Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

Published by วิลาศ พลพุทธ, 2023-07-18 02:18:28

Description: สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ความร้พู ้นื ฐานในงานเชื่อมไฟฟ้ า 1. ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า 2. เครื่องมอื และอุปกรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้ า 3. การประกอบติดตั้งและการใช้งานเคร่ืองเชื่อมไฟฟ้ า

ความปลอดภยั หมายถึง อะไร หมาย ถึงส ภ าว ะ ที่ป ล อ ด จาก เหตุอัน จะ ทาใ ห้ เกิด อันตราย จากเทคโนโลยี เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ มลพิษ ที่ ส่งผลทาให้เกดิ การบาดเจบ็ เสียชีวติ และทรัพย์สินเสียหาย

ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้ า อนั ตรายที่เกดิ จากพลงั งานรังสี รังสีอนิ ฟราเรด รังสีอลั ตราไวโอเลต จากแสง

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า การตรวจสอบอปุ กรณ์ในงานเชื่อม สาเหตุ หัวเชื่อมเก่า ฉนวนป้ องกนั ขาด ผล อาจถูกไฟฟ้ าดูดได้ คาแนะนา ตรวจสอบเครื่องมืออปุ กรณ์ต่างๆให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้ า ควรสวมชุดป้ องกนั อนั ตราย สาเหตุ ผวิ หนังถูกไฟไหม้ เกดิ การระคายเคอื ง ผล ผวิ หนังลอก ตาอกั เสบ คาแนะนา สวมอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย เช่นถุงมือ หน้ากากเชื่อม

ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้ า เชื่อมในท่ีทม่ี อี ากาศถ่ายเทได้ดี สาเหตุ เชื่อมในห้องแคบๆ ผล ขาดอากาศหายใจ คาแนะนา พนื้ ท่ีเช่ือมต้องมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกหรือมีอปุ กรณ์ดูดควนั

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า เช่ือมงานใกล้ถังนา้ มัน สาเหตุ มถี ังนา้ มนั บริเวณ การเช่ือม ผล อาจเกดิ ไฟลกุ ไหม้ คาแนะนา อย่าเช่ือมชิ้นงานท่ีอยู่ใกล้บริเวณทม่ี นี า้ มันเชือ้ เพลงิ

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า เช่ือมงานบริเวณท่ีมนี า้ สาเหตุ บริเวณเชื่อมมนี า้ ผล อาจเกดิ ไฟฟ้ าดูดได้ คาแนะนา อย่าเชื่อมชิน้ งานบริเวณท่ีมเี พราะกระแสไฟอาจลดั วงจร

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า ไม่ใช้หน้ากากเช่ือม สาเหตุ ไม่ใช้หน้ากากเชื่อม ป้ องกนั สายตา ผล หน้ามดื ผวิ หน้าไหม้ คาแนะนา อย่ามองการเช่ือมด้วยตาเปล่าใช้หน้ากากป้ องกนั ทุกคร้ัง

ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้ า การเพม่ิ หรือลดกระแสไฟเชื่อม สาเหตุ ไม่ปิ ดเครื่องเช่ือม ผล อายุการใช้งานของ เคร่ืองเช่ือมลดลง คาแนะนา ปิ ดเคร่ืองเชื่อมก่อนการเพม่ิ หรือลดกระแสไฟเชื่อม

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า การเปลย่ี นลวดเชื่อมไม่ถูกวธิ ี สาเหตุ ใช้มอื เปล่าจบั เปลยี่ น ลวดเช่ือม ผล อาจถูกไฟฟ้ าดูด คาแนะนา ควรสวมถุงมอื จบั ลวดเช่ือม

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า จับงานร้อนด้วยมือเปล่า สาเหตุ ไม่ใช้คมี จบั ชิ้นงาน ร้อน ผล ทาให้เกดิ แผลพุพอง คาแนะนา ควรใส่ถุงมือและใช้คมี จับชิ้นงานร้อน

ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้ า การเคาะ สแลก สาเหตุ เคาะสแลกขณะร้อน ผล อาจกระเดน็ เข้าตา หรือเกาะตดิ ตาม ผวิ หนัง คาแนะนา ควรใช้แว่นตาป้ องกนั สายตาและไม่เคาะสแลกขณะร้อน

ความปลอดภัยในงานเช่ือมไฟฟ้ า ซ่อมเครื่องเช่ือม สาเหตุ ซ่อมเครื่องเชื่อมขณะ เชื่อม ผล ทาให้ไฟฟ้ าดูด คาแนะนา ไม่ซ่อมเคร่ืองเชื่อมโดยไม่มคี วามรู้ความชานาญ

เครื่องมอื และอุปกรณ์ในการเช่ือมโลหะ 1 เคร่ืองเชื่อม 2 สายเชื่อม 3 หัวเชื่อม 4 ลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ 5 ชิน้ งาน 6 คีมจับชิน้ งาน 7 สายดนิ

เครอ่ื งเชอ่ื ม(WELDING MACHINE)

เครอื่ งเชอื่ ม เคร่ืองเชื่อมจะต้องมลี กั ษณะดงั นี้ 1 ) ขนาดแรงดนั ไฟฟ้ าอยู่ระหว่าง 40 – 100 โวลท์ 2 ) กระแสเชื่อมสูง แต่แรงเคลอื่ นต่า 3 ) สามารถควบคุมขนาดกระแสเช่ือม

เครอ่ื งเชอ่ื มแบ่งตามลกั ษณะต้นกาลงั ผลติ 1) เครื่องเช่ือมแบบเยนเนอเรเตอร์ - เทคโนโลยมี อเตอร์เยนเนอเรเตอร์ขบั ดว้ ยมอเตอร์ - เทคโนโลยเี ยนเนอเรเตอร์ขบั ดว้ ยเครื่องยนต์

เครอ่ื งเชอื่ มแบง่ ตามลกั ษณะต้นกาลงั ผลติ 2.เครอื่ งเชอ่ื มแบบหมอ้ แปลงไฟฟ้ า - เทคโนโลยเีครอ่ื งเชอื่ มหมอ้ แปลงแบบเลอ่ื นขดลวด

เคร่ืองเชื่อมแบง่ ตามลักษณะต้นกาลัง ผลิต 2.เครอื่ งเชอื่ มแบบหมอ้ แปลงไฟฟ้ า - เทคโนโลยเีครอื่ งเชอ่ื มหมอ้ แปลงแบบสวติ ช์หลายจุด

เคร่ืองเช่ือมแบง่ ตามลักษณะต้นกาลัง ผลิต 2.เครอื่ งเชอ่ื มแบบหมอ้ แปลงไฟฟ้ า - เทคโนโลยเีครอื่ งเชอื่ มหมอ้ แปลงแบบ THYRISTOR

เครื่องเชื่อมแบง่ ตามลักษณะต้นกาลัง ผลิต เครอื่ งเชอ่ื มแบบหมอ้ แปลงไฟฟ้ า - เทคโนโลยเีครอื่ งเชอ่ื มหมอ้ แปลงแบบ INVERTER

หวั จบั ลวดเชอ่ื ม

หวั จบั สายดนิ

สายเชอ่ื ม

หนา้ กากเชอ่ื มไฟฟ้ า

แปรงลวด

ค้อนเคาะสแลก

คมี จบั ชน้ิ งานร้อน

ชุดป้องกนั ร่างกาย

ลวดเชอื่ มไฟฟ้ า

ลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์ (COATED ELECTRODE)

หน้าท่ีของฟลักซ์ สร้างสแลกและแก๊สปกคลุมแนวเช่ือม 1 เป็ นตวั ช่วยดงึ ออกไซด์และสิ่งสกปรกในโลหะเหลวออกมารวมไว้ใน ตวั สแลก 2 ช่วยลดอตั ราการแขง็ ตวั และอตั ราเยน็ ตวั ของโลหะ เหลว 3 ช่วยควบคุมรูปร่างลกั ษณะและผวิ ของแนวเชื่อม 4. ปรับปรุงสมบัตขิ องแนวเชื่อมให้ดขี นึ้ 5. ช่วยให้ประสิทธิภาพการเช่ือมดขี นึ้

การต่อเครือ่ งเช่ือมใช้งาน การต่อไฟโรงงาน การต่อสายเชื่อม การจับลวดเช่ือม เครื่องเช่ือม เข้ากบั หัวเช่ือม การต่อไฟเข้า การต่อสายดิน เคร่ืองเชื่อม เข้ากับชิ้นงาน

การเชื่อมไฟฟ้ า 1. กระบวนการเชื่อมไฟฟ้ าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลกั ซ์ 2. องค์ประกอบของงานเชื่อมไฟฟ้ า 3. การเริ่มต้นอาร์ค 4. การต่อแนวเช่ือม

การเช่ือมโลหะด้วยลวดเช่ือมห้มุ ฟลักซ์

กระแสเช่ือม (WELDING CURRENT) กระแสไฟสลบั (Alternating Current : AC)

กระแสไฟตรง (DIRRECT CURRENT ; DC)

องค์ประกอบในการควบคมุ แนวเชื่อม 1 การเลอื กชนิดของลวดเชื่อมให้เหมาะสม 1.1 ความแขง็ แรงของงาน 1.2 ส่วนผสมของโลหะงาน 1.3 ท่าเชื่อม 1.4 ชนิดของกระแสไฟทใ่ี ช้ 1.5 ลกั ษณะของรอยต่อ

องค์ประกอบในการควบคมุ แนวเชื่อม 2 การเลอื กชนิดและปริมาณกระแสไฟ 3 การต้งั มุมลวดเช่ือมที่เหมาะสม 3.1 มุมนาและมุมงาน 3.2 มุมด้านข้าง

องค์ประกอบในการควบคมุ แนวเช่ือม 4 การใช้ระยะอาร์กทถ่ี ูกต้อง 5 การใช้ความเร็วในการเดินลวดเช่ือมทถี่ ูกต้อง

การเร่ิมต้นอารก์ วธิ เีคาะ (Tapping) หรอื วธิ แี ตะ

การเรมิ่ ต้นอาร์ก วธิ ขี ดี (Scratching) หรอื วธิ เีขย่ี ลวดเชอ่ื ม

การเรมิ่ ต้นและสน้ิ สุดแนวเชอ่ื ม วธิ กี ารเชอ่ื มเมอ่ื สน้ิ สุดแนวเชอื่ ม

การเรม่ิ ต้นและสน้ิ สุดแนวเชอ่ื ม การต่อแนวเช่ือม

การส่ายลวดเช่ือมในตาแหน่งท่าราบ

การเชื่อมยึด ( TACK WELD )

ตาแหนง่ ในการเช่ือม 3.1 ท่าราบ (Flat Position) ท่าราบเป็ นการเช่ือมชิ้นงานท่ี วางอยู่ในระนาบเดยี วกนั กบั พนื้ ราบซ่ึงไม่ มปี ัญหาเร่ืองแรง ดงึ ดูดของโลก จึงเป็ นท่าเช่ือมท่ี เชื่อมง่ายกว่าท่าเช่ือมอนื่ ๆ

ตาแหน่งในการเช่ือม 3.2 ท่าขนานนอน (Horizontal Position) ท่าขนานนอนหรือท่า ระดบั เป็ นการเช่ือมชิ้นงานท่ี วางอยู่ในแนวระดบั ซึ่งขนาน กบั แนวระนาบ

ตาแหน่งในการเชื่อม ท่าต้ัง (Vertical Position) ท่าต้ังเป็ นการเชื่อม ชิ้นงานทวี่ างอยู่ในแนวดงิ่ ซึ่ง ต้ังฉากกบั แนวระดบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook