ มีตะพักริมหนองเพ่อื การหากนิ และวางไขข่ องปลา

หลักกสกิ รรมธรรมชาติ (นยิ าม ๕) 13 ๕ ธรรมนิยาม “ธรรมนยิ าม คือ ความไม่มีอะไรก�ำหนดตายตวั ไว้ มนั ไม่นิ่ง ปๆี นึงมนั เปลยี่ น ลมมามนั เปลี่ยน พืชก็ปรับไปตามสภาพแวดล้อม ต้องเข้าใจกฎของ “อนิจจัง” กฎของการ เปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอ้ ม หมุนวน (circle) เป็นธรรมดา พอเข้าใจก็จะต้องคอยดู คอย ซ่อมบำ� รุงมันตลอดเวลา คนั นาปน้ั ไว้อยา่ งดี คลองขดุ อยา่ งดี ตน้ ไม้ปลูกไวต้ รงสเปค็ แต่ พอเหตุการณ์มันเปลีย่ น มีพายพุ ดั มา ก็ตอ้ งคอยซ่อมบำ� รุง นี่คือเรือ่ งธรรมดา ถา้ ไม่เขา้ ใจธรรมชาติไปฝืนธรรมชาตกิ ็ทำ� ใหต้ ้นทุนสงู ผลผลติ ออกมากร็ าคาแพง คนรวย เท่าน้นั ที่มีสทิ ธิซ์ ้ือกิน แตต่ ่อไปคนจนจะมากขน้ึ คนอดกจ็ ะมากขึ้นเรือ่ ยๆ แต่ถ้าท�ำใหเ้ ข้า ถึงธรรมชาติ หลักกสิกรรมน้ีให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ต้นทุนก็จะเป็นศูนย์ ต้นทุนการ เติบโตของปลาในนา ในแม่น้�ำ ในทะเลเป็นศูนย์เพราะธรรมชาติมันเป็นวงจรชีวิต (life circle) ของมนั เอง มนั หมนุ วนของมนั เปน็ พลวตั (dynamic) มคี วามสามารถในการรบั มอื กบั ความเปลยี่ นแปลง ไม่ยดึ ติด ไมค่ งที่ (static) ไม่เปะ๊ ไม่ตายตัว เปน็ อนิจจงั เปน็ ธรรม นยิ ามท่ีเปน็ เร่ืองธรรมดา” “นค่ี ือนยิ ามอธิบายแบบบา้ นๆ ท่สี ดุ ประชาชนทีท่ กุ คนเขา้ ถงึ ได้ และนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ กจ็ ะมชี ีวติ ที่ดี มีสขุ ภาพที่ดี” การซ่อมทางฝายกนั น�้ำ

14 ชดุ ถอดคำ�ครู : วิชาหลกั กสิกรรมธรรมชาติ ความเชือ่ มโยงของ ๕ นิยาม “ชุดท่ีหน่งึ อตุ ุนิยาม เช่ือมโยงกบั พีชนิยาม กระบวนการน้สี ัมพันธ์กัน พืช และดิน น้ำ� ลม ไฟ ชุดท่ีสอง คอื พชื เปน็ ส่ิงมีชีวิตทหี่ าเล้ียงต้นเองได้ (self feeder) คอื หย่ังขา หยงั่ รากลง ไปในดนิ ดึงน�ำ้ ดึงแรธ่ าตุ ผสมอาหาร รับแสงที่ใบ แตส่ ตั ว์ทกุ ชนดิ ทม่ี ชี ีวิตจติ ใจพวกนี้ไม่ สามารถผลติ อาหารเองได้ ไม่สามารถรับพลังงานตรงจากแสงอาทิตย์ได้ ต้องอาศยั ใบพืช รับพลงั งานมา กินใบ กนิ ดอก กนิ รากของพืช มาสร้างเป็นรา่ งกายท่ีส่งเสรมิ จติ นยิ ามได้

หลักกสกิ รรมธรรมชาติ (นยิ าม ๕) 15 และด้วยสัตว์ท้ังหลายสามารถจัดสภาพแวดล้อมท่ีตนเองอยู่ได้ตามความชอบ เช่น นก ก็จดั ที่อยบู่ นต้นไม้ กงุ้ หอย ปู ไปอยทู่ ีต่ นเองชอบ คนก็จดั สภาพแวดลอ้ มได้ คนเรยี นรู้ที่ จะเขา้ ใจแลว้ ทำ� กรรมเพอ่ื เออ้ื ใหส้ ตั วอ์ น่ื มาอยู่ จดั สภาพแวดลอ้ มหรอื ทำ� กรรมทเ่ี ออ้ื ตอ่ สภาพ แวดลอ้ ม ใหม้ อี าหารสมบรู ณ์ ดงั นนั้ มนษุ ยก์ เ็ ปน็ สตั วท์ ที่ ำ� ใหโ้ ลกใบนส้ี มบรู ณห์ รอื ไมส่ มบรู ณ์ ก็ได้ จึงไมค่ วรตัดวงจรความสมั พนั ธ์ใหม้ นั หายไป ความอดอยากก็จะเพมิ่ ข้ึน ก็ถือว่าเปน็ กรรมนยิ าม และมนษุ ยส์ ามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องการกระทำ� จนเหน็ ความเปลยี่ นแปลง คอื ธรรมนยิ าม สตั ว์ไมเ่ ขา้ ใจความเปลย่ี นแปลง แตค่ นรู้ กท็ ำ� เหตปุ จั จยั เปลยี่ นได้ ทสี่ ำ� คญั คอื อย่าไปตัดวงจรมนั โลกกจ็ ะอย่ไู ด้ ถ้ามนษุ ย์เข้าใจธรรมนยิ าม”

16 ชุดถอดคำ�ครู : วชิ าหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ กรณตี ัวอย่าง การเรยี นร้รู ะบบธรรมชาติท่ี “นาขาวงั ” ข้อมูลจาก Facebook : บางปะกง สายน้�ำแหง่ ชวี ิต นาขาวัง เป็นภูมิปัญญาการท�ำนาปี ท่ีเป็น มาลา้ งดนิ ความเคม็ ทต่ี กคา้ งจะไหลมารวม เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของชมุ ชนในพน้ื ท่ี ต.เขาดนิ ทตี่ ำ่� กว่าก็คอื ในคู พอเปดิ น�ำ้ ออกความเคม็ อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา คอื การทำ� นารว่ ม กจ็ ะออกไปดว้ ย ซง่ึ ชาวบา้ นจะเปดิ นำ�้ เขา้ มา กับเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำในที่ผืนเดียวกัน โดย ล้างดินในลักษณะเช่นน้ีไม่น้อยกว่า ๒ ขุดคูน้�ำลึกประมาณ ๗๐ ซม. ไว้ล้อมรอบ สัปดาห์ และจะชิมดินจนกว่าจะจืดตามท่ี แปลงนา เพื่อท�ำนาขาวงั ในชว่ งน�ำ้ จืด และ ต้องการ เพาะเล้ยี งสตั วน์ �ำ้ ในชว่ งน�้ำเค็ม การท�ำนาขาวังเริ่มจากเม่ือน้�ำจืดมาจะเริ่ม การขดุ คนู ำ�้ รอบแปลงนา มสี ว่ นสำ� คญั ทช่ี ว่ ย ถ่ายนำ้� โดยเปดิ นำ้� เข้าออกนาเพื่อให้ดินจดื ใหจ้ ดั การความเคม็ ทต่ี กคา้ งในดนิ ได้ โดยนำ�้ ซง่ึ ต้องใชเ้ วลา ๒ สัปดาห์ ถึง ๑ เดอื น จาก เคม็ จะอยู่ตำ่� กว่าน้ำ� จดื การเปิดใหน้ �ำ้ จืดเข้า นนั้ ทำ� ท่ีไถกลบ พลกิ หนา้ ดนิ แลว้ หวา่ นขา้ ว เมอ่ื ขา้ วอายไุ ด้ ๓๐ วนั จะปลอ่ ยกงุ้ กา้ มกราม หรอื ปลาไปเล้ียงร่วมในแปลงนาด้วย ก่อนได้เวลาเกี่ยวข้าวจะจับสัตว์น�้ำที่โตได้ ขนาดไปขายหรือท่ียังไม่ได้ขนาดจะน�ำไป ภาพตดั การขุดคนู �ำ้ รอบแปลงนา เล้ยี งต่อไว้ในบอ่ เมือ่ ขา้ วอายุได้ ๑๒๐ วนั

หลักกสกิ รรมธรรมชาติ (นยิ าม ๕) 17 จะท�ำการเก็บเก่ียว ได้ข้าวประมาณ ๘๐ ทั้งกุ้ง ปูทะเล หรือปลาน�้ำกร่อย/น�้ำเค็ม ถัง/ไร่ เป็นข้าวที่มีคุณภาพดีมาก (อ.ยักษ์ เลย้ี งจนโตไดท้ ก่ี จ็ ะเรมิ่ จบั ขาย โดยทยอยดกั อธบิ ายวา่ เพราะการเลยี้ งกงุ้ ในนา กงุ้ จะลอก ตวั ที่โตไดข้ นาดไปขาย เรยี กไดว้ า่ ในนาขาวงั คราบ ซ่ึงเปลือกกุ้งน้ันเป็นปุ๋ยชั้นดีให้แก่ แปลงหน่ึงชาวบ้านจะมีรายได้หมุนเวียน นาขา้ ว) เกอื บท้งั ปี หลงั จากเกบ็ เกย่ี วขา้ วแลว้ กจ็ ะเขา้ สหู่ นา้ แลง้ น�้ำเค็มหนุนเข้ามาตามล�ำน�้ำ ชุมชนแถบน้ี ยังสามารถเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำกร่อย/น�้ำเค็ม ตอ่ ได้อกี โดยจะใชร้ ถตไี ถกลบซงั ทิ้งไว้ ๒ สปั ดาห์ จากนนั้ จะปลอ่ ยนำ�้ กรอ่ ย/นำ้� เคม็ เขา้ นาขาวัง ท้ิงไว้อีก ๑ สัปดาห์ จึงปล่อย ลูกพันธุ์สัตว์น้�ำ ท่ีปล่อยเล้ียงร่วมกันได้มี เกร็ดความรู้ การห่มดนิ ต้องใหม้ ีอินทรียวตั ถุ (Organic matter) อยทู่ ี่ ๕% เพราะถ้า มากไปดนิ จะเป็นกรดกลายเป็น “ดินพรุ” (ภาคใต้ ดนิ เปน็ กรดจัด) คอื ใสป่ ุ๋ย คอก ขว้ี วั ขค้ี วายมากไป และถา้ อนิ ทรยี วตั ถนุ อ้ ยไป ดนิ กเ็ ปน็ กรดเชน่ เดยี วกนั วธิ แี กไ้ ข ตอ้ งกระตนุ้ ใหจ้ ลุ นิ ทรยี ย์ อ่ ยสลายใหเรว็ ขน้ึ โดยใชส้ ารกระตนุ้ คอื การ ใส่น้ำ� หมักพชื สด รสจดื (น�ำ้ หมักชีวภาพ) เพอ่ื ปรับใหส้ มดุล แต่ถ้า!! เอาไนโตรเจนราดลงไป (สารเคมี) เทา่ กับทำ� ลายสิ่งมีชวี ติ ในดนิ ทำ� ใหด้ นิ เปน็ กรด ถา้ เอาปนู ทบั อกี เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ดา่ งจะยง่ิ ทำ� ใหแ้ ยล่ ง เพราะขา้ ง บนเป็นด่างข้างล่างเป็นกรด จะเกิดโรคโรคไฟทอปธอรา โรคน้ีชอบดินเป็น กรดและมคี วามชนื้ แฉะ มนั จะยอ่ ยสง่ิ มชี วี ติ แมก้ ระทง้ั นว้ิ คน นว้ิ สตั ว์ กนิ ราก เน่า ซึ่งไม่มีอะไรสามารถฆ่ามันได้ วิธีแก้ไข ต้องลดเงื่อนไขความชื้นแฉะ อย่างเดียว ความช้ืนตอ้ งพอดีที่ ๒๕% ถ้าแฉะต้องระบายน้ำ� ทงิ้

18 ชดุ ถอดคำ�ครู : วชิ าหลักกสกิ รรมธรรมชาติ สง่ ทา้ ย “เม่ือก่อนเกษตรกรม่ังค่ัง พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ เคยตรัสว่า ประเทศของเรามงั่ คง่ั เพราะเขา้ ใจทง้ั หา้ นยิ ามเปน็ อยา่ งดี นค่ี อื ความ ลึกซง้ึ แต่การศกึ ษายุคใหมไ่ ดท้ �ำลายความเขา้ ใจเร่อื งน้ไี ปทงั้ หมด ม่งุ เน้น ใหค้ นหนั มาพงึ่ บรษิ ทั บรษิ ทั กผ็ ลติ ปยุ๋ ส�ำเรจ็ มาให้ใช้ พอปว่ ยกไ็ ปซอื้ ยา ท�ำอะไรก็ไปซ้อื หมด เกษตรกรก็เลกิ ท�ำเอง เลกิ พง่ึ ตนเอง นค่ี ือ การเดินทางสหู่ ายนะ ส่คู วามอดอยากยากแค้น แต่ตอนนี้ท้ังโลกก�ำลังก�ำหนดเป้าหมายด้วยกันว่าต้องท�ำให้ความ อดอยากเป็นศูนย์ (Zero Hunger) หรอื พูดง่ายวา่ ตอ้ งไมท่ ้ิงให้คน อดอยากบนโลกน้ี และท้ังหมดนพี้ ระองคท์ า่ นไดท้ �ำไว้ใหด้ แู ลว้ ”



ชดุ ถอดคำ�ครู : วชิ ากสกิ รรมธรรมชาติ เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ชุด ๑ หลกั ปรัชญา / หลกั กสิกรรมธรรมชาติ ชุด ๒ วชิ าสำ�รวจ วเิ คราะห์ ออกแบบตามหลกั ภมู สิ ังคม ชุด ๓ เขียนตำ�ราบนแผ่นดิน / วชิ าลงมือทำ� ชดุ ๔ การขับเคลื่อนและติดตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook