1
ก คำนำ การจัดการศกึ ษาด้านอาชีพในปัจจุบันมคี วามสำคญั มากเพราะจะเปน็ การพฒั นาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพเปน็ การแก้ไขปญั หาการวา่ งงาน และสง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกจิ ชุมชนซง่ึ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้กำหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปที จ่ี ะพฒั นาศักยภาพของพื้นท่ีใน 5 กลมุ่ อาชีพใหม่ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ น 5 ภูมภิ าคหลกั ของโลก “รู้เขารู้เราเทา่ ทันเพอ่ื แขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกำหนดภารกิจทจ่ี ะ ยกระดบั การจดั การศึกษาเพือ่ เพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถให้ประชาชนไดม้ อี าชีพทสี่ ามารถ สรา้ งรายไดท้ ีม่ น่ั คง มงั่ ค่งั โดยเนน้ การบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกับศักยภาพด้านตา่ งๆ รว่ มพฒั นาคน ไทยใหไ้ ด้รับการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชพี และการมงี านทำอย่างมคี ุณภาพท่ัวถงึ และเท่าเทียมกนั ประชาชนมีรายไดม้ ั่นคงม่ังค่ังและมีงานทำอย่างยงั่ ยืนมีความสามารถเชิงการแข่งขนั ทงั้ ในระดับ ภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากลซ่งึ จะเปน็ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตในรูปแบบใหมท่ ี่สร้างความม่ันคง ให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ ผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก เปน็ ผลติ ผลผ้าทอที่เกิดจากการพัฒนาภูมิปัญญาดั้งเดมิ ดา้ น การทอผา้ ของทอ้ งถ่นิ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือโดยเฉพาะในแถบจงั หวัดมหาสารคาม เป็น กระบวนการทอผา้ ไหมใหเ้ กดิ เปน็ ผืนผา้ ที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม ประณตี ผา้ ไหมลายสร้อย ดอกหมากเป็นการสรา้ งสรรคล์ ายผ้าโดยนำลวดลายพืน้ ฐานท่ีมมี าแตโ่ บราณคือลายโคม เช่น โคมหา้ โคมเจ็ด โคมเก้า มาพฒั นาใหเ้ ปน็ ลายท่ีมีความละเอียดและเพิม่ สีสันให้สวยงามขึ้นเรยี กชื่อว่า \"ลายสร้อยดอกหมาก” โดยนำโครงสร้างของลายโคมห้ามามดั ยอ้ มซ้อนกับลายโคมเกา้ แลว้ โอบหม่ี แลเงา ใหม้ ีลายแน่นขนึ้ มีความละเอยี ดมากขึน้ และเพ่ิมเติมสสี นั ให้สวยงาม หลากหลาย ทำใหไ้ ด้ ลายผ้าขนาดเล็กและประณตี เอกลักษณผ์ ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก คือ ลายดอกเล็กละเอียด ลวดลายสวยงามสม่ำเสมอ ตลอดทงั้ ผืน สีของผ้า สวยงาม และสม่ำเสมอไมม่ ีรอยด่าง เสน้ ไหมเป็นเส้นเล็กเรียบเสมอท้งั ผนื ดว้ ย ดา้ ยพงุ่ และดา้ ยยนื พื้นผา้ มคี วามละเอียดเนอื้ แน่น สมำ่ เสมอไม่มีรอยโปร่ง อาชพี การทอผ้าไหมจงึ เป็นอีกอาชีพหน่งึ ทจี่ ะเปน็ ทางเลอื กในการสรา้ งรายได้และการมีงานทำ อย่างยั่งยนื ของประชาชน กศน.อำเภอกันทรวชิ ยั
ข สารบญั หนา้ คำนำ ......................................................................................................................... ก สารบญั ...................................................................................................................... ข ผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก มหาสารคาม สาระสำคญั ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม .................................................. 1 ประวตั ิความเป็นมา ............................................................................................ 2 เอกลักษณข์ องผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก ......................................................... 3 กระบวนการผลิต ................................................................................................ 4 คณุ ค่าของมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ............................................................ 7 บทบาทของชุมชนทมี่ ีตอ่ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ...................................... 8 สถานการณ์ปัจจบุ ันของการถา่ ยทอดความร้แู ละปัจจัยคุกคาม ........................... 9 เอสารอ้างอิง ........................................................................................................ 9 บุคคลอ้างอิง ........................................................................................................ 9 หลักสูตรการทอผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก ............................................................. 10 คณะทำงาน ............................................................................................................... 21
1 ผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก มหาสารคาม ผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก พนื้ ทปี่ ฏิบตั ิ บ้านลาด ตำบลศรีสุข อำเภอกนั ทรวิชัย จงั หวดั มหาสารคาม สาระสำคญั ของมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม ผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก เป็นผลิตผลผ้าทอทเี่ กดิ จากการพฒั นาภมู ิปญั ญาดง้ั เดิมด้าน การทอผา้ ของทอ้ งถ่ินภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โดยเฉพาะในแถบจังหวัดมหาสารคาม เป็น กระบวนการทอผ้าไหมให้เกิดเป็นผืนผา้ ที่มีลวดลายและสีสันทส่ี วยงาม ประณตี ผ้าไหมลายสรอ้ ย ดอกหมากเปน็ การสร้างสรรคล์ ายผ้าโดยนำลวดลายพนื้ ฐานทม่ี ีมาแตโ่ บราณคือลายโคม เชน่ โคมห้า โคมเจ็ด โคมเกา้ มาพฒั นาใหเ้ ปน็ ลายท่มี ีความละเอียดและเพม่ิ สสี นั ใหส้ วยงามข้ึนเรยี กช่อื วา่ \"ลายสร้อยดอกหมาก” โดยนำโครงสร้างของลายโคมหา้ มามดั ยอ้ มซอ้ นกบั ลายโคมเก้าแลว้ โอบหม่ี แลเงา ใหม้ ีลายแนน่ ขึน้ มีความละเอียดมากขน้ึ และเพ่ิมเติมสีสนั ใหส้ วยงาม หลากหลาย ทำให้ได้ ลายผา้ ขนาดเลก็ และประณตี กระบวนการสำคัญในการทอผา้ ไหมสรอ้ ยดอกหมาก เร่ิมจากการสาวไหมโดยเลือกไหมที่ เส้นเล็กสม่ำเสมอ นำเสน้ ไหมไปฟอกและยอ้ มสี การเข็นเสน้ ไหม การค้นเครอื หูก การสบื หูก การมดั หมี่ และการย้อมหมี่ การมัดหมซ่ี ่งึ ตอ้ งกำหนดรปู แบบลายให้สม่ำเสมอ ลกั ษณะการมัดสว่ น ของวงโคมเก้าต้องมัดไม่ให้เปน็ เหล่ียม วงดอกทง้ั ปอยหมไี่ มต่ ่ำกว่า 49 ดอก คอื 73 ลำ เพ่ือใหไ้ ดล้ าย ท่แี น่น ละเอียด และสวยงาม โดยมีขัน้ ตอนของการมัดหม่ี คอื มดั หมต่ี ัง้ โครงรา่ งของลาย นำไปย้อมสี แล้วโอบแลเงานำไปกัดสีออกใหไ้ หมขาว แล้วมดั ขวางตรงเชิงของลาย นำหมไี่ ปย้อมสแี ลว้ โอบสี นำหมี่ท่ีโอบแลว้ ไปย้อมสพี ้นื ซึ่งการเลือกสีท่ีจะ ยอ้ มและสพี ้นื น้นั ขนึ้ กบั ความตอ้ งการของชา่ งทอแต่ละคน เอกลกั ษณผ์ ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก คอื ลายดอกเล็ก ละเอยี ด ลวดลายสวยงามสมำ่ เสมอตลอดทั้งผืน สีของผ้า สวยงาม และ สมำ่ เสมอไมม่ ีรอยด่าง เส้นไหมเปน็ เส้นเล็กเรียบเสมอท้ังผืนด้วยด้ายพุ่ง และดา้ ยยนื พื้นผ้ามคี วามละเอียดเนือ้ แน่น สมำ่ เสมอไม่มรี อยโปรง่
2 ประโยชนใ์ ช้สอยผ้าไหมสร้อยดอกหมาก นยิ มนำไปใชเ้ ป็นผ้านุ่งเป็นหลัก นอกจากนั้นสามารถ นำไปตัดเยบ็ เป็นกระโปรง เสอ้ื กางเกง และประยกุ ตไ์ ปเป็นผลติ ภัณฑเ์ คร่ืองใช้ไดห้ ลากหลาย เชน่ กระเปา๋ ย่าม หมวก ซองใส่เอกสาร และของทร่ี ะลกึ อกี หลายชนดิ ประวตั คิ วามเปน็ มา การทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก เป็นภูมิปญั ญาด้ังเดมิ ด้านการทอผ้าของประชาชน ทอ้ งถิ่น ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ในแถบจังหวัดมหาสารคามทสี่ ืบทอดกันมาแต่อดตี กวา่ รอ้ ยปี ซึ่งเปน็ กระบวนการทอผา้ ไหมให้เกดิ เป็นผนื ผา้ ที่มลี วดลายและสีสนั ทีส่ วยงาม ประณตี ผา้ ไหมลายสร้อย ดอกหมากเปน็ การสรา้ งสรรค์ลายผ้าโดยนำลวดลายพ้ืนฐานท่มี มี าแต่โบราณคือลายโคม เช่น โคมห้า โคมเจด็ โคมเก้า มาพฒั นาให้เปน็ ลายทม่ี ีความละเอยี ดและเพม่ิ สีสันให้สวยงามข้นึ เรียกชื่อว่า \"ลายสร้อยดอกหมาก” เน่ืองจากลายดอกได้แรงบนั ดาลใจจากดอกหมาก ซึง่ ในอดตี นัน้ ต้นหมากมีให้ เห็นอยูท่ ว่ั ไปตามหมู่บา้ นในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ด้วยผู้คนสมัยกอ่ นนิยมกนิ หมากกนั และ ต้นหมากนน้ั มดี อกขนาดเล็กมกี ลีบแหลมหกกลีบเรียงเป็นสองช้ันสขี าวแกมเหลอื ง มีเกสรอยูใ่ จกลาง ดอกเป็นเส้นเล็กๆ แผอ่ อกมา ดสู วยงาม เมื่อออกดอกจะเรียงรอ้ ยต่อกนั เปน็ สายและออกเป็นช่อระยา้ ยอ้ ยลงมา ทำให้ชา่ งทอเห็นแล้วเกิดความประทับใจจึงได้นำลกั ษณะของดอกหมากมาสร้างสรรค์เป็น ลายผา้ โดยนำโครงสรา้ งของลายโคมหา้ มามดั ย้อมซ้อนกบั ลายโคมเก้าแลว้ โอบหมี่แลเงา ใหม้ ีลายแน่น ขึน้ มีความละเอียดมากข้ึน และเพิม่ เตมิ สีสันใหส้ วยงาม หลากหลายในการมดั ยอ้ มแตล่ ะคร้ัง ทำให้ได้ ลายผา้ ขนาดเล็กและประณตี แล้วเรียกลายผ้าน้วี ่า \"ลายสรอ้ ยดอกหมาก” ดว้ ยความละเอียดสวยงาม จึงเป็นผา้ ที่นยิ มใช้กนั ในอดีต และมกี ารสืบทอดตอ่ กนั มาในวฒั นธรรมการทอผ้าของกลุ่มผคู้ น ทตี่ ้ังถ่ิน ฐานอยใู่ นบรเิ วณจังหวัดมหาสารคาม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ดว้ ยความยากในการทอ และความซบั ซอ้ นของข้นั ตอนการทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก ทำให้ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการทอ จึงทำใหช้ าวบ้านในเขตจงั หวดั มหาสารคามเลกิ ทอผา้ ไหมลาย สร้อยดอกหมากไประยะหนงึ่ ตอ่ มาเม่อื ปี พ.ศ. 2540 นายดสุ ติ โพธ์ิจันทร์ เจ้าหน้าท่จี ากสำนักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 5 ได้เหน็ ผา้ ลายสร้อยดอกหมากซงึ่ เป็นผา้ ลายโบราณทีม่ คี วามสวยงาม จงึ ไดเ้ ขา้ มาชว่ ยพัฒนากระบวนการมดั หมจ่ี ากเดมิ ทีเ่ ป็นลายเรขาคณิตซง่ึ ดูแล้วแข็งกระด้างใหม้ ี ลักษณะลายทีโ่ คง้ มนขนึ้ ดูไมแ่ ข็งกระด้าง ปรับปรุงการมดั หมใี่ ห้แน่นขึ้น ทำใหไ้ ดด้ อกท่มี ขี นาดเล็ก และพัฒนากระบวนการย้อมสใี หม้ ีความเงางาม แล้วถ่ายทอดให้แกช่ าวบา้ น ซึง่ หนงึ่ ในนนั้ คือ
3 นางสมจติ ร บุรีนอก ชาวบ้านกดุ รงั ตำบลกดุ รัง อำเภอกุดรัง จงั หวัดมหาสารคาม กระทงั่ ปี พ.ศ. 2544 ในยคุ ทีท่ ่านสิริเลิศ เมฆไพบลู ย์ มาเปน็ ผูว้ ่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ท่านได้มีนโยบาย ส่งเสริมเอกลกั ษณ์ของจงั หวดั มหาสารคาม จึงไดม้ กี ารจดั การประกวดผา้ ไหมเมอื งมหาสารคามโดยให้ แต่ละอำเภอส่งผ้าไหมเขา้ มาประกวด ซ่ึงมจี ำนวนผ้าไหมท่สี ่งเขา้ มากว่า 300 ผืน ปรากฏว่า ผ้าไหมท่ี ชนะการประกวดในคร้ังนั้นคอื ผา้ ไหมลายสร้อยดอกหมาก จากอำเภอกดุ รงั ผลงานของ นางสมจิตร บุรนี อก ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ และได้ยกเอาผ้าไหมลายสร้อยดอกหมากข้ึนเป็นผ้าไหม ประจำจงั หวัดมหาสารคาม จากนัน้ จงึ ได้มกี ารส่งเสรมิ ให้ชาวบา้ นไดท้ อผา้ ไหมมัดหมี่ลายสร้อย ดอกหมากกนั อย่างกวา้ งขวางจนถึงปัจจบุ ัน เอกลกั ษณข์ องผา้ ไหมสรอ้ ยดอกหมาก 1. เอกลกั ษณด์ ้านลวดลาย รูปทรงของลายเปน็ รปู ดอกหมากขนาดเล็ก ลายดอกประกอบดว้ ยสว่ นสำคัญคอื ช่อดอก โบราณนิยมย้อมสีเขยี ว กลบี ดอกโบราณนิยมยอ้ มสีแดง และเกสร ดอกโบราณนยิ มย้อมสีเหลือง สว่ นพืน้ นยิ มยอ้ มเป็นสีเม็ดมะขาม เมือ่ ผ้าลายสร้อยดอกหมากทอสำเร็จเปน็ ผืนผา้ ออกมาแล้วจะเห็น ลายดอกที่มสี สี ันทั้งสีเขียว สีแดง สเี หลือง ตัดกบั สพี ื้นทำให้ลาย ปรากฏอย่างโดดเด่น ดว้ ยสว่ นประกอบของลายดอกและสีทใ่ี ช้ จงึ เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของผา้ ไหมสร้อยดอกหมากทไ่ี ม่ปรากฏใน ผา้ ไหมลายอ่ืนๆ นอกจากน้ีปัจจบุ นั ยังไดม้ กี ารคดิ คน้ สที ่ีนำมาย้อมสว่ นตา่ งๆ ของลายดอกและสพี ืน้ ท่ี หลากหลาย 2. เอกลกั ษณด์ า้ นเทคนคิ ภูมิปัญญา ผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมากใช้เทคนิคการมดั ลายซอ้ นกัน คอื การมดั ลายโคมห้า มดั ซ้อนกับลายโคมเก้าซ่ึงเป็นลายท่ีมีมาแต่โบราณ จากน้นั จงึ ทำการโอบหมแี่ ล เงาเพื่อใหล้ ายมีความแนน่ และสว่ นประกอบของลายดอกมี ความละเอยี ด ทำใหม้ ีคุณสมบตั ิพิเศษเป็นจดุ เด่นคอื เกดิ เปน็ ลาย ดอกขนาดเลก็ ทมี่ คี วามละเอียดอย่างย่ิง เม่อื นำมายอ้ มสีลงไปใน การย้อมแต่ละครงั้ ทำใหไ้ ดส้ ที สี่ วยงาม เมอ่ื ทอออกมาเปน็ ผืนผ้า แล้วจะทำให้เห็นลายดอกหมากท่มี ีรูปทรงเปน็ ช่อชน้ั และมีสีสัน
4 ที่สวยงามจบั ตา เรยี งรอ้ ยเปน็ เสน้ สายบน ผืนผ้าไหมตลอดท้ังผืน ดว้ ยการใช้เส้นไหมแทท้ ี่เปน็ เสน้ เล็ก เรียบทั้งดา้ ยพงุ่ และดา้ ยยืน ทำให้ไดผ้ นื ผา้ ไหมมคี วามละเอียดเนือ้ แน่น สม่ำเสมอไม่มรี อยโปร่ง และ เมือ่ ถูกแสงแดดกจ็ ะเกดิ ความแวววาวสวยงาม กระบวนการผลติ 1. การสาวไหม ทำไดโ้ ดยการตม้ ตัวไหม โดยใชห้ มอ้ ท่ีมี ความกวา้ งของปากวัดโดยรอบประมาณ 25 นิ้ว โดยทั่วไปใชห้ ม้อ น่งึ ขา้ ว ปากหม้อนัน้ ครอบดว้ ยไม้โคง้ คล้ายห่วงของถังไมแ้ ละใชไ้ ม้ ลักษณะแบนเจาะรูตรงกลางพาดระหว่างห่วงทงั้ สองขา้ ง และ เหนอื ไม้แบนๆ น้ี มไี ม้รอกซง่ึ มลี กั ษณะเป็นวงกลม จากนน้ั เอาฝกั ไหมที่จะสาว ใส่ลงไป ในหมอ้ ต้มประมาณ 30 – 50 นาที ระหว่างทรี่ อ ให้คนรงั ไหมในหมอ้ ประมาณ 2 – 3 คร้ัง ให้รงั ไหมสกุ ทวั่ กนั แล้วเอาแปรงชะรังไหมเบาๆ เสน้ ไหมก็จะติดแปรงขนึ้ มา จงึ นำมาสอดท่รี ูตรงกลางของไม้ ระหวา่ งห่วง ทง้ั สองข้าง และสาวให้พน้ รอก 1 รอบ จากน้ัน เวลาสาวไหม จะใช้มือทงั้ สองข้าง โดยมือหนึง่ สาวไหม จากรอก ลงภาชนะทีร่ องรับเส้นไหม ส่วนอีกมอื หน่ึงถือไม้ อนั หนง่ึ เรยี กว่า \"ไมข้ นื \" ซ่ึงมลี กั ษณะเปน็ งา่ มยาวประมาณ 1 ศอก เพอ่ื ใช้ในการกดและเขย่ารังไหมท่ี อยใู่ นหม้อเพราะรังไหมทีอ่ ยใู่ นหม้อน้นั จะลอยข้นึ มาถ้าไม่กด และเขยา่ รังไหมจะเกาะกันแนน่ สาวไม่ ออก หรอื ออกมาในลักษณะทีเ่ ส้นไหมมขี นาดไม่สม่ำเสมอกนั เครือ่ งสาวไหมทงั้ หมดเรียกว่า \"เครือ่ ง พวงสาว\" การสาวไหมน้ีต้องหม่ันเติมนำ้ เย็นลงไปเป็นระยะระวงั อย่าให้นำ้ ถึงกับร้อนและเดอื ด เครอื่ งมอื ในการสาวไหมประกอบด้วย 1. เครอ่ื งสาวไหม หรือ พวงสาว คอื รอกทใ่ี ช้ดึงเส้นไหมออกจากหม้อ 2. เตาไฟสำหรับต้มรงั ไหม อาจเปน็ เตาถ่านหรือเตาทีใ่ ชฟ้ ืนก็ได้
5 3. หมอ้ สำหรับตม้ รังไหมจะเป็นหมอ้ ดินหรือหม้อเคลือบก็ได้ ทีน่ ยิ มใช้หมอ้ น่ึงขา้ วเหนียว เรียกว่าหมอ้ น่งึ เพราะมขี อบปากบานออกรบั กับพวงสาวไดพ้ อดี 4. แปรงสำหรับชะรังไหมทำดว้ ยฟางขา้ ว 5. ถงั ใส่น้ำ เพือ่ เอาไว้เตมิ น้ำในหมอ้ ตม้ เม่อื เวลาน้ำร้อนเดอื ด 6. ไมข้ นื สำหรบั เขย่ี รงั ไหมในหม้อให้เปน็ ไปตามต้องการและ ใหเ้ สน้ ไหมผ่านขึ้นไปยังรอก 7. กระบงุ หรือตะกรา้ สำหรับใส่เสน้ ไหม 2. การฟอกไหม หลงั จากทสี่ าวไหมจนหมดแล้ว ข้ันตอนตอ่ ไป ก็คือ ตอ้ งนำไหมทไ่ี ด้นัน้ มาฟอกให้น่มิ และเป็นสีขาว วิธีฟอกไหม ชาวบา้ นไมไ่ ด้ใช้สารเคมี แต่จะใช้ของทีห่ าง่ายอยใู่ กล้ตัว เชน่ กาบกลว้ ย ใบกลว้ ย ตน้ กล้วย ผักโขมหนาม ตน้ ตัง ไก่น้อย งวงต้นตาล ก้านตาล ฝักหรือเปลอื กเพกา ฯลฯ อย่างใดอยา่ งหนึง่ นำมาฝานให้ บาง ผง่ึ แดดให้แห้ง และเผาไฟจนเป็นเถา้ นำเถา้ ทไี่ ด้ไปแช่น้ำไวใ้ ห้ ตกตะกอน ใชเ้ ฉพาะสว่ นทเี่ ป็นนำ้ ใส นำไหมท่ีจะฟอกลงแชโ่ ดยกอ่ นจะ นำไหมลงแช่จะต้องทบุ ไหมใหอ้ ่อนตวั เพือ่ ท่ีนำ้ จะได้ซมึ เข้าไดง้ า่ ย แช่ จนไหมนิม่ และขาว จงึ นำไปผง่ึ แดดให้แหง้ หากไหมยังไม่สะอาดก็ นำไปแช่ตามวิธีเดมิ อกี จากนน้ั การดงึ ไหมออกจากล่มุ ไหมจะตอ้ งทำโดย ระมดั ระวังไมใ่ หพ้ ันกัน เส้นไหมท่ีฟอกแล้วจะอ่อนตวั ลง เสน้ น่ิม 3. การมดั หม่ี คอื การทำผ้าไหมให้เปน็ ลายและสสี นั ตา่ งๆ ตาม แบบหรือลายที่ได้ออกแบบไว้ ซง่ึ ปจั จบุ นั มีท้งั แบบลายที่ เป็นแบบลายโบราณและแบบทีเ่ ป็นลายประยกุ ต์ โดยการ มดั เสน้ ไหมใหเ้ ปน็ ลวดลายทีเ่ สน้ พงุ่ ด้วยเชือกฟางมดั ลาย แล้วนำไปย้อมสี จากนนั้ นำมามัดลายอกี แลว้ ย้อมสสี ลับกนั หลายคร้ัง เพอ่ื ให้ผ้าไหมมลี วดลายและสตี ามตอ้ งการ
6 4. การยอ้ มสไี หม สีไหมทน่ี ิยมใชย้ อ้ มมี 2 ชนดิ คือ 4.1 สยี อ้ มทไี่ ดจ้ ากธรรมชาติ ได้จากต้นไม้ ใชไ้ ด้ทง้ั ใบ เปลอื ก ราก แกน่ และผล ชาวอีสาน รจู้ กั การย้อมสไี หมใหไ้ ดส้ ตี ามตอ้ งการ จากสีธรรมชาติมานานแล้ว มขี ั้นตอนทย่ี งุ่ ยากพอสมควรเร่ิม จากไปหาไมท้ จี่ ะให้สที ี่ต้องการ ซึ่งจะอยใู่ นป่าเป็นส่วนใหญ่ บางสีต้องการใช้ต้นไมห้ ลายชนิด ทำให้ ยุ่งยาก เมื่อไดม้ าแล้วตอ้ งนำมาสับมาซอย ห่ันให้เป็นชิน้ เลก็ ๆ นำไปต้มกรองเอานำ้ ให้ไดม้ ากตาม ตอ้ งการ แล้วจงึ นำไปย้อมแต่ละคร้งั สีจะแตกต่างกันออกไป ไมเ่ หมือนเดิมทเี ดยี ว ทำให้เกิดรอยดา่ ง บนผืนผา้ ได้ ปจั จบุ ันจึงนิยมใช้สเี คมีเปน็ สว่ นมากหรือเกือบท้งั หมด เพราะย้อมง่าย ข้นั ตอนท่ที ำไม่ ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นสีทไ่ี ดส้ ม่ำเสมอ จะย้อมก่ีคร้ังๆ ก็ได้สีเหมอื นเดมิ และ สีติดทนนานมากกว่าสีจากธรรมชาติ ต้นไม้ทนี่ ำยอ้ มแบบพืน้ บา้ น สี ทย่ี อ้ มจากธรรมชาติ มีดงั นี้ 1. สีแดง ไดจ้ าก คร่ัง รากยอ 2. สีน้ำเงนิ ไดจ้ าก ต้นคราม 3. สีเหลือง ไดจ้ าก แก่นขนุน ขมิ้นชนั แกน่ เข 4. สีเขยี ว ไดจ้ าก เปลอื กสมอและใบหูกวาง ใบเตย 5. สมี ่วงอ่อน ได้จาก ลกู หว้า 6. สีชมพู ได้จาก ต้นฝาง ต้นมหากาฬ 7. สดี ำ ได้จาก เปลือกสมอ และลูกมะเกลอื ลูกระจาย 8. สสี ม้ ไดจ้ ากลกู สะตี (หมากชาต)ี 9. สีน้ำตาลแก่ ได้จาก จานแก่นอะลาง 10. สีกากีแกมเขียว ไดจ้ าก เปลือกเพกากบั แก่นขนุน 11. สีกากีแกมเหลือง ได้จาก หมากสงกับแก่นแกแล 4.2 สยี อ้ มวทิ ยาศาสตร์ หรอื สสี ังเคราะห์ มีสว่ นผสมทางเคมีวธิ ีย้อมแต่ละครงั้ จะใช้สัดส่วน ของสี และสารเคมีที่แน่นอน สที ไี่ ด้จากการยอ้ มแต่ละคร้งั จะเหมือนกัน แหล่งทอผ้าในปัจจบุ นั นิยมใช้ สยี อ้ มวิทยาศาสตร์
7 5. การทอผ้าไหม วธิ ีการในการทอผ้าเปน็ ขั้นตอนสดุ ทา้ ย กอ่ นท่จี ะออกมาเป็นผา้ ผนื คอื การทอผ้าไหมจะประกอบไปด้วยเสน้ ไหม ๒ ชุด คอื ชุดแรกเป็น \"เสน้ ไหมยืน”จะขงึ ไปตามความยาวผา้ อยู่ ตดิ กับกท่ี อ (เครื่องทอ) หรือแกนม้วนดา้ นยืน อีกชุดหนึ่งคือ \"เสน้ ไหมพงุ่ ” จะถูกกรอเขา้ กระสวย เพื่อให้กระสวยเป็นตวั นำ เส้นดา้ ยพุ่งสอดขดั เสน้ ดา้ ยยืนเป็นมมุ ฉาก ทอสลับกนั ไปตลอด ความยาวของผนื ผา้ การสอดดา้ ยพุ่งแตล่ ะเสน้ ตอ้ งสอดใหส้ ุด ถงึ รมิ แต่ละดา้ น แล้วจึงวกกลับมา จะทำให้เกิดริมผ้าเป็น เสน้ ตรงท้ังสองดา้ น ส่วนลวดลายของผ้านั้นขึ้นอยู่กับการวาง ลายผ้าตามแบบของผทู้ อทีไ่ ด้ทำการมัดหม่ไี ว้ คณุ คา่ ของมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม แตเ่ ดิมชาวบ้านแถบจังหวัดมหาสารคามทอผ้าลายโบราณ ตามแบบบรรพบุรุษอยหู่ ลายลายดว้ ยกนั ภายหลงั ลายเกา่ แก่ เหล่านก้ี ็เร่มิ สูญหายไปจากชีวิตการทอผา้ ของชาวบ้าน เน่ืองจาก ความยากในการทอ ลายสร้อยดอกหมากกเ็ ปน็ ลายผ้าโบราณลาย หนึ่งทเี่ กือบจะสูญหายไปจากทอ้ งถิ่น ดว้ ยความทีล่ ายผ้ามคี วาม ละเอยี ดมาก ผู้ทอต้องมคี วามรูใ้ นเรอ่ื งของลาย และมฝี มี อื ทง้ั ใน การมดั และการทอ ถ้าไมม่ ีความชำนาญ การย้อมสอี าจไม่สม่ำเสมอ ทำใหล้ ายผ้าผิดเพย้ี นไป นอกจากนีต้ ้องใชร้ ะยะเวลาในการทอมาก จึงเป็นสาเหตุใหช้ าวบ้านไม่นิยม ทอผา้ ลาย \"สร้อยดอกหมาก” จนกระทัง่ ทางจงั หวดั มหาสารคาม ไดจ้ ัดใหม้ ีการประกวดผา้ ไหมประจำ จังหวดั ขึ้น ปรากฏวา่ ผ้าไหมที่ได้รบั รางวัลชนะเลศิ นั้น คือ ผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก เพราะมีความ สวยงามและวิจติ รบรรจงมาก จงึ ได้เลือกผา้ ไหมลายสร้อยดอกหมากเป็นผ้าไหมประจำจังหวัด พรอ้ ม กับสนบั สนุนใหช้ าวบา้ น ทอผา้ ลายนี้ใหม้ ากขนึ้ ทำให้ขณะน้ีกลมุ่ ทอผ้าไหมทกุ อำเภอของจงั หวดั มหาสารคาม ตา่ งก็หันมาผลิตผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมากกนั มากขึ้น
8 \"ลายสรอ้ ยดอกหมาก” เปน็ ชื่อลายตามคำเรยี กของคนโบราณ ปัจจุบันชาวบา้ นอาจเรียก ตา่ งกันไป ในแต่ละท้องถิน่ เช่น ลายเกลด็ ปลา หรือลายโคมเกา้ เกดิ จากการนำเอาลายโคมห้ามา มดั ซอ้ นกับลายโคมเกา้ และทำการโอบหมี่แลเงาเพอื่ ใหล้ ายแน่นข้ึนละเอยี ดขน้ึ ทำให้มคี ณุ สมบตั ิพิเศษ เปน็ จดุ เด่นคอื เป็นลายเล็กท่ีมีความละเอยี ดอยา่ งยิ่ง เม่ือนำมาประยกุ ตส์ สี ันตล์ งไปในการมดั ยอ้ ม แต่ละครง้ั เกดิ เปน็ ชอ่ ช้นั ทำให้มองดสู วยงามจับตามีคณุ คา่ มากขึน้ การทอผา้ ไหมลายสร้อยดอกหมาก เส้นไหมทใ่ี ช้จะตอ้ งเส้นเลก็ มีความสมำ่ เสมอ การทอผา้ ไหม ลายสรอ้ ยดอกหมาก ใช้เวลาในการทอมากและขนึ้ อยูก่ บั ความละเอยี ดของลาย เฉพาะการมดั หม่ี ใช้ระยะเวลานาน 4 – 5 วัน ยง่ิ ลายละเอียดก็ต้องขยายลำหมี่ใหม้ ากข้นึ เป็น 49 ลำ หรือ เป็น 73 ลำ ดอก จะมขี นาดเล็กลงไป สว่ นข้ันตอนการทอใชเ้ วลาประมาณ 15 วนั ตอ่ หน่งึ ผืน บทบาทของชมุ ชนทม่ี ตี อ่ มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม ชาวบ้านไดม้ กี ารกอ่ ตัง้ กลมุ่ ทอผา้ ไหมบา้ นลาด โดยมี นางตุย๋ เหลา่ ชยั เป็นหัวหนา้ กลุ่ม และเป็นผูถ้ า่ ยทอดความรู้ใหเ้ พอื่ นบ้านใกลเ้ คียง ซงึ่ เดิมทำการทอผ้าไว้สำหรบั ใช้งานในบ้านอยู่ แลว้ เมอื่ มกี ารทอผ้าไดม้ ากขน้ึ จงึ มีการนำผ้าทอได้ไปจำหนา่ ย จงึ เกิดแนวคดิ ในการรวมกลมุ่ กนั เพอ่ื ผลติ และหาตลาดจดั จำหน่าย เพื่อสร้างรายได้ สรา้ งอาชีพแกก่ ล่มุ แมบ่ า้ น โดยการจัดตง้ั กลุม่ วิชาชีพ 1 อำเภอ 1 อาชีพ เปน็ การพัฒนาอาชพี ในชุมชน เพือ่ ให้เกดิ การเรียนรู้และถา่ ยทอด ภมู ปิ ัญญาใหแ้ กค่ นรุ่นใหม่ ไดร้ บั การสนับสนนุ กศน.อำเภอกันทรวชิ ยั ดา้ นงบประมาณศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กลุ่มไดซ้ อ้ื เส้นไหมจากวิสาหกจิ ชุมชนโรงสาวไหมชมุ ชนโนน งาม ตำบลห้วยเตย อำเภอกดุ รัง จังหวัดมหาสารคาม และจาก จังหวัดใกล้เคียง และวตั ถุดบิ อ่ืนในการย้อมเส้นไหมหาซอื้ ได้จาก ภายในทอ้ งถิ่น ดา้ นการการผลติ สินคา้ กล่มุ ไดท้ ำการอนุรักษ์ภมู ิ ปัญญาทอ้ งถิ่นโดยฟ้ืนฟูการทอผา้ ไหมลาย \"สรอ้ ยดอกหมาก” ซงึ่ เปน็ ลายผ้าด้ังเดมิ ของทอ้ งถน่ิ อสี านซง่ึ เกอื บจะสญู หายไป นอกจาก จะทำการทอผ้าไหมแลว้ ยังได้มีการนำผ้าไหมไปตดั เย็บเสอื้ ผ้าเครื่อง แตง่ กายและของใชต้ า่ งๆ
9 สถานภาพปจั จุบนั ของการถา่ ยทอดความรแู้ ละปจั จยั คกุ คาม ปญั หาและอุปสรรคในปัจจุบนั คอื กำลังการผลิตไมเ่ พียงพอต่อความต้องการของตลาด โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญต่างๆ เชน่ วันพ่อ วันแม่ วันข้ึนปใี หม่ เนอ่ื งจากมลี ูกค้าส่ังซอ้ื สนิ ค้า เปน็ จำนวนมาก และในการทอผา้ ไหมต้องใช้ความประณตี และระยะเวลานานพอสมควร ทำให้ การสง่ั ซอื้ สนิ คา้ ของลกู ค้าแตล่ ะครั้งใช้เวลานานกว่าจะไดส้ ินคา้ อาจทำให้ลกู คา้ ไม่ซือ้ สนิ คา้ สมาชิก ส่วนใหญ่เปน็ เกษตรกร ในฤดู ทำนาอาจทำให้ขาดกำลังผลติ สินค้า ทำใหส้ ินค้าไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของลูกค้า แนวทางแก้ไข สมาชิกสบั เปลย่ี นหมนุ เวียนกนั ทอผ้าไหมทัง้ กลางวันและ กลางคืน เพอื่ ให้ทันกับคามตอ้ งการของลูกค้า เอกสารอา้ งองิ - กลมุ่ ทอผา้ ไทย เอกสารประกอบการเรียนรู้ การทอผ้าไหมมัดหมล่ี ายสรอ้ ยดอกหมาก บ้านลาด ตำบลศรสี ุข อำเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม บคุ คลอา้ งองิ - นางตุ๋ย เหลา่ ชัย บ้านลาด หม่ทู ี่ 1 ตำบลศรีสุข อำเภอกนั ทรวิชยั จงั หวัดมหาสารคาม - นางอม้ โสนะโชติ บ้านลาด หมู่ท่ี 13 ตำบลศรีสขุ อำเภอกนั ทรวิชัย จงั หวัดมหาสารคาม - นางทองม้วน พานพนั ธ์ บ้านลาด หมทู่ ่ี 17 ตำบลศรีสขุ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
10 หลกั สตู รการทอผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก จำนวน 35 ชวั่ โมง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรวชิ ยั ผา้ ทอเปน็ สอ่ื สัญลกั ษณ์ของคนในแตล่ ะชุมชน แสดงถงึ เช้ือชาติ เผ่าพันธ์ุ และความแตกต่าง ทางวฒั นธรรม ผ้าทอยงั คงเปน็ ปจั จัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ตั้งแต่แกจ่ นถึงตาย และมี บทบาทสำคญั ท้งั ในแง่เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม การทอผ้าเรม่ิ จากการสาน มนุษยเ์ ร่มิ สาน ตน้ หญ้าอ่อนเพอื่ ใช้ใส่วัสดุ สิง่ ของ และตอ่ มากลายเป็นเส่ือและตะกรา้ และพัฒนามาเป็นวธิ กี ารตอ่ ต้น พชื เพ่ือเป็นเสน้ ทยี่ าวและทำให้ เหนยี ว ข้นึ สามารถรบั น้ำหนักได้มากขน้ึ จนกระทัง่ มกี ารคิดคน้ วัสดุ การทอจากพืชมาเป็นเสน้ ใย เช่น ฝ้าย รู้จกั วธิ กี าร ทออย่างงา่ ย คอื การนำฝา้ ยมาผกู กับหนิ เป็นเสน้ ยืน และใช้เส้นพุง่ เข้าไปเวลาทอ ในอดีต เดก็ ผู้หญงิ ทุกคนจะถูก ฝกึ หัดให้รจู้ กั การทอผ้า และเย็บปัก ถักร้อย ซง่ึ เปน็ สิ่งท่จี ำเป็นในการดำรงชีวติ ในชุมชนภาคเหนือ ผ้าทอ ยังคงบทบาททางสังคมและ วฒั นธรรม นอกจากบทบาททางการค้า ยังมกี ารใชผ้ ้าใน ประเพณแี ละพิธีกรรมตา่ ง ๆ ดังนน้ั การสืบ ทอดความคิด ความเชื่อ แบบแผนทางสงั คม จากคนร่นุ เกา่ สคู่ นรุ่น ใหม่ และพัฒนาศักยภาพ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินที่มีอยู่ ในการเสรมิ สร้างคุณภาพชีวิต เพ่อื การด ารงอย่ขู อง วัฒนธรรมควบคู่กับ การพฒั นาเปน็ อาชพี และรายได้ของคนชุมชน การทอผา้ เป็นวฒั นธรรมอย่างหนึ่งทส่ี บื ทอด กันมา นอกจากคุณค่าทางศลิ ปะแลว้ ยังเป็นการแสดงถึงแบบแผนความเปน็ อยู่ในสังคม การจัดการศึกษาอาชีพในปจั จุบันมีความสำคญั มากเพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศใหม้ ีความร้คู วามสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพเป็นการแก้ไขปญั หาการว่างงาน และส่งเสรมิ ความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกจิ ชุมชนซ่งึ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ ำหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปที จี่ ะพัฒนาศกั ยภาพของพื้นทใี่ น 5 กลุ่มอาชพี ใหม่ใหส้ ามารถแขง่ ขันได้ใน 5 ภมู ิภาคหลกั ของโลก “ร้เู ขารู้เราเทา่ ทนั เพอื่ แขง่ ขันไดใ้ นเวทโี ลก” ตลอดจนกำหนดภารกจิ ทจ่ี ะ ยกระดบั การจัดการศึกษาเพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชพี ทส่ี ามารถ สร้างรายไดท้ ่ีมน่ั คง ม่งั คัง่ โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพดา้ นตา่ งๆ ร่วมพัฒนาคน ไทยให้ได้รบั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชีพและการมงี านทำอย่างมคี ุณภาพทว่ั ถึงและเท่าเทยี มกนั ประชาชนมรี ายไดม้ น่ั คงมั่งคงั่ และมีงานทำอยา่ งย่งั ยืนมีความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ทงั้ ในระดับ ภูมิภาคอาเซยี นและระดับสากลซ่ึงจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ในรปู แบบใหม่ที่สรา้ งความมัน่ คง ให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ
11 สภาพสังคมในปจั จุบนั มนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในดา้ นต่างๆเช่น ดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื งสังคมและส่งิ แวดลอ้ มเปน็ อย่างมากประชากรเพิ่มขน้ึ เร่ือย ๆ แตท่ รัพยากรมี น้อยลงจงึ มคี วามจำเปน็ ต้องใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยูอ่ ย่างจำกดั ให้มคี วามคมุ้ ค่าย่งิ ข้ึนโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เรอื่ งของการประกอบอาชีพดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์มีความจำเป็นท่จี ะต้องใชป้ ระโยชนจ์ ากการ ประกอบอาชพี ให้มีความคุ้มคา่ ยิ่งข้ึน อาชีพการทอผา้ ไหมจงึ เป็นอีกอาชพี หน่ึงทจ่ี ะเป็นทางเลอื กในการสรา้ งรายได้และการมงี านทำ อย่างยงั่ ยืนของประชาชน หลกั การของหลกั สตู ร การจัดการศกึ ษาเพือ่ การพฒั นาอาชีพเพ่ือการมีงานทำกำหนดหลกั การไว้ดังน้ี 1. เปน็ หลักสตู รท่ีเน้นการบรู ณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั ศักยภาพดา้ นต่างๆ 5 ดา้ นไดแ้ ก่ศักยภาพ ของทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพืน้ ที่ ศกั ยภาพของพนื้ ท่ีตามหลักภมู ิอากาศ ศักยภาพภูมปิ ระเทศ และทำเลท่ีตง้ั ของแต่ละประเทศ ศักยภาพของศลิ ปะวฒั นธรรมประเพณี วถิ ีชีวิตของแตล่ ะพน้ื ท่ี และ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะพน้ื ที่ 2. รุน่ พัฒนาคนไทยให้ได้รับการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมงี านทำอย่างมีคุณภาพท่วั ถงึ และเทา่ เทยี มกันสามารถสรา้ งรายได้ท่มี ั่นคงและเป็นบุคคลที่มีวนิ ัยเปี่ยมไปดว้ ยคุณธรรมจรยิ ธรรม มจี ิตสำนกึ ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม 3. สง่ เสรมิ ใหม้ ีความร่วมมือในการดำเนนิ งานร่วมกับภาคเี ครือขา่ ย 4. เน้นการฝกึ ปฏิบัติจรงิ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถนำไปประกอบอาชีพ ใหเ้ กิดรายได้ที่มัน่ คงมัง่ คั่งและย่ังยนื ในอาชีพส่งเสรมิ ให้มีการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์เข้าสู่ หลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน จดุ มงุ่ หมาย 1. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกิดทักษะความรคู้ วามเข้าใจเทคนิคการทอผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชพี ได้ 2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถออกแบบการมัดรายการยอ้ มสีท่ีสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด 3. เพ่ือเป็นการอนรุ กั ษภ์ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และอาชีพดงั้ เดิมของบรรพบรุ ุษ 4. เพอ่ื เป็นการสบื สานวฒั นธรรมการทอผ้า
12 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเปา้ หมาย คือ ประชาชนกลุม่ เป้าหมายนอกระบบโรงเรียน 1. ผู้ที่ไมม่ ีอาชพี 2. ผู้มีอาชพี และตอ้ งการพัฒนาอาชพี 3. ควรเปน็ ผ้มู ีใจรกั ในการทอผา้ และมีความอดทน ระยะเวลา 35 ชวั่ โมง ทฤษฎี 14 ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ 21 ชว่ั โมง โครงสร้างหลกั สตู ร 1. ชอ่ งทางการประกอบอาชพี การทอผ้า 1.1 ความสำคัญของการประกอบอาชพี การทอผ้า 1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการขอค่า - การวางแผนและการบริหารจดั การ - แหล่งเงินทนุ และการจัดหาเงนิ ทนุ - ความตอ้ งการของตลาด - ช่องทางการจัดจำหนา่ ย 1.3 ศกึ ษาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรูท้ ีเ่ ก่ยี วข้อง - ศนู ย์อนรุ ักษผ์ ้าไหม - สถานประกอบการเกี่ยวกบั การทอผา้ - ร้านค้าหรือตวั แทนในการจำหน่ายผลผลติ - เครือขา่ ยกลมุ่ ทอผา้ 1.4 การตัดสนิ ใจในการเลอื กอาชีพ - ความต้องการของตลาด - สถานประกอบการเครือขา่ ยกล่มุ องคก์ รท่ปี ระสบผลสำเร็จ
13 2. ทกั ษะการประกอบอาชพี การทอผ้าไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก 2.1 ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ียวกบั การทอผา้ ไหมลายสร้อยดอกหมาก - ประวัติความเป็นมาวฒั นธรรมการทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก - กระบวนการและรปู แบบการทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก - ความสำคญั และประโยชนข์ องการประกอบอาชีพการทอผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก 2.2 การเตรียมวัตถุดิบและส่วนประกอบ - ขั้นตอนในการเตรียมดา้ ยสำหรับการทอ - การเลือกเสน้ ไหม - วัตถุดิบและส่วนประกอบ 2.3 การฟอกด้าย - วตั ถุประสงค์ของการปอ้ งไหม - วสั ดุและอุปกรณ์ของการฟอกไหม - ขน้ั ตอนการฟอก - ข้อควรระวังในการฟอกไหม 2.4 การกวกั ไหม/การแกว่งไหม - จดุ ประสงค์ของการกรอกไหม/การแบง่ ไหม - วัตถุวัสดุอปุ กรณ์ - วิธีการกวกั ไหม/การแกวง่ ไหม - ขอ้ ความระมดั ระวังในการกวักไหม/การแบ่งไหม 2.5 การเตรียมเสน้ ไหมพงุ่ /ด้ายยน่ื - ข้ันตอนการเตรยี มเส้นไหมพุ่ง/ย่นื - การออกแบบลวดลาย - การร้อยหลอดเล็กเปน็ พวง 2.6 การคน้ เสน้ ไหม - จดุ ประสงคข์ องการค้นไหม - วัสดุและอปุ กรณ์ - วธิ ีการคน้ ไหม
14 - ขอ้ ควรระวงั ในการค้นไหม 2.7 การออกแบบลายและการย้อมสีไหม - วสั ดอุ ุปกรณ์ - วธิ ีการมดั ลาย/ในขัน้ ตอน/การยอ้ มสีไหม - ขอ้ ควรระวังในการมัดลายและการย้อมสีไหม - การตรวจสอบความถกู ต้องของลวดลาย 2.8 การกรองเสน้ ไหมยื่น/ดา้ ยพุ่ง - จดุ ประสงคข์ องการกรอไหม - วสั ดุและอุปกรณ์ - วิธีขั้นตอนการกรอด้าย - ข้อควรระวงั ในการกรอไหม 2.9 การม้วน/ปั่นไหม - จดุ ประสงค์ของการม้วน/ป่ันไหม - วสั ดุและอปุ กรณ์ - วิธกี ารม้วน/ปั่นไหม - ขอ้ ควรระวงั ในการมว้ น/ป่ันไหม 2.10 การเก็บตะกอ - จุดประสงคข์ องการเกบ็ ถกั ตะกอ - วสั ดุและอปุ กรณ์ - วิธี/ข้นั ตอนการเก็บตะกอ - ขอ้ ควรระวังในการเก็บตะกอ 2.11 การทอผา้ พืน้ เมืองแบบ ๒ เสน้ - ขน้ั ตอนการทอผา้ พนื้ เมืองแบบ ๒ เสน้ - การเตรียมก่ี - การนำหลอดพุ่งใสก่ ระสวย - การพุ่งกระสวย - การจัดลวดลายและแต่งรมิ ขอบผ้า
15 - การกระแทกฟืม - การขงึ หน้าผ้าใหต้ ึง - การต่อเส้นไหมย่ืนและเส้นดา้ ยพุ่งเมื่อเสน้ ด้ายขาด - การปรับและปลอ่ ยเส้นด้ายยนื - การวิง่ เสน้ ยื่นขณะทอผ้า - การเกบ็ ก่เี ม่อื หยุดพกั การทอผ้า 2.12 การประยกุ ต์รปู แบบการขายเป็นผ้าแบบต่างๆท่ีสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างหลากหลาย - การทอผ้าคลมุ ไหลล่ ายสรอ้ ยดอกหมาก - การทอผ้าพนั คอลายขดิ - การทอผ้ารูปแบบอน่ื ๆเช่นผ้าปโู ตะ๊ ผา้ ตกแตง่ ผนงั และอ่นื ๆ 3 การบรหิ ารจดั การอาชพี 3.1 การบรหิ ารจัดการอาชีพการทอผ้า 3.1.1 การดแู ลรักษาคณุ ภาพของผ้า 3.1.2 การลดต้นทนุ ในการผลติ ของผา้ 3.1.3 การเพิม่ มลู คา่ สินค้า - การแปรรปู - การออกแบบ - การประยกุ ต์ใช้ 3.2 การจดั การตลาด 3.2.1 การทำฐานขอ้ มูลลกู คา้ ท่ีใช้บริการคู่แข่งทางการตลาด 3.2.2 ประชาสัมพันธ์ 3.2.3 ส่งเสริมการขายและการบรกิ าร 3.2.4 การขอมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ 3.3 การจดั การความเส่ียง 3.3.1 การวิเคราะหศ์ ักยภาพในการประกอบอาชีพการทอผา้ 3.3.2 แกป้ ญั หาความเส่ียงในการประกอบอาชีพการทอผ้า
16 4 โครงการประกอบอาชพี 4.1 ความสำคัญของโครงการประกอบอาชพี การทอผา้ 4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพการทอผ้า 4.3 องค์ประกอบในแต่ละองค์ประกอบของอาชีพการทอผ้า 4.4 การเขยี นโครงการการทอผ้า 4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคลอ้ งของโครงการการต่อภาพการจัดการ กระบวนการเรียนรู้ 1. ศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสาร/ภูมิปัญญา 2. ฟงั วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ 3. การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. แลกเปล่ียนเรียนรู้ 5. ทำใบความรูแ้ ละใบงาน 6. ฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองเพ่ิมเตมิ อย่างตอ่ เนือ่ ง 7. ฝึกปฏบิ ตั จิ ริงและทดสอบผา่ นเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้ ที่ เรอ่ี ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอ้ื หา การจดั กระบวน จำนวนชั่วโมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 - ชอ่ ง สามารถอธบิ ายช่อง 1. ความสำคญั วิทยากรอธบิ าย 5 ทางการ ทางการประกอบ ของการประกอบ ความสำคัญของ ประกอบ อาชพี การทอผา้ อาชพี การทอผา้ การประกอบอาชพี อาชีพ 2. ความเป็นไป การทอผ้า การทอผา้ ได้ในการ ประกอบอาชพี การทอผา้
17 ท่ี เรี่อง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนื้อหา การจดั กระบวน การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 2 - ทกั ษะการ สามารถบอกลกั ษณะ ทกั ษะการ วิทยากรอธบิ ายทักษะ 3 21 ประกอบ ของทกั ษะการ ประกอบอาชพี การประกอบอาชพี อาชีพการ ประกอบอาชพี การทอ การทอผ้าไหม การทอผ้า ทอผ้า ผา้ ไหมลายสร้อย ลายสร้อย - สาธติ ดอกหมาก ดอกหมาก - ปฏบิ ัติ 3 - การ สามารถอธบิ าย การประกอบ - อธบิ าย 3 บริหาร การประกอบอาชพี อาชพี - สาธิต จัดการ 1. ความสำคญั ของ ทอผ้าไหมลาย - ปฏิบัติ อาชพี การประกอบอาชีพ สร้อยดอกหมาก การทอผ้าไหมลาย การประเมนิ ผล สร้อยดอกหมาก - การทำแบบ 2. ประโยชน์ของ ประเมิน การประกอบอาชีพ - การตลาด การทอผ้า 3. องค์ประกอบในแต่ ละองค์ประกอบของ อาชพี การทอค่า 4. การประเมินความ เหมาะสมและ สอดคลอ้ งของ โครงการการทอผา้
18 ท่ี เรอี่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจดั กระบวน จำนวนชั่วโมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 4 - โครงการ 4.1 บอกความสำคัญ 4.1 ความสำคัญ 4.1 จดั ให้ผ้เู รียนศกึ ษา 3 ประกอบ ของ โครงการอาชีพ ของโครงการ เนอ้ื หาจาก ใบความรู้ อาชพี ได้ อาชพี การทอผา้ เร่อื งความสำคัญ ของ 4.2 บอกประโยชน์ ไหม โครงการอาชพี ของโครงการ อาชพี 4.2 ประโยชน์ ประโยชน์ของ ได้ ของโครงการ โครงการอาชพี 4.3 บอกองค์ประกอบ อาชพี การทอผา้ องค์ประกอบของ ของ โครงการอาชพี ได้ ไหม โครงการอาชพี แล้วจัด 4.4 อธิบาย 4.3 องค์ประกอบ กิจกรรมสนทนา ความหมายของ ของโครงการ แลกเปลีย่ น ขอ้ มูล องคป์ ระกอบของ อาชพี การทอผา้ ความคดิ เหน็ เพ่ือสร้าง โครงการอาชีพได้ ไหม แนวคดิ ในการดำเนนิ 4.5 อธบิ ายลักษณะ 4.4 การเขียน กจิ กรรม การเรยี นรู้ การเขียนทด่ี ี ของ โครงการ อาชีพ 4.2 จัดให้ผูเ้ รียนศกึ ษา องคป์ ระกอบของ การทอผา้ ไหม สาระ ข้อมูล จากใบ โครงการอาชีพทดี่ ีได้ 4.5 การประเมิน ความรู้ เร่อื ง ตัวอยา่ ง 4.6 เขียนโครงการใน ความ เหมาะสม การเขยี นโครงการ แตล่ ะองค์ประกอบ ได้ และ สอดคล้อง อาชพี ทีด่ ี เหมาะสม เหมาะสมและถกู ตอ้ ง ของโครงการ และถกู ต้อง พร้อม 4.7 ตรวจสอบความ อาชีพ การทอผา้ จัดการอภปิ รายเพ่ือ เหมาะสม และ ไหม สรปุ แนวคิดเป็น สอดคล้องของ แนวทางในการ เขียน โครงการอาชพี ได้ โครงการอาชีพท่ดี ี เหมาะสมและถูกตอ้ ง
19 ที่ เรอี่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวน จำนวนชัว่ โมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 4.3 จัดให้ผเู้ รียนฝึก ปฏิบัตกิ ารเขยี น โครงการอาชพี 4.4 กำหนดให้ผเู้ รียน ฝกึ ปฏิบัติการประเมิน ความ เหมาะสมและ สอดคล้อง ของ โครงการอาชีพ 4.5 จดั ให้ผู้เรียน ปรับปรุง โครงการ อาชพี ใหม้ ีความ เหมาะสมและ ถูกตอ้ ง 4.6 กำหนดให้ผูเ้ รยี น เขียน โครงการอาชพี ของตนเอง เพอื่ เสนอ ขอรบั การ สนับสนุน งบประมาณ ดำเนนิ งานอาชพี และใชใ้ น การดำเนินการ ประกอบ อาชีพตอ่ ไป สื่อการเรยี นรู้ 1. สื่อเอกสาร 2. เอกสารประกอบการเรียนรู้
20 3. ใบงาน 4. ใบความรู้ 5. ภมู ิปญั ญา 6. สถานประกอบ การวดั และประเมนิ ผล 1. การประเมนิ ความรู้ภาคทฤษฎีระหวา่ งเรยี นและจบหลักสตู ร 2. การประเมินผลงานการปฏิบัติระหวา่ งเรยี นความสำเรจ็ ของการปฏิบตั ิและจบหลักสูตร การจบหลกั สตู ร 1. เวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ัติตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 3. มผี ลงานทม่ี ีคณุ ภาพจึงจะไดร้ บั วุฒิบัตร เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 1. หลกั ฐานการประเมินผล 2. ทะเบียนคมุ วุฒิบตั ร 3. วุฒิบตั รออกโดยสถานศึกษา การเทยี บโอน ผู้เรียนทีจ่ บหลกั สูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กบั หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลอื กท่สี ถานศกึ ษาได้ จดั ทำข้ึน
21 คณะผจู้ ดั ทำ ท่ปี รึกษา : นายสรุ ชัย จนั ทร์แดง ผอู้ ำนวยการ อำเภอกนั ทรวิชัย นางสาวศศกรณ์ บนั ทุปา ครู คศ. ๑ นายวีรชยั ใจมงุ่ ครูผ้ชู ว่ ย นายสทิ ธศิ ักด์ิ นามแสงผา ครอู าสาสมัครฯ นางสาววไิ ลวรรณ อรรคเศรษฐงั ครอู าสาสมัครฯ ข้อมูล : ครู กศน.ตำบล นายนคร ช่างยนั ต์ ครู กศน.ตำบล นางสาวญาดา ทองเจริญ ครู กศน.ตำบล นางประทุม เหล่าสะพาน ครู กศน.ตำบล นายไพฑูรย์ วงศแ์ สน ครู กศน.ตำบล นางกนกพร จำรัสศรี ครู กศน.ตำบล นางระเบยี บ เพียรมงคล ครู กศน.ตำบล นายไพฑรู ย์ ทิพยโ์ สดา ครู กศน.ตำบล นางสาวอารีรตั น์ เหลา่ สะพาน ครู กศน.ตำบล นางภทั รดา ธนูสา ครู กศน.ตำบล นางสาวสรุ ภา ยมศรเี คน ครปู ระจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นางสาวบานเย็น นาสรุ วิ งศ์ ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน นางสพุ ัตรา กันทรพิทักษ์ ครูประจำศนู ย์การเรียนชุมชน นางสาววิลาสินี เมอื งนาม ครปู ระจำศูนย์การเรยี นชุมชน นางสาวพรรธิภา เหล่าสะพาน ครูประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชน นางสาวพรรณทวิ า จนั ทริมา ครปู ระจำศนู ย์การเรยี นชุมชน นางสาวปณติ า สรอ้ ยคำ ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นางสาวศรญั ญา ยุทธไชโย ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชมุ ชน นางสาวรัตนพร มัตตา ครูประจำศูนย์การเรียนชมุ ชน นางสาวจันทร์แรม ภูพลผนั ครูประจำศูนย์การเรยี นชุมชน นางสาวสุลาวรรณ ศริ ิทรพั ย์วฒั นานนั ท์ ครปู ระจำศนู ย์การเรยี นชุมชน นางอรอุมา สมดอกแกว้ ครูประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชน นางอบุ ลรตั น์ ศรีสุภกั ด์ิ ครูประจำศูนย์การเรยี นชุมชน นางสาววไิ ลพร สอนสงิ ห์ ครปู ระจำศนู ย์การเรยี นชุมชน นางสาวสุปรยี า ธนสู า ครปู ระจำศูนย์การเรียนชมุ ชน พมิ พ์ / รปู เล่ม : นางรตั นา นติ ยารส
22
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: