พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มี พระนามเดิมว่า \" เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ \" เป็นพระราช โอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาล ท่ี 4 กับสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ( สมเด็จ พระนางรําเพยภมรภิรมย์ ) พระองค์ประสูติเมื่อวันท่ี 20 กันยายน พ.ศ. 2396 ตรงกับวันอังคาร แรม 3 ค่ํา เดือน 10 ได้ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหมื่น พิฆเนศวรสุรสังกาศ และกรมขุนพอนิจประชานาถ ด้านการศึกษา พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็นมา อย่างดี คือ ทรงศึกษาอักษรศาสตร์ โบราณราช ประเพณี ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยรัฐ ประศาสนศาสตร์ วิชากระบ่ี กระบอง วิชาอัศวกรรม วิชามวยปล้ํา การยิงปืนไฟ เมื่อพระชนมายุได้ 16 พรรษา
พระราชประวัติ ไ ด้ ขึ้ น เ ถ ลิ ง ถ วั ล ย ร า ช ส ม บั ติ โ ด ย มี ส ม เ ด็ จ เจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้สําเร็จราชการ พ.ศ. 2410 พระเจ้านโปเลียนท่ี 3 แห่งฝร่ังเศส ได้ส่ง พระแสงกระบ่ีมาถวาย คร้ันพระชนมายุครบท่ีจะว่า ราชการได้ พระองค์จึงได้ทรงทําพิธีราชาภิเษกใหม่อีก ครั้งหนึ่ง เมือ่ พ.ศ. 2416 ทําให้เกิดผลใหญ่ 2 ข้อ 1. ทําให้พวกพ่อค้าชาวต่างประเทศหันมาทาํ การติดต่อ กับพระองค์โดยตรง เป็นการปลูกความนิยมนับถือกับ ชาวตา่ งประเทศไดเ้ ป็นอยา่ งดีเยีย่ ม 2. ทําให้พระองค์ มีพระราชอํานาจท่ีจะควบคุมกําลัง ทหารการเงินได้โดยตรงเป็นได้ทรงอํานาจในบ้านเมือง โดยสมบรู ณ์
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกิจด้านการไปรษณยี โ์ ทรเลข พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัวทรงเห็นการสื่อสารเปน็ เร่ืองสาคญั และจาเป็นอย่างมากต่อไปในอนาคต พระองค์โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ระทรวงกลาโหมดาเนนิ การก่อสรา้ งวางสายโทรเลขสาหรับสาย โทรเลขสายแรกของประเทศเร่ิมกอ่ สร้างในปี พ.ศ.๒๔๑๘ จาก กรุงเทพฯ - สมทุ รปราการ ระยะทาง ๔๕ กิโลเมตร และไดว้ างสายใต้ น้าตอ่ ยาวออกไปจนถึงประภาคารท่ีปากแมน่ ้าเจา้ พระยาสาหรบั บอก ขา่ วเรือเขา้ - ออก ตอ่ มาไดว้ างสายโทรเลขขนึ้ อกี สายหนึง่ จาก กรุงเทพฯ - บางปะอิน และขยายไปท่ัวถงึ ในเวลาตอ่ มา สาหรับกจิ การไปรษณีย์ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั การไปรษณยี ข์ ้ึนเปน็ ครง้ั แรกในวันท่ี ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๒๔ มที ีท่ าการเรียกว่าไปรษณียาคาร ต้ังอยู่ริม แมน่ า้ เจ้าพระยา และเปิดดาเนินการอยา่ งเปน็ ทางการคร้ังแรกใน วันท่ี ๔ สงิ หาคม พ.ศ.๒๔๒๖ หลงั จากนน้ั จึงโปรดเกล้าฯ ใหก้ รมโทร เลขรวมเข้ากบั กรมไปรษณยี ์ชอ่ื วา่ กรมไปรษณีย์โทรเลข
พระราชกรณียกิจ
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณยี กจิ ด้านการโทรศัพท์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระ วิสัยทศั น์ท่ีก้าวไกล และพระปรีชาสามารถอย่างมากใน การพัฒนาประเทศ โดยกระทรวงกลาโหมได้นํา โทรศัพทอ์ ันเปน็ วิทยาการในการสื่อสารท่ีทันสมัยเข้ามา ทดลองใช้เป็นคร้ังแรกในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ เพือ่ แจง้ ข่าวเรือเข้า - ออกทีป่ ากน้าํ ต่ อ ม า ก รม โ ทร เ ล ข ไ ด้ ม า รั บ ช่ว ง ต่อ ใ น ก า รว า ง สายโทรศัพท์ภายในกรุงเทพฯ ซึ่งใช้เวลา ๓ ปีจึงแล้ว เสร็จพร้อมเปิดให้บริการกับประชาชน และพัฒนามา จนกระทง่ั ทุกวนั นี้
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณยี กิจด้านการพยาบาลและสาธารณสขุ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ที่ จ ะ ส ร้ า ง โรงพยาบาลเพื่อรักษาประชาชนด้วยวิธีการแพทย์แผนใหม่ เนื่องจากการ รักษาแบบเดิมน้ันล้าสมัย ไม่สามารถช่วยคนได้อย่างทันท่วงทีทําให้มี ผู้เสียชวี ิตมากมายเมือ่ เกิดโรคระบาด พระองค์จึงทรงจัดสร้างโรงพยาบาลขึ้น บริเวณริมคลองบางกอกน้อย อันเป็นที่ตั้งของพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ วังหลงั โดยได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จํานวน ๑๖,๐๐๐ บาท เป็น ทุนเริ่มแรกในการสร้างโรงพยาบาล ให้ใช้ชื่อว่า โรงพยาบาลวังหลัง เปิดทํา การรักษาแก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกเมือ่ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑ ต่อมาพระองค์ได้พระราชทานนามโรงพยาบาลแห่งนี้ใหม่ว่าโรงพยาบาลศิริ ราช เพือ่ เปน็ การระลึกถึงสมเดจ็ พระนางเจ้าลกู ยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ พ ร ะ ร า ช โ อ ร ส ที่ ป ร ะ สู ติ ใ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า เ ส า ว ภ า ผ่ อ ง ศ รี พระบรมราชนิ ีนาถ ที่สิน้ พระชนมายเุ พยี ง ๑ ปี ๗ เดือน ทั้งยังได้พระราชทานพระเมรุ พร้อมกับเครื่องใช้ เช่น เตียง เก้าอ้ี ตู้โต๊ะ ฯลฯ ในงานพระศพให้กับโรงพยาบาลเพื่อใช้ประโยชน์ รวมท้ังพระราชทานทรัพย์ ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ จํานวน ๕๖,๐๐๐ บาท ใหก้ บั โรงพยาบาลเป็นทุนในการใชจ้ ่าย
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกจิ ด้านการขนส่งและสือ่ สาร ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้คณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการ สาํ รวจเส้นทาง เพื่อวางรากฐานการสร้างทางรถไฟจากกรงุ เทพฯ - เชียงใหม่ มีการวางแผนให้ทางรถไฟสายนี้ตัดเข้าเมืองใหญ่ๆ ในบริเวณภาคกลางของประเทศแล้วแยกเป็นชุมสายตัดเข้าสู่ จังหวัดใหญ่ทางแถบภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากเป็นหัว ลาํ โพงเมืองที่เปน็ ศูนย์กลางธรุ กจิ การค้า การสํารวจเส้นทางในการวางเส้นทางรถไฟนี้เสร็จสิ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๔ และในวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราช ดาํ เนินขดุ ดินก่อพระฤกษ์ เพื่อสร้างทางรถไฟครั้งแรกที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทย โดยโปรดเกล้า ฯ ให้ทางรถไฟสายนี้เป็นรถไฟหลวง แห่งแรกของไทย
พระราชกรณียกิจ
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกิจด้านการไฟฟ้า ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่าไฟฟ้าเป็นพลังงานที่สําคัญและมี ประโยชน์อย่างมาก เมื่อมีโอกาสประพาสต่างประเทศ ได้ ทอดพระเนตรกิจการไฟฟ้า และทรงเห็นถึงประโยชน์มหาศาลที่จะเกิด จากการมีไฟฟ้า พระองค์จึงทรงมอบหมายใหก้ รมหมื่นไวยวรนารถเป็น ผู้ริเริ่มในการจ่ายกระแสไฟฟ้าขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ ซึ่งเป็นการเปิดใช้ ไฟฟ้าคร้ังแรกของไทยและปีเดียวกัน (พ.ศ. ๒๔๓๓) มีการก่อต้ัง โรงไฟฟ้าท่วี ดั เลียบ หรือวัดราชบูรณะ จนกระทง่ั ถงึ พ.ศ. ๒๔๓๖ ต่อมา เพื่อให้กิจการไฟฟ้าก้าวหน้ายิ่งขึ้น รัฐบาลได้โอนกิจการให้ผู้ชํานาญ ดา้ นนี้ ไดแ้ ก่ บริษทั อเมริกัน ชื่อ แบงคอ็ ค อิเลคตริกซิตี้ ซิดิแคท เข้ามา ดําเนินงานต่อ และในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ บริษัทเดนมาร์กได้เข้ามาต้ัง โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ในการเดินรถรางที่บริษัทได้รับ สัมปทานการเดินรถในเขตพระนคร ต่อมาบริษัทต่างชาติทั้ง ๒ บริษัท ได้ร่วมกันรับช่วงงานจากกรมหมื่นไวยวรนาถ และก่อตั้งเป็นบริษัท ไฟฟ้าสยาม ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ นับเป็นการบุกเบิกไฟฟ้าคร้ังสําคัญ ของประวตั ิศาสตร์ไทย ในการเริ่มมไี ฟฟ้าใช้เปน็ คร้ังแรก
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณยี กจิ ด้านการกฎหมาย กฎหมายในขณะนนั้ มคี วามล้าสมยั อยา่ งมาก เนือ่ งจากใช้มาต้ังแต่ สมัยรชั กาลท่ี ๑ และยังไมเ่ คยมีการชาระขนึ้ ใหม่ให้เหมาะสมกบั ยคุ สมยั ทาให้ ตา่ งชาติใชเ้ ป็นขอ้ อ้างในการเอาเปรยี บไทยเรอ่ื งการทาสนธิสญั ญาเกีย่ วกับการขน้ึ ศาลตดั สินคดที ไ่ี ม่ให้ชาวต่างชาติขน้ึ ศาลไทย โดยตงั้ ศาลกงสลุ พิจารณาคดคี นใน บงั คบั ต่างชาติเอง แมว้ า่ จะมีคดคี วามกับชาวไทยก็ตาม ดังน้นั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวจงึ ทรงโปรดเกล้าฯ สรา้ งประมวล กฎหมายอาญาข้นึ ใหมเ่ พ่อื ให้ทันสมยั ทัดเทียมกบั อารยประเทศ ในปี พ.ศ.๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตง้ั โรงเรียน กฎหมายแห่งแรกของประเทศไทย เพือ่ เปน็ สถานที่สาคัญท่ีผลติ นักกฎหมายทม่ี ี ความรู้ความสามารถในการพัฒนาประเทศต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวโปรดเกลา้ ฯให้ตรากฎหมายลกั ษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗ อนั เปน็ ลกั ษณะกฎหมายอาญาฉบับแรกท่ีนาขน้ึ มาใช้ อกี ทงั้ ยงั โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารตั้ง กรรมการข้นึ มาชุดหน่ึง พจิ ารณาทากฎหมายประมวลอาญาแผ่นดนิ และการ พาณิชย์ ประมวลกฎหมายวา่ ดว้ ยพิจารณาความแพง่ และพระธรรมนูญแห่งศาล ยุติธรรมแต่ยังไม่ทนั สาเรจ็ ดกี ส็ ้นิ รชั กาลเสียก่อน เม่อื สรา้ งประมวลกฎหมายขน้ึ มา ใช้แล้ว บทลงโทษแบบจารีตดั้งเดมิ จึงถกู ยกเลกิ ไปโดยสนิ้ เชิงในรัชกาลของพระองค์ เอง เพราะมกี ฎหมายใหมเ่ ปน็ บทลงโทษ ทเี่ ปน็ หลักการพจิ ารณาที่ดแี ละทนั สมัย กว่าเดิมด้วย
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณยี กิจดา้ นการเปลยี่ นแปลงระบบเงนิ ตรา ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงโปรดเกล้าฯ ใหท้ า ธนบัตรขน้ึ เรยี กวา่ อัฐ เป็นกระดาษมมี ลู ค่าเทา่ กับเหรยี ญทองแดง ๑ อฐั แตใ่ ช้ได้ เพียง ๑ ปกี เ็ ลิกไป เพราะประชาชนไมน่ ยิ มใช้ ต่อมาทรงตั้งกรมธนบัตรขึ้นมา เพอ่ื จัดทาเปน็ ตว๋ั สญั ญาขึน้ ใชแ้ ทนเงนิ กรมธนบตั รไดเ้ ร่มิ ใช้ตวั๋ สัญญาเมอื่ วนั ท่ี ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๕ เปน็ ครง้ั แรก เน่อื งในวโรกาสเฉลมิ พระชนมพรรษาของ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ได้มีการผลิตธนบตั รรนุ่ แรกออกมา ๕ ชนิด คอื ๑,๐๐๐ บาท ๑๐๐ บาท ๒๐ บาท ๑๐ บาท ๕ บาท ภายหลังมธี นบตั รใบละ ๑ บาทออกมาดว้ ย รวมถงึ พระองค์โปรดเกล้าฯ ใหก้ าหนดหน่วยเงินตรา โดยใหห้ น่วยทศนยิ มเรียกว่า สตางค์ กาหนดให้ ๑๐๐ สตางค์ เทา่ กบั ๑ บาท พร้อมกบั ผลิตเหรยี ญสตางค์ขึ้นมา ใช้เปน็ ครัง้ แรกเรยี กว่าเบีย้ สตางค์ มีอย่ดู ว้ ยกัน ๔ ชนิด คอื ราคา ๒๐ สตางค์ ๑๐ สตางค์ ๔ สตางค์ ๒ สตางคค์ รงึ่ ใชป้ นกบั เหรียญเสีย้ ว และอฐั ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงออกประกาศ ยกเลิกใช้เงนิ พดดว้ งและทรงออกพระราชบญั ญตั มิ าตราทองคา ร.ศ.๑๒๗ ประกาศใชเ้ ม่อื วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๔๕๑ วา่ ดว้ ยเรอ่ื งให้ใชแ้ ร่ทองคาเป็น มาตรฐานเงินตราแทนแรเ่ งิน เพ่ือใหเ้ สถยี รภาพเงินตราของไทยสอดคล้องกบั หลัก สากล และในปีต่อมาทรงออกประกาศเลกิ ใช้เหรยี ญเฟือ้ ง และเบ้ยี ทองแดง
พระราชกรณียกิจ
พระราชกรณียกิจ พระราชกรณยี กิจดา้ นการศึกษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัย ในการศึกษารปู แบบใหม่โดยโปรดเกล้าฯ ให้มีการต้ังโรงเรียนขึ้นเพื่อให้ ประชาชนได้รับการศึกษาทั่วกัน เพราะการศึกษาสมัยน้ันส่วนใหญ่ยัง ศึกษาอยู่ในวัด เมือ่ มีการสร้างโรงเรยี นและการศึกษาเจริญก้าวหน้าขึ้น เท่ากับเป็นการบ่งบอกถึงความเจริญทางด้านวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง จึง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงเรียนหลวงแห่งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๔ และ โปรดเกล้าฯ ให้มีการสอบไล่สามัญศึกษาขึ้นอีกด้วย เพื่อเป็นการ ทดสอบความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา นอกจากนี้พระองค์ยังทรงโปรด เกล้าฯ ให้จัดสร้างโรงเรียนหลวงขึ้นอีกหลายแห่ง กระจัดกระจายไป ตามวัดต่าง ๆ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โรงเรียนหลวงแห่งแรก ที่สร้างขึ้นในวัด คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม โรงเรียนหลวงที่ตั้ง ขึ้นมานี้เพื่อให้บุตรหลานของประชาชนท่ัวไปได้มีโอกาสศึกษาหา ความรู้กัน การศึกษาขยายตัวเจริญขึ้นตามลําดับด้วยความสนใจของ ประชาชนที่ต้องการมีความรู้มากขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ ให้โอนโรงเรียน เหล่านี้อยู่ภายใต้การควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ มีการพิมพ์ ตําราพระราชทาน เพือ่ เปน็ ตาํ ราในการเรียนการสอนด้วย
พระราชกรณียกิจ
พระราชกรณียกิจ
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: