47
โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้มาตรฐาน (สิ้นสุด โ ค ร ง ก า ร แ ล้ ว ) วัน เดือน ปี ที่จัดโครงการ/กิจกรรม 29 ตุลาคม พ.ศ.2564 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ 1. เพื่อให้เกษตรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพ 2. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ลด ก า ร ใ ช้ ปุ๋ ย เ ค มี แ ล ะ ส า ร เ ค มี ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร 3. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรอย่าง เหมาะสม เพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 4. เพื่อสร้างเครือข่ายขยายผลสู่ชุมชน โรงเรียน สถานศึกษา กลุ่มเกษตรกร แ ล ะ อ ง ค์ ก ร เ อ ก ช น ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ 1. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพ และการนำ ปุ๋ ย อิ น ท รี ย์ ไ ป ใ ช้ 2. เกษตรกรสามารถนำองค์ความรู้ไปจัดการเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ใ น พื้ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม 3. มีการส่งเสริมและเผยแพร่ให้เกษตรกรและบุคคลทั่วไปใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อ ล ด ก า ร ใ ช้ ปุ๋ ย เ ค มี ซึ่ ง ก็ เ ป็ น ก า ร ส น อ ง น โ ย บ า ย ข อ ง ภ า ค รั ฐ ที่ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ปุ๋ ย ชี ว ภ า พ 48
49
14
สัมมาชีพตำบลทุ่งตะไคร แยกออกเป็น หมู่รวมทั้งหมด 8 ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านหนองจิก ได้มีการรวมกลุ่มการทำเชื้อจุลินทรีย์เพื่อการเกษตรเป็น จำนวน 15 คนและกำลังจะยกระดับให้เป็นวิสาหกิจชุมชน ประชากรส่วนใหญ่จะ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร หมู่ที่ 2 บ้านวังน้ำก้า จะมีกลุ่มส่งออกภายในประเทศ ของบ้านภัสสร มีการจัดทำ แบบรายบุคคลและแปรรูปผลิตภัณฑ์ และประชากรส่วนใหญ่รับจ้างเป็นเกษตรกร หมู่ที่ 3 หมู่บ้านทุ่งตะไคร ได้มีการรวมกลุ่มการจัดประเพณีภายในวัดธรรมถาวรและ งานประจำปี ซึ่งประชากรภายในชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และประกอบ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ด ร หมู่ที่ 4 บ้านห้วยมุด ทางผู้นำชุมชนผู้ใหญ่บ้านได้มีการจัดทำปุ๋ยอินทรีย์ให้แก่ชุมชน แ ล ะ เ ป็ น ร า ย ไ ด้ เ ส ริ ม ใ ห้ แ ก่ ป ร ะ ช า ก ร ใ น ห มู่ บ้ า น หมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขายและเกษตรกร หมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขายเป็นจุดศูนย์รวมแหล่งการ ข า ย แ ล ะ ต ล า ด นั ด ทั่ ว ไ ป จ ะ มี ก า ร ค้ า ส่ ง อ อ ก เ ช่ น ทุ เ รี ย น เ ป็ น ต้ น หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกร เช่นการปลูกปาล์มน้ำมัน และมีการ ทำ ใ บ จ า ก ภ า ย ใ น ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ชุ ม ล น หมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร ได้มีการรวมกลุ่มภายในหมู่บ้านเป็นกลุ่มผู้สุงอายุ ได้มีการจัก ทำ ก า ร ส า ร ต ะ ก ร้ า ด้ ว ย พ ล า ส ติ ก แ ล ะ มี ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ผลิตภัณฑ์ชุมชน และกลุ่มอาชีพ ประชาชนในตำบลทุ่งตะไคร มีการรวมกลุ่มกันเพื่อนำทรัพยากรต่างๆในชุมชนมา แปรรูปเป้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากมายได้แก่ กระเป๋าสารเส้นพลาสติกผลิตภัณฑ์จาก บ้ า น ส มุ น ไ พ ร ธ ร ร ม ช า ติ ว ร ร ณ ภั ส ส ร เชื้อไคชตรโคเดอร์มา เป็นต้น ซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆในชุมชนเหล่านี้เป็นการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้และสืบทอด เช่น ด้านการจักสารตะกร้าลวดลาย ต่างๆ สมัยก่อนนำมาดัดแปลงเป็นลวดลายบนกระเป๋า และของใช้ต่างๆ และนอกจาก นี้ยังมีการลดต้นทุนการผลิต เป็นการใช้ทุนชุมชนในการบริหารจัดการชุมชนให้เกิด ประโยชน์อีกด้วย (ข้อมูล จปฐ.2564) 51
15
“พระธาตุมุจลินทร์” หมู่ที่ 1 บ้านหนองจิก ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า วัดมุจลินทารามก่อสร้างในปี 2340 ในบริเวณตำบลทุ่งตะไคร และได้ย้ายวัดมุจลิ นทรารามไปอยู่ที่ หมู่ 1 ตำบลช่องไม้แก้วในปี 2496 ห่างจากบริเวณเดิมไป 700 เมตร ส่วนที่ตั้งวัดเดิมเหลือเพียงพระธาตุมุจลินทร์ และกลายเป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดมุจลินท ร า ร า ม ใ น ปั จ จุ บั น ในปี 2541 ได้รับการประกาศให้เป็นโบราณสถานของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา จากการ ขุดค้นทางโบราณคดีในปี 2551 สรุปได้ทราบว่ามีการสร้างและต่อเติมพระธาตุมุจลินทร์ อย่างน้อย 4 สมัย กลุ่มอนุรักษ์ พระธาตุมุจลินทร์ร่วมกับกรมศิลปากร ดำเนินการบูรณะพระธาตุมุจลินทร์ 2553 และซ่อมแซมพระธาตุมุจลินทร์ครั้งล่าสุด 2554 เดิมบริเวณวัดพระธาตุมุจลินทร์ เป็นที่ตั้งวัดมุจลินทราราม แต่เนื่องจากบริเวณดังกล่าว มีพื้นที่คับแคบ ประมาณ 4 ไร่ 2 งาน ไม่เหมาะแก่การขยายและพัฒนาวัด จึงได้ย้ายไปตั้ง วัดมุจลินทรารามใหม่ ที่หมู่ 1 ตำบลช่องไม้แก้ว อำเภอทุ่งตะโก ห่างจากวัดเดิมประมาณ 1 กิโลเมตร โดยย้ายไปประมาณ 40 ที่แล้ว ปัจจุบันบริเวณพระธาตุมุจลินทร์ เป็นที่ตั้งโรง เรียนมุจทราราม อย่างไรก็ดีพระธาตุมุจลินทร์ก็เป็น ศาสนสถาน ที่มีมาก่อนสร้างวัด แล้ว เข้าใจว่าคงเป็นวัดร้างมาแต่เดิม บริเวณดังกล่าวนี้มีชื่อหมู่บ้านเรียกว่า บ้านหนองจิก เนื่องจากมีต้นจิกเป็นจำนวนมาก จึงเป็นที่มาของชื่อมุจลินทร์ซึ่งแปลว่า ต้นจิก ชาวบ้าน ละแวกนี้เรียกพระธาตุมุจลินทร์ว่า \"พ่อท่านในกุฎิ” คือ เป็นที่เก็บอัฐิของพระสงฆ์ผู้ ศักดิ์สิทธิ์ แต่สืบไม่ได้ว่าพ่อท่านในกุฎิเป็นผู้ใด จากการสันนิษฐานรูปแบบศิลปกรรมของ พระธาตุมุจลินทร์ เข้าใจว่าบริเวณนี้ คงเป็นที่ตั้งชุมชนดั้งเดิมของชาวทุ่งตะโกในสมัยรัตน โกสินทร์ตอนต้น ราวรัชกาลที่ 1-3 รูปแบบศิลปกรรม 53
พระธาตุมุจลินทร์เป็นเจดีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 2.20 X 2.20 เมตร ฐานชั้นล่างเป็น ฐานเขียงรองรับฐานสิงห์ย่อมุมไม้สิบหก ท้องไม้ลักษณะคล้ายเรือนทาส ทำเป็นประตู หลอกทั้ง 4 ด้าน มีปูนปั้นรูปยักษ์เฝ้าประตูด้านละ 2 ตน ซุ้มหน้าบันเป็นลายปูนปั้นรูปราหู อมจันทร์ อยู่เป็นฐานที่ทำล้อกับเรือนทาสรองรับบัวปากระฆังรูปสี่เหลี่ยม องค์ระฆังเป็น รูปสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบหก คอระฆังคือบัวคอเสื้อประดับปูนปั้นเป็นบัวซ้อนกลีบ 3 ชั้น ถัด ขึ้นไปเป็นลูกแก้วรองรับบัวกลุ่มเถา ซึ่งหักเหลือบัวกลุ่มเพียงชั้นเดียว ลักษณะศิลปกรรม ท้องถิ่นกำหนดอายุราวสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น หรือราว 100-150 ปี สถานที่ตั้ง ตั้งอยู่ในพื้นที่โรงเรียนมุจลินทาราม บ้านหนองจิก หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร พื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยว 4 ไร่ 2 งาน การเดินทาง ออกจากตัวเมืองชุมพรมาทางทิศใต้ตามถนนทางหลวงหมายเลข 41 ไป อำเภอทุ่งตะโก จากทุ่งตะโกตรงต่อไปประมาณ 1 กิโลเมตร กลับรถตรงวัดธรรมถาวรขึ้น เขาหนองจิกเลี้ยวซ้ายเข้าบ้านหนองจิก ตำบาลทุ่งตะไคร ตรงไปจนถึงแยกหนองจิกขับ ตรงไปประมาณ 9 กิโลเมตร จะถึงโรงเรียน มุจลินทาราม ตัวพระธาตุตั้งอยู่ภายใน โ ร ง เ รี ย น 54
“สวนชมพลอย” หมู่ที่ 4 บ้านบางมุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม เริ่มโดยคุณก้อยรัชนี จุลใสสร้างสวนชมพลอย เป็นแหล่งท่องเที่ยวในปี 2561 และได้เปิดสถานที่ให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชม เริ่มปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในปี 2562 และเลี้ยงสัตว์ปลาวัวหมูเป็ดควายและไก่ มี ประชาชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้เกษตรอินทรีย์มีการปลูกข้าวไร่และจัดกิจกรรมต่าง ๆ 2563 สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร “วัดธรรมถาวร” หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งตะไคร วัดธรรมถาวร สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2457 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระอธิการคง นารโท เป็นผู้บุกเบิกสร้าง เดิมชื่อวัดดอนโตนด ต่อมาปี พ.ศ.2465 สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรม วชิรญาณวงศ์ เสด็จจากวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ประทานนามว่าวัดธรรมถาวร มีความหมายว่า ศาสนสถานที่ยึดมั่นในธรรมอย่างมั่นคง 55
ป ร ะ วั ติ เ จ้ า อ า ว า ส พระมุนีสารโสภณ วัดธรรมถาวร ชุมพร : อริยะโลกที่ 6 – พระมุนีสารโสภณ (บุญ เกียรติ กุล โสภโณ) เจ้าอาวาสวัดธรรมถาวร ต.ทุ่งตะไคร้ อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพรมีผลงานด้านการพัฒนามากมาย วัตถุ มงคลที่จัดสร้างและอธิษฐานจิตปลุกเสกก็มีโด่งดังอยู่หลายรุ่น อาทิ เหรียญล็อกเกต รูป ไข่ รุ่นแรก เหรียญโลหะทองแดงรูปไข่พิมพ์นิยม รุ่น 2 รุ่นหายห่วง เหรียญโลหะทองแดง รูปพิมพ์นิยม รุ่น 3 รุ่นเฉลิมพระ เกียรติ เป็นต้น นามเดิม บุญเกียรติ จินาห้อง เกิดเมื่อ วันที่ 24 มิ.ย.2474 ตรงกับวันจันทร์ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 8 ปีมะแม ที่บ้านหนองจิก หมู่ 1 ต.ทุ่งตะไคร้ อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 12 พ.ค.2494 ณ พัทธสีมาวัดธรรมถาวร จ.ชุมพรมี พระธรรมรามคณี วัดโตนด อ.หลังสวน เป็นพระอุปัชฌาย์, พระวินัยกิจจารักษ์ วัดทัพชัย อ.หลังสวน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระใบฎีกาชม ติสโร วัดธรรมถาวร เป็นพระอนุสาว นาจารย์ ได้รับฉายา กุลโสภโณ พ.ศ.2499 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส และ หั ว ห น้ า สำ นั ก ส ง ฆ์ วั ด ผุ ส ดี ภู ผ า ร า ม 56
เนื่องจากเป็นวัดในชนบท มีเนื้อที่ 53 ไร่ แต่ไม่ค่อยมีสิ่งปลูกสร้างที่เป็นถาวรวัตถุ โดยเฉพาะศาลาการเปรียญที่เคยสร้างไว้เริ่มชำรุดทรุดโทรม จนต้องรื้อถอนไปแล้ว แต่ ด้ ว ย ศ รั ท ธ า จ า ก โ ย ม แ ล ะ ค ว า ม มุ่ ง มั่ น ข อ ง ท่ า น จึ ง ไ ด้ พั ฒ น า วั ด ใ ห้ เ ป็ น ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ข อ ง ญาติโยมและชุมชนในพื้นที่ พ.ศ.2508 เป็นเจ้าคณะตำบลนาโพธิ์ เขต 1 พ.ศ.2520 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอสวี พ.ศ.2522 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2529 รักษาการเจ้า คณะอำเภอหลังสวน และรักษาการเจ้าอาวาสวัดโตนด อ.หลังสวน พ.ศ.2534 ดำรง ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอสวี ทุ่งตะโก พ.ศ.2544 ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธรรมยุต)พ.ศ.2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธรรมยุต) ลำดับ สมณศักดิ์ พ.ศ.2512 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบลชั้นเอก ที่พระครูโสภณธรรม โกวิท พ.ศ.2529 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2534 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2512 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะตำบลชั้นเอก ที่พระครูโสภณธรรมโกวิท พ.ศ.2529 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2534 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2544 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะจังหวัด ในราช ทินนามเดิม พ.ศ.2545 ได้รับพระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระมุนีสารโสภณยึดหลักเมตตาธรรมส่ง ผลให้พระภิกษุ-สามเณรในปกครอง ไม่เคยปฏิบัติออกนอกลู่นอกทาง แต่ละปีจึงมีพระ ภิกษุ สามเณร มาจำพรรษาศึกษาเล่าเรียนที่วัดแห่งนี้เป็นจำนวนมากถือเป็นร่มธรรมของ ช า ว เ มื อ ง ชุ ม พ ร 57
สถานที่ตั้ง : วัดธรรมถาวร บ้านทุ่งตะไคร หมู่ 3 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จั ง ห วั ด ชุ ม พ ร พื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยว : 53 ไร่ การเดินทาง : ออกจากตัวเมืองชุมพรมาทางทิศใต้ตามถนนทางหลวงหมายเลข 41 ไปอำเภอทุ่งตะโก จาก ทุ่งตะโกตรงต่อไปประมาณ 1 กิโลเมตร เมื่อถึงที่ว่าการอำเภอทุ่งตะโกตรงไปอีก ประมาณ 500 เมตร ทางด้านซ้ายมือจะพบป้ายทางเข้าวัดธรรมถาวร ขับตรง เข้าไปประมาณ 3 กิโลเมตร วัดธรรมถาวรจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ “ถ้ำเขาปีบ” หมู่ที่ 6 บ้านแยกเขาปีบ (บ้านนาเหนือ) เป็นถ้ำที่มีความสวยงามและเงียบสงบ ภายในถ้ำมีหินงอกหินย้อยที่สวยลดหลั่นกัน และยังเป็นที่ประดิษฐ์สถานของพระพุทธรูป(พ่อท่าน) ที่ชาวบ้านนับถือและสักการะ บูชา แหล่งโบราณคดีถ้ำเขาปีบ ตั้งอยู่บริเวณเขาปีบภูเขาหินปูน ซึ่งทอดตัวยาวตาม แนวเหนือใต้ปากถ้ำหันไปทางทิศตะวันออกมีบันไดด้วยปูนประมาณ 50 ขั้น ขึ้นไป ยังบริเวณทำภายในมีการทำทางเดิน และก็ลานซีเมนต์ยกขึ้นมาจากพื้นถ้ำ และ ประดิษฐานพระพุทธรูป ปูนปั้นปางมารวิชัยไว้ภายในโดยจะมีประเพณีสรงน้ำ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ใ น ช่ ว ง เ ท ศ ก า ล ส ง ก ร า น ต์ ข อ ง ทุ ก ปี 58
สิ่งสำคัญพระพุทธรูปปางมารวิชัยหน้าตักกว้าง 1.90 เมตร บริเวณฐานมีจารึก ว่าปีเถาะพ.ศ 2458 สันนิษฐานว่าเป็นปีที่สร้างพระองค์นี้ เจดีย์ ตั้งอยู่เยื้องกับปากทางเข้าถ้ำเขาปีบเป็นเจดีย์ทรงระฆังคว่ำยอดหัก ตั้งอยู่ บนฐาน เขียนสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนลดหลั่นกันไป 4 ชั้นฐานล่างสุดกว้าง 3.10 เมตร ความสูงเท่าที่เหลือ 3.7 เมตร บริเวณฐานมีลายปูนปั้นรูปขาสิงห์ ภายในองค์เจดีย์ กลวง มีร่องรอยการขุดบริเวณฐานเจดีย์และเจาะช่องบริเวณองค์เจดีย์ จารึกอักษรจีนบริเวณผนังถ้ำ อายุสมัย รัตนโกสินทร์ สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบตำบลทุ่งตะไครอำเภอทุ่งตะโกจังหวัดชุมพร การเดินทาง : ออกจากตัวเมืองชุมพรมาทางทิศใต้ตามถนนหลวงหมายเลข 41 ไ ป อำ เ ภ อ ทุ่ ง ต ะ โ ก ก่ อ น ถึ ง สี่ แ ย ก เ ข า ปี บ เ มื่ อ ถึ ง ปั๊ ม น้ำ มั น บ า ง จ า ก ส า ข า ทุ่ ง ต ะ โ ก ขั บ ไ ป อี ก ประมาณ 1 กิโลเมตรทางด้านซ้ายมือจะพบป้ายทางเข้าถ้ำ ขับตรงเข้าไปประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงหน้าถ้ำ 59
16
ด้ า น บ ริ ก า ร ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม แ ผ น ง า น ก า ร ศ า ส น า วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ นั น ท น า ก า ร วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อให้วัฒนธรรมประเพณีได้รับการอนุรักษ์และปฏิบัติอย่าง ต่ อ เ นื่ อ ง จ า ก ช น รุ่ น ห ลั ง ๒. เพื่อให้ประชาชนนำหลักธรรมทางศาสนามาเป็นแบบอย่างใน ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ง า น ที่ ทำ ๑. จัดโครงการเกี่ยวกับเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา ๒. จัดแข่งขันกีฬาภายในตำบล ๓. จัดส่งทีมกีฬาตำบลแข่งขันระหว่างตำบล แ ผ น ง า น ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข็ ม แ ข็ ง ข อ ง ชุ ม ช น 61
แ ผ น ง า น ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข็ ม แ ข็ ง ข อ ง ชุ ม ช น วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อให้ชุมชนมีความเข็มแข็ง คิดเป็นทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น ๒ . เ พื่ อ ส น อ ง ต อ บ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ชุ ม ช น แ ล ะ แ ส ด ง กิ จ ก ร ร ม ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ง า น ที่ ทำ ๑. จัดโครงการเกี่ยวกับเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา ๒. จัดอบรมจริยธรรม ๓. จัดอบรมทัศนะศึกษาดูงาน แ ผ น ง า น ก า ร ศ า ส น า วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ นั น ท น า ก า ร วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑ . เ พื่ อ ใ ห้ วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี ไ ด้ รั บ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง จ า ก ช น รุ่ น ห ลั ง ๒ . เ พื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น นำ ห ลั ก ธ ร ร ม ท า ง ศ า ส น า ม า เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ใ น ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ง า น ที่ ทำ ๑. จัดโครงการเกี่ยวกับเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา ๒. จัดแข่งขันกีฬาภายในตำบล ๓. จัดส่งทีมกีฬาตำบลแข่งขันระหว่างตำบล 62
แ ผ น ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อให้การบริหารงานที่ไม่ใช่ภารกิจของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ เป็นไปอย่าง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ๒. เพื่อให้การบริหารงานตามข้อผูกพันกับหน่วยงานอื่น เป็นไปอย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ง า น ที่ ทำ ๑. จัดซื้อวัสดุในการป้องกันโรคไข้เลือดออก แ ผ น ง า น สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และการดูแลตนเองให้มีสุขภาพ ที่ดี ทั้งร่างกายและ จิตใจ ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มและเปลี่ยนความคิดเห็น และทำประโยชน์ทั้ง เป็นตัวอย่างที่ดีต่อครอบครัว และสังคม ๓. เพื่อให้บริการช่วยเหลือประชาชนโดยการสนับสนุนให้บริการของหน่วยงาน ข อ ง รั ฐ ๔. เพื่อให้ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ป่วยโรคเอดส์มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ง า น ที่ ทำ ๑. พิจารณาจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือผู้ป่วยโรคเอดส์ ๒. อุดหนุนที่ทำการปกครองอำเภอศรีสาคร 63
แ ผ น ง า น เ ค ห ะ แ ล ะ ชุ ม ช น วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑.เพื่อให้การบริหารงานที่ไม่ใช่ภารกิจของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ เป็นไปอย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ๒. เพื่อให้การบริหารงานตามข้อผูกพันกับหน่วยงานอื่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ง า น ที่ ทำ ๑. งานบำรุงไฟฟ้าสาธารณะ ะแล ะ ชุ มชน เคห ส ว น ช ม พ ล อ ย ห มู่ ที่ 4 64
แ ผ น ง า น ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข็ ม แ ข็ ง ข อ ง ชุ ม ช น วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อให้ชุมชนมีความเข็มแข็ง คิดเป็นทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น ๒. เพื่อสนองตอบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน และแสดงกิจกรรมที่เป็น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ง า น ที่ ทำ ๑. จัดโครงการเกี่ยวกับเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา ๒. จัดอบรมจริยธรรม จัดอบรมทัศนะศึกษาดูงาน แ ผ น ง า น ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความรู้ความสามารถในด้าน ต่ า ง ๆ ๒.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีระเบียบวินัย มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ ต่อ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น เ อ ง ๓. เพื่อให้เด็กมีการศึกษา มีร่างกายที่สมบูรณ์ ง า น ที่ ทำ ๑. การบริหารงานทั่วไป การบริหารงานบุคคล เกี่ยวกับการศึกษา ๒. จัดซื้อสื่อการเรียนการสอน ๓. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ๔. จัดกิจกรรมกรรมวันเด็ก ๕. จัดซื้อคอมพิวเตอร์ 65
17
สิ่ ง ที่ ชุ ม ช น ทำ ไ ด้ ดี ( จุ ด แ ข็ ง ) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในตำบลทุ่งตะไคร ยังมีคุณภาพที่ดีมี ความสมบูรณ์ เรื่องขยะและมลพิษไม่เป็นปัญหาต่อการใช้ชีวิตประจำวัน มีการจัด โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม โ ด ย เ ท ศ บ า ล ตำ บ ล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ไ ด้ เ ปิ ด ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ ข ย ะ ห อ ม เป็นสถานที่จัดการขยะอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลทุ่งตะไคร ที่ใช้ขยะอินทรีย์ จากตลาดสดและร้านอาหารในเขตเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร เป็นวัตถุดิบหลักใน การนำมาทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ และนำไปเลี้ยงสัตว์ ทั้งหมู เป็ด ไก่และปลา ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ อิ น ท รี ย์ ที่ มี ค ว า ม ยั่ ง ยื น แ ล ะ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น ก า ร ล ด ปริมาณขยะอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในชุมชน พร้อมส่งเสริมการลดใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และได้มีโครงการและกิจกรรมในการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยให้กับชุมชน โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (ZERO WASTE) และ ผลิตผลที่เหลือทางการเกษตร (ZERO WASTE AGRICULTURE) นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล ตามโครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ที่ ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ข ย ะ แ ล ะ บ ริ จ า ค ข ย ะ รี ไ ซ เ คิ ล ที่ ส า ม า ร ถ นำ ม า แ ล ก เปลี่ยนเป็นเงินได้ เพื่อนำรายได้จากการทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล มาถวาย ณ วัดถ้ำ เขาปีบ ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ทำให้ลดปริมาณขยะที่เกิด ขึ้นในชุมชนได้ดี นอกจากนี้ ทางชุมชนได้รับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้ มาตรฐานโดยเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร เช่น การก่อสร้าง/ปรับปรุง/ซ่อมแซมถนน การซ่อมแซมไฟฟ้า สาธารณะ การก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบประปา หมู่บ้าน และคนในชุมชนช่วยกันพัฒนาและทำความสะอาด ขุดลอกห้วย คู คลอง ใ น ชุ ม ช น 67
สิ่ ง ที่ ชุ ม ช น ต้ อ ง พั ฒ น า ( จุ ด อ่ อ น ) ในช่วงฤดูแล้ง มีปัญหาขาดน้ำอุปโภคบริโภค น้ำจากประปาหมู่บ้านหรือประปา ภูมิภาคยัง ขยายไปไม่ทั่วถึงทุกครัวเรือนที่ต้องการใช้ และมีบางหมู่บ้านที่การ ขยายเขตไฟฟ้าแรงต่ำยังไปไม่ถึงทุกครัวเรือน และเมื่อเข้าช่วงฤดูฝนก็มีน้ำท่วมขัง และน้ำเอ่อล้นท่วมบ้านเรือนและแปลงเกษตร เพราะพื้นที่ตำบลทุ่งตะไคร ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่มและมีคลองไหลผ่าน คือ คลองปากน้ำตะโก คลองเขาปีบ และคลอง ตะโก ในช่วงฤดูฝนที่ตกหนัก ทำให้ปริมาณน้ำฝนจำนวนมากที่ไหลผ่านคลอง ไม่ สามารถระบายน้ำได้ทัน จึงทำให้พื้นที่หมู่บ้านที่อยู่ในลุ่มต่ำ ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาน้ำท่วม ยกเว้นบริเวณด้านตะวันออกจะเป็นที่ราบสูงบางส่วนจะอยู่หมู่ที่ 4 พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้เป็นที่ตั้งชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนถนนในหมู่บ้านส่วนมาก ยังเป็นถนนลูกรัง ทำให้การคมนาคมและการขนส่งในหมู่บ้านยัง ไม่สะดวกรวดเร็ว เ ท่ า ที่ ค ว ร โ อ ก า ส ข อ ง ชุ ม ช น เ ท ศ บ า ล ตำ บ ล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ไ ด้ มี ก 68
เ ท ศ บ า ล ตำ บ ล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ไ ด้ มี ก า ร จั ด โ ค ร ง ก า ร โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จัดการขยะมูลฝอยให้กับชุมชน ชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยเฉพาะการปลูกผลไม้ยืนต้น เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ยางพารา ปาล์มน้ํามัน และพืชผักต่าง ๆ เป็นต้น มีการ เลี้ยงสัตว์ โคสุกร ไก่ แพะ การเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา มีการเลี้ยงผึ้งเพื่อขายน้ําผึ้งใน บางหมู่บ้าน มีแหล่งชุมชนที่สําคัญในการประกอบอาชีพทําธุรกิจ การค้าต่าง ๆ คือ ชุมชนสี่แยกเขาปีบ มีตลาดสดเอกชนที่ได้เกณฑ์มาตรฐาน เทศบาลตำบลทุ่งตะไคร ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส การควบคุม และป้องกันโรคติดต่อ / โรค ระบาด เช่น โรคไข้เลือดออก โรคพิษสุนัขบ้า ส่งเสริม กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ด้วยการออกเยี่ยม ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติด เตียง การช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ยากไร้ เช่น การบริการรถรับ – ส่ง โรงพยาบาล สนับสนุนด้านการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การอนุรักษ์ ส่ง เสริมงานประเพณี วัฒนธรรม ศิลปะ และภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การจัดงานลอย กระทง ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เทศบาลตำบล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ก า ร ส นั บ ส นุ น กิ จ ก ร ร ม ด้ า น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แวดล้อม การตรวจสอบสภาพน้ำตำบล สนับสนุนกิจกรรมของหน่วยงานต่าง ๆ การ เสริมสร้างให้ ชุมชนมีความปลอดภัยและบรรเทาสาธารณภัยและภัยธรรมชาติ 69
อุ ป ส ร ร ค อำเภอทุ่งตะโก มีแหล่งค้าปลีก ค้า ส่งพืชผลทางการเกษตร ก่อให้เกิดปริมาณ ขยะเป็นจำนวนมาก ทั้งขยะในพื้นที่และขยะนอกพื้นที่ ที่นำมาทิ้งภายใน ตำบลทุ่ง ตะไคร และปัญหาลำคลองสาธารณะตื้นเขิน ทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ตำบลทุ่ง ตะไคร ปัจจุบันเนื่องจากด้วยสถานการณ์โควิคระบาด ทำให้การพัฒนาในส่วน ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต้ อ ง ห ยุ ด ไ ว้ ก่ อ น เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ข อ ง โ ร ค แ ล ะ ยั ง ทำ ใ ห้ โครงการการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างล่าช้า รวมทั้งเกิดปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ทำให้ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรและสภาพ แวดล้อม รวมทั้งเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ฝนไม่ตกตามฤดูกาลทำให้ อุ ท ก ภั ย ทำ ใ ห้ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม 70
THUNGTAKHAI HISTORY BOOK
Search