9. ความไมต่ ่อเนอื่ งของนโยบายของรฐั บาล 10. ประชาชนขาดความรู้เก่ยี วกับกฎหมายการเมืองการบริหาร 11. ประชาชนไมใ่ หค้ วามสำคัญกับการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 5) การสรปุ สถานการณพ์ ัฒนา (การวิเคราะหจ์ ุดเขง็ จุดออ่ น โอกาส และอปุ สรรค) เทศบาลเมอื งสะเตงนอก ได้ดำเนินการวิเคราะหส์ ภาวการณ์และศักยภาพ เพื่อชี้ให้เห็น ถึงศักยภาพ ปญั หาและความตอ้ งการของประชาชน โดยเทศบาลไดด้ ำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูล ดงั ต่อไปน้ี (1) การวเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ือการจดั ทำแผนพัฒนา ➢ ด้านโครงสร้างพน้ื ฐาน สามารถจำแนกได้ดังนี้ 1) มีเส้นทางคมนาคม ในพื้นที่เทศบาลที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 70 เปา้ หมายคือต้องการใหไ้ ด้มากกว่าน้ีหรือร้อยละ 100 โดยผู้บรหิ ารมีนโยบายทจี่ ะดำเนนิ การก่อสร้างถนนให้ได้ทุก สาย ปญั หาคอื เทศบาลไม่สามารถดำเนินการไดเ้ นื่องจากพน้ื ทย่ี ังไม่เปน็ พน้ื ทส่ี าธารณะ จะดำเนนิ การได้ก็ต่อเม่ือ ต้องเป็นที่สาธารณะ การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับ ประชาชนในพ้นื ที่ และวธิ ีการทจ่ี ะดำเนินการแก้ไขอยา่ งไร ท้ังนี้ เทศบาลกไ็ ด้ตง้ั งบประมาณในสว่ นน้ีไวแ้ ลว้ และ ไดแ้ จง้ ประชาสัมพนั ธใ์ หป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบถึงเหตุผลเพือ่ ที่จะไดช้ ว่ ยกนั แกไ้ ขปัญหาให้กับชมุ ชน 2) การขยายเขตไฟฟา้ ปัจจบุ นั มีไฟฟ้าใชท้ ุกครวั เรือน คดิ เป็น 99 เปอรเ์ ซ็นต์ ปัญหา คือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือทส่ี าธารณะยังไมส่ ามารถดำเนินการครอบคลุมพ้นื ที่ได้ท้งั หมด เน่ืองจากพ้ืนที่ท่ีมีความ ต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ เทศบาลจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และ วิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทัง้ นี้ เทศบาลก็ไดต้ ้งั งบประมาณในส่วนนี้ไวแ้ ลว้ และได้แจ้งประชาสัมพนั ธใ์ ห้ ประชาชนได้รับทราบถงึ เหตผุ ลเพอ่ื ท่ีจะได้ชว่ ยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน 3) การประปา เทศบาลไมม่ กี จิ การประปาเป็นของเทศบาลเอง ไม่สามารถใหบ้ รกิ ารได้ ครอบคลุมทุกหลงั คาเรอื น แตม่ แี หลง่ น้ำดบิ ในการผลติ ประปาตอ้ งขอใชจ้ ากพ้นื ท่อี นื่ ทำให้มีคา่ ใช้จ่ายมาก ประปา ของเทศบาลยังไม่สามารถที่จะผลิตเป็นน้ำประปาสำหรับบริโภคได้ ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ ปัจจุบันเทศบาลยังไม่ประสบปญั หาการขาดแคลนน้ำสามารถท่ีจะจัดหาน้ำดิบสำหรับผลิตประปาใหช้ ุมชนได้ การ แก้ปัญหาคือ การลงพื้นที่ดำเนินการแก้ไขตามจุดที่เกิดปัญหาในทันที การพิจารณาโครงการต่างๆ ที่ไม่สามารถ ดำเนินการได้นั้น เทศบาลก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสามปีเพื่อที่จะพิจารณาดำเนินการในปีต่อไป เมื่อมี งบประมาณและความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเน่ือง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ตอ่ ไป ➢ ด้านทอี่ ยูอ่ าศัยและการอุปโภคบรโิ ภค จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรในพื้นที่มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคง ปัญหาคือ มีบาง ครวั เรอื น ท่ยี ังตอ้ งการความชว่ ยเหลือในการซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย การแกป้ ัญหาคือเทศบาลได้มีโครงการซ่อมแซม บา้ นผ้ยู ากไร้ แต่งบประมาณมีจำกัดถ้ามีงบประมาณท่ีมากกวา่ น้ีเทศบาลกจ็ ะดำเนินการให้ได้ครอบคลุมทกุ หลังคา เรือน บ้านเรือนส่วนมากมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีเพียงบางครัวเรือนที่ยังไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและไม่ 48
ถูกสุขลักษณะในชุมชนมีการเกิดมลพิษเพียงเล็กน้อย ทุกครัวเรือนมีน้ำสำหรับบริโภค โดยบางครัวเรือนซื้อน้ำที่ บรรจุในถังหรือขวด แต่หลายครัวเรือนบริโภคน้ำที่ได้จากบ่อบาดาลส่วนตัว ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ประชาสมั พันธ์ให้มีการปดิ ฝาภาชนะใหม้ ิดชิดและมีที่กรองน้ำหรือการต้มนำ้ ใหเ้ ดือดก่อนเก็บไวด้ ื่ม (2) การวเิ คราะห์ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ จากการสำรวจข้อมูลพืน้ ฐานพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ทำการเกษตร ร้อยละ 70 เช่น ยางพารา ผลไม้ ข้าว อ้อย ตามลำดับ รายได้สว่ นมากมาจากการทำการเกษตร และมีรายได้จากสตั ว์เลี้ยงไม่มาก คนอายุ 15 – 60 ปีมีอาชีพและ ประชากรบางส่วนมีรายได้จากการรับจ้างทัง้ ในพื้นท่ีและนอกพื้นที่ ชุมชนในเขตเทศบาล บางชุมชนส่วนมากมีอาชีพค้าขาย มีห้างร้าน ร้านค้า ทำให้มีรายได้มาจากการค้าขาย ซึ่งภาวะเศรษฐกิจของ เทศบาลจึงไม่เท่ากัน แต่ไม่ค่อยมีการเก็บออม สาเหตุเป็นเพราะว่าราคาผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ค่าครองชีพสูง มีเงินแต่ซื้อของได้น้อยลง ประชากรมีพื้นที่ในการทางเกษตรบางส่วนในที่ที่มีน้ำท่วมเป็นประจำ บางพื้นที่ภาวะ ฝนทิ้งช่วง มีพื้นที่ในการทำการเกษตรน้อย การขยายตัวของประชากรเพิ่มข้ึนมาก เริ่มเกิดเป็นชุมชนแออัดและ ส่งผลกระทบกับสภาวะแวดล้อม เช่น ปริมาณการปล่อยน้ำเสียจากครัวเรือนลงสู่รางระบายน้ำมีมากขึ้น ปัญหา ขยะ เกดิ ปญั หาการร้องเรียนมายังเทศบาล การแกป้ ญั หาคือ เทศบาลก็ไดล้ งพน้ื ท่ีแกไ้ ขปัญหาในทุกคร้งั รวมทั้งได้ จัดโครงการทำความสะอาดท่อและรางระบายน้ำในชุมชน โดยการจ้างแรงงานในชุมชน ผลทีได้ปัญหาการระบาย นำ้ ลดลง ประชาชนมจี ิตสำนึกและมสี ว่ นรว่ มมากข้ึน และทำใหป้ ระชากรมรี ายได้เพิ่มข้ึน อีกท้งั เทศบาล ไดแ้ ก้ไข ปัญหาโดยจัดโครงการส่งเสริมอาชีพ เพือ่ ใหช้ ุมชนมีรายได้เสริมจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อุดหนุนกลุ่ม อาชีพในชุมชน แต่การพัฒนาด้านนี้ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์เท่าที่ควร เนื่องจากกลุ่มอาชีพต่างๆ ยังขาดความรู้ ด้านการบรหิ ารจดั การและความรู้ดา้ นการตลาด (3) การวเิ คราะห์ข้อมูลสังคม ➢ ดา้ นแรงงาน จากการสำรวจข้อมูลพนื้ ฐานพบวา่ ประชากรท่ีมอี ายุ 15 – 60 ปี อยู่ในกำลงั แรงงาน ร้อยละ 95 แต่ค่าแรงในพืน้ ทีต่ ำ่ กวา่ ระดบั จังหวัด โดยเฉพาะแรงงานดา้ นการเกษตร ประชากรอายรุ ะหวา่ ง 25 – 50 ปี บางสว่ น ไปรบั จา้ งทำงานนอกพน้ื ที่ รวมท้งั แรงงานทไ่ี ปทำงานตา่ งประเทศ ปญั หาทพี่ บคอื ประชากรตอ้ งไป ทำงานนอกพื้นท่ีในเมือง บริษทั ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพ้ืนท่มี ีการจ้างแรงงานน้อย เพราะพน้ื ทส่ี ่วนมากเป็นที่ อยอู่ าศยั ปญั หานยี้ ังไม่สามารถแก้ไขได้ ➢ ดา้ นสขุ ภาพและสาธารณสุข จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี มีการคัดกรองสุขภาพ ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก มือ-ปาก-เท้าในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล ปัญหาคือประชาชน บางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี การแก้ไขปัญหา คือ เทศบาลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ไดจ้ ัดกจิ กรรมร่วมมือกนั รณรงค์ให้ชุมชนเหน็ ความสำคญั ในเรื่องน้ซี ึ่งก็ไดผ้ ลในระดับหนึ่ง ประชาชน ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี แต่ต้องเปน็ การดำเนนิ การอย่างต่อเนือ่ งเป็นประจำทุกปี สำหรับเด็กแรกเกดิ 0 - 6 ปี ผู้ปกครองสามารถเลี้ยงดูตรงตามเกณฑ์มาตรฐานมาจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารท่ี 49
ถูกสุขลักษณะ การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ และ ประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่านี้เทศบาลพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข โดยร่วมมือกับ โรงพยาบาล สาธารณสุข จดั กจิ กรรมเพ่อื แก้ไขปัญหา ➢ ดา้ นการศึกษา จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรอายุ 15 - 60 ปีเต็ม ร้อยละ 90 อ่าน เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ เด็กอายุ 6 – 14 ปี ร้อยละ 100 ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียน ต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หรือเทียบเท่า และที่ไม่ได้เรียนต่อมีงานทำ ร้อยละ 92 ด้านการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ปัญหาคือ ยังไม่สามารถที่จะแข่งขันกับเมืองใหญ่ๆ ได้ การแก้ปัญหาของเทศบาล ได้จัดกิจกรรมให้กับเด็กของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การสนับสนุนอาหารเสรมิ นม อาหารกลางวัน ให้กับทางโรงเรียนในเขตพื้นที่ และร่วมกันจดั กจิ กรรมตา่ งๆ กับทางโรงเรียน ➢ ดา้ นคา่ นยิ มของคนในพื้นท่ี จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรมีกิจกรรมทางศาสนา(อิสลาม, พุทธ) และ ประชากรบางรายที่ไปร่วมทำกิจกรรมของศาสนาคริสต์ด้วย ประชากรในเขตเทศบาลให้ความร่วมมือกันทำ กิจกรรมสาธารณะต่างๆ ผู้สูงอายุ ผู้พิการได้รับการดูแล ปัญหาคือ ประชากรในครัวเรือนมีการดื่มสุรา สูบบุหร่ี รวมทั้งที่เป็นครั้งคราว บางครัวเรือนขาดความอบอุ่น การแก้ปัญหาของเทศบาลคือ จัดกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน พยายามที่จะให้ทุกส่วนทุกฝ่ายทุกคนมีส่วนร่วมและรณรงค์ให้เห็นถึงโทษของการดื่มสุรา ให้ชุมชนเห็น ความสำคัญของครอบครัว เชน่ การแขง่ ขนั กฬี าชมุ ชน แอโรบคิ แดนส์ งานประเพณี เปน็ ตน้ ➢ ดา้ นความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สนิ จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภยั อย่างถูกวิธี มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาของเทศบาลที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และ งบประมาณท่ีมีอยู่อย่างจำกัด คอื การตดิ ต้ังกล้องวงจรปิดในจุดท่ีเป็นท่สี าธารณะ ติดต้ังสัญญาณไฟกระพริบทาง ร่วมทางแยก ก่อสร้างหอนาฬิกาบอกเวลาและลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วง เทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะ วิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การ แก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผล เสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุนแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะ แก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน ตอ่ ไปตามอำนาจหน้าทท่ี สี่ ามารถดำเนินการได้ ➢ ดา้ นยาเสพตดิ ปญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชนของเทศบาล จากการที่ทางสถานตี ำรวจ ได้แจง้ ใหก้ ับเทศบาลทราบนั้น พบว่าในเขตเทศบาลมีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจาก ว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานของเทศบาลที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไข ปัญหาของเทศบาลสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้ง 50
เบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ท้ังน้ี เทศบาลกไ็ ด้ให้ความรว่ มมือมาโดยตลอด (4) การวิเคราะหข์ ้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ในพื้นที่ของเทศบาลส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ี ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศทีไ่ มม่ ีมลพษิ น้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน มีแหลง่ นำ้ ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคอื ยังไม่สามารถ หาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน เอกชน ปัญหาด้านขยะ เม่ือ ชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น การแก้ไขปัญหา เทศบาลได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไป ตามความต้องการของประชาชน เช่น โครงการจัดหาถังขยะรองรับขยะให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โครงการปลูกต้นไม้ ในวันสำคัญต่างๆ ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม ให้ เป็นเมืองนา่ อยู่ เป็นทีพ่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจของประชาชน ฯลฯ (5) ด้านการเมือง – การบริหาร เทศบาลเมืองสะเตงนอก มีจำนวน 13 หมู่บ้าน แต่ละหมู่บ้านมีกรรมการซึ่งเป็นตัวแทนของชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซอ้ื จัดจ้างของเทศบาล ประชาชนใหค้ วามร่วมมอื ด้านการเลือกตง้ั เปน็ อย่างดี ปัญหา คือการแข่งขันทางการเมืองค่อนข้างสูง มีจุดที่น่าสังเกตคือ มีการย้ายเข้าย้ายออกช่วงที่จะมีการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะ เปน็ การเลอื กผู้ใหญบ่ ้าน สมาชิกสภา นายกเทศมนตรี โดยเฉพาะ การคดั เลือกผู้ใหญ่บา้ น การแก้ไขปัญหาของ เทศบาลคือ ขอความร่วมมือ ผู้นำ เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้ระมัดระวัง สอดส่องพฤติกรรมและให้ รายงานอำเภอทราบ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เกี่ยวกับข้อกฎหมายของการเลือกตั้งที่ กระทำไดแ้ ละทำไม่ได้ให้ประชาชนได้รบั ทราบ ปัญหาตา่ งๆ ที่เกดิ ขึ้นเทศบาลกไ็ ด้พยายามแก้ไข โดยเร่ืองจากการ ประชุมประชาคมท้องถิ่นทุกชุมชนในเขตเทศบาล ในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล จากผลการประชุมทุกครั้งที่ เทศบาลจัดขึ้น มีประชาชนสนใจเข้าร่วมประชุมรวมทั้งแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ส่งผลให้เทศบาล ดำเนินงานตามความต้องการของประชาชน และประชาชนได้รับประโยชน์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทศบาล นอกจากนี้ เทศบาลไดจ้ ัดโครงการอบรมศกึ ษา ดงู าน ของคณะผ้บู ริหาร สมาชิกสภาเทศบาล พนกั งานเทศบาล อสม. ผู้นำศาสนาและกรรมการชุมชน โครงการอื่นๆ สำหรับประชาชนอีกหลายโครงการ เพื่อนำความรู้และ ประสบการณ์ที่ได้รับมาพัฒนาเทศบาลให้เจริญเท่าเทียมกับเทศบาลอื่นๆ และเทศบาลมีโครงการจัดซื้อเครื่องมือ เครื่องใชใ้ นการปฏิบัติงานให้ทนั สมัยและมปี ระสทิ ธิภาพ โครงการบางโครงการต้องระงบั ไว้เน่ืองจากข้อจำกัดด้าน งบประมาณ มอี ัตรากำลังพนกั งานเทศบาลจำกัด ไมเ่ พยี งพอต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนในด้าน บรกิ าร 51
สว่ นท่ี 3 ขอ้ มลู ทัว่ ไปเกยี่ วกบั เงนิ อดุ หนนุ ประจำปีขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยเงินอดุ หนุนขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๙ “เงินอุดหนุน” หมายความว่า เงินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ตัง้ งบประมาณอุดหนนุ ให้แก่ หน่วยงานที่ ขอรับเงินอดุ หนุนเพ่ือให้ดำเนนิ การตามภารกิจท่ีอยูใ่ นอำนาจหนา้ ที่ขององคก์ รปกครองท้องถิน่ ตามกฎหมาย “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ องค์การบริหาร สว่ นตำบล “หน่วยงานทีข่ อรับเงินอุดหนุน” หมายความว่า (๑) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ อ่นื ท่ีมีกฎหมายจดั ต้ัง (๒) สว่ นราชการ ได้แกส่ ว่ นราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน (๓) รฐั วิสาหกจิ ไดแ้ ก่การไฟฟ้า การประปา และ องค์การจัดการน้ำเสีย (๔) องค์กรประชาชน ไดแ้ ก่องคก์ รซึ่งเป็นการรวมของประชาชนท่จี ัดตั้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับของหน่วยงานของรัฐ หรือหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทยโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ สาธารณะ และมีการดำเนนิ การอย่างตอ่ เนอ่ื งมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ หนง่ึ ปี (๕) องค์กรทางศาสนาซึ่งจัดตั้งถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงานของรัฐ เช่น วัด มสั ยดิ (6) องค์กรการกุศล ได้แก่ องค์กรซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อดำ เนินงานการกุศลหรือบําเพ็ญ สาธารณประโยชน์มใิ ชก่ ารมงุ่ แสวงหากำไรที่จัดตั้งตามกฎหมาย ระเบยี บหรือข้อบังคบั ของหนว่ ยงาน ของ รฐั เช่น มลู นธิ ิเหล่ากาชาดจงั หวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจตั้งงบประมาณให้เงินอุดหนุนหน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุน ได้ภายใต้ หลักเกณฑด์ งั น้ี (๑) โครงการที่จะให้เงินอุดหนุนต้องเป็นภารกิจที่อยูใ่ นอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้ให้ เงนิ อดุ หนุนตามกฎหมาย ห้ามมิให้อุดหนุนโครงการท่ีมีลกั ษณะเป็นเงนิ ทุนหมุนเวยี น และโครงการทม่ี ีลักษณะเป็น การจัดเลี้ยงอาหาร หรือการจัดกิจกรรมนันทนาการ ห้ามมิให้อุดหนุนหน่วยงานอื่นในการจัดหาครุภัณฑ์ ยานพาหนะและขนส่ง เวน้ แตจ่ ะอุดหนนุ ใหแ้ ก่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ (๒) ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ผใู้ ห้เงินอุดหนนุ ต้องได้รับประโยชน์จากโครงการ ท่ีจะให้ เงนิ อุดหนนุ 52
(๓) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตอ้ งใหค้ วามสำคญั กับโครงการอนั เป็นภารกิจหลักตามแผนพฒั นา ทอ้ งถ่ิน ทจี่ ะต้องดำเนนิ การเอง และสถานะทางการคลงั กอ่ นที่จะพจิ ารณาใหเ้ งินอดุ หนุน (๔) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดเห็นสมควรให้เงินอุดหนุนแก่หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุน ให้นํา โครงการขอรับเงินอุดหนุนของหน่วยงานดังกลา่ วบรรจุไว้ในแผนพฒั นาท้องถิน่ และตง้ั งบประมาณ ไวใ้ นหมวดเงิน อุดหนุนของงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ห้ามจ่ายจาก เงินสะสม ทุนสํารองเงิน สะสมหรือเงินกู้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจตั้งงบประมาณให้เงินอุดหนุนหน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุน ได้ไม่เกิน อตั ราส่วนของรายได้จริงในปงี บประมาณที่ผา่ นมาโดยไม่รวมเงนิ อุดหนนุ ทีร่ ฐั จัดสรรใหด้ ังนี้ (๑) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ไมเ่ กนิ ร้อยละสบิ (๒) เทศบาลนคร ไม่เกินร้อยละสอง (๓) เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล ไม่เกนิ รอ้ ยละสาม (๔) องค์การบริหารสว่ นตำบล ไม่เกนิ รอ้ ยละห้า กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดจะตั้งงบประมาณให้เงินอุดหนุนเกินอัตราตามวรรคหนึ่ง ให้ขออนุมัติ จากผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นรายกรณีก่อนการตั้งงบประมาณ โดยส่วนที่เกินจะต้องไม่เกิน หนึ่งเท่าของอัตราส่วน ตามวรรคหนึง่ และใหร้ ะบเุ หตุผลความจําเป็นและประโยชน์ทีป่ ระชาชนจะไดร้ บั เพื่อประกอบการพจิ ารณา ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ตรวจสอบสถานะการเงินและการคลงั ของตน หากมีรายได้ เพียงพอ จึงจะ พิจารณาให้เงินอุดหนุนแก่หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนได้โดยให้เบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีหรือ งบประมาณรายจา่ ยเพิ่มเตมิ ที่ตัง้ ไวในหมวดเงนิ อุดหนุน การเบิกจ่ายเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ให้เงินอุดหนุนให้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ของ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่แี ก้ไขเพิ่มเตมิ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้ให้เงินอุดหนุนติดตามและประเมินผลการดำเนินการ โครงการของ หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่กำหนดไวใ้ นระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยเงินอุดหนนุ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. ๒๕๕๙ (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ถึง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดตั้งงบประมาณให้เงินอุดหนุนไว้ในงบประมาณรายจ่าย ประจำปีหรือ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และได้เบิกจ่ายเงินไปแล้วก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ โดยปฏิบัติตามหนังสือ กระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว ๗๔ ลงวันท่ี 4 มกราคม ๒๕๕๓ เร่อื งการต้งั งบประมาณรายจ่าย และการใช้งบประมาณหมวดเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว ๒๕๑๖ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๓ เรื่องแนวทางการตั้ง งบประมาณรายจ่ายหมวดเงินอุดหนุน เพิ่มเติม และ หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว ๒๖๙๗ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๕ เรื่องการเบิก จ่ายเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนเพื่อสนับสนุนกีฬา ให้ถือว่าเป็นการให้เงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วน 53
ท้องถิ่นตามระเบียบนี้ สำหรับกรณีที่ยังมิได้มีการเบิกจ่ายเงินให้ปฏิบัติตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย ดังกล่าว ต่อไปจนกวา่ จะแล้วเสร็จ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ เงินอุดหนนุ ทีจ่ ดั สรรใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ใหแ้ บง่ เปน็ ๒ ประเภท ได้แก่ 1. เงินอดุ หนุนท่ัวไป และเงินอดุ หนุนเฉพาะกิจ โดยจะตอ้ งมสี ัดส่วนเงินอดุ หนนุ ทั่วไปมากกว่าเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ 2. การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท ให้จัดสรรเงินอุดหนุนเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ ๑ กรุงเทพมหานคร กลุ่มที่ ๒ เมืองพัทยา และกลุ่มที่ ๓ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตำบล โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละกลุ่มได้รับการจัดสรรเพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ในสดั ส่วนที่เทา่ กนั โดยแต่ละองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ จะได้รบั เงนิ อุดหนุนประจำปีตามรายการดงั น้ี 1. เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (เงนิ เดือน/ค่าจา้ งครู) 2. เงินอุดหนนุ สำหรับการถา่ ยโอนบคุ ลากร 3. เงินอุดหนุนสำหรับการจดั การศึกษาภาคบงั คบั (คา่ เช่าบา้ น) 4. เงินอุดหนนุ สำหรับการจัดการศกึ ษาภาคบังคบั (ค่าศึกษาบุตร) 5. เงนิ อดุ หนนุ เบีย้ ยงั ชีพผูส้ ูงอายุ 6. เงินอดุ หนุนเบี้ยยงั ชีพผพู้ ิการ 7. เงนิ อุดหนุนผู้ป่วยเอดส์ 8. เงนิ อุดหนุนค่าตอบแทนรายเดือนแก่เจา้ หน้าทีภ่ าคใต้ 9. เงินเดือน ค่าตอบแทนฯ ครูศูนยเ์ ดก็ เล็ก อปท. 10.คา่ จัดการเรียนการสอน (ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก) 11.คา่ เครื่องแบบนักเรยี น (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) 12.ค่าหนงั สือเรยี น (ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ) 13.คา่ อุปกรณ์การเรยี น (ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ) 14.คา่ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) 15.เงินอุดหนนุ อาหารกลางวนั (ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก) 16.เงินอุดหนนุ อาหารกลางวนั (ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาชั้นพืน้ ฐาน) 17.คา่ จดั การเรียนการสอน (ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน) 18.ค่าเครื่องแบบนักเรยี น (ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน) 19.ค่าหนงั สอื เรียน (ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน) 20.ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น (ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาช้ันพ้นื ฐาน) 54
21.คา่ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน) 22.เงินอดุ หนุนโครงการสัตวป์ ลอดโรคคนปลอดภัย 23.เงนิ อุดหนุนสำหรบั สำรวจและขึ้นทะเบยี นสตั ว์ 24.เงนิ อุดหนุนโครงการพระราชดำรดิ า้ นสาธารณสขุ 25.เงนิ อดุ หนุนชดเชยรายได้ท่ลี ดลงจากความไมส่ งบฯ 26.เงินอุดหนุนตามอำนาจหนา้ ท่ีและภารกจิ ถา่ ยโอน 27.เงินอุดหนุนอาหารเสริมนม (ปฐมวยั ) 28.เงินอดุ หนุนอาหารเสรมิ นม (ประถมศกึ ษา) 29.เงินอุดหนนุ เฉพาะกิจ การจัดทำคำขอตง้ั งบประมาณ 1. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เสนอขอตั้งงบประมาณโดยตรงและหน่วยงานที่เสนอขอต้ัง งบประมาณเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอตัง้ งบประมาณที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนปฏริ ูปประเทศและแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑3 (พ.ศ. ๒๕๖6 – ๒๕70) 2. กรณีองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ที่เสนอคำขอต้ังงบประมาณไปยงั สำนกั งบประมาณโดยตรง 2.1) กรุงเทพมหานครและเมอื งพทั ยา 1. ให้เสนอขอตั้งงบประมาณไปยังสำนักงบประมาณและให้สำนักงบประมาณ พิจารณา รายละเอยี ดงบประมาณที่เหมาะสมและอยูใ่ นกรอบวงเงนิ ทกี่ รุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ได้รับ การจัดสรร 2. ให้ตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปสำหรับชดเชยรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่ ได้รับผลกระทบจากการจัดเกบ็ ภาษีทด่ี นิ และส่ิงปลูกสรา้ งตามมติคณะรฐั มนตรี 2.2) องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั เทศบาลนคร เทศบาลเมือง ให้เสนอขอตง้ั งบประมาณ โดยแบ่งเป็น เงนิ อดุ หนุนทั่วไปและเงนิ อดุ หนนุ เฉพาะกิจ ดังนี้ 1. เงินอุดหนุนทั่วไปตามอำนาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน ซึ่งจัดสรรเพื่อให้องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการใช้จ่ายเงินตามความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นให้จัดสรร โดยร้อยละ 30 จัดสรร เท่ากัน ร้อยละ 15 ตามจำนวนประชากร ร้อยละ 15 ตามพื้นที่ และร้อยละ 15 ผูกผันตามรายได้ กรณี องค์กร ปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ ใดได้รับการจดั สรรนอ้ ยกว่าปที ีผ่ า่ นมาใหไ้ ด้รับการจดั สรรเท่ากบั ปีท่ีผ่านมา 2. เงินอุดหนุนทั่วไปที่กำหนดวัตถุประสงค์สำหรับใช้จ่ายเพื่อดำเนินภารกิจต่าง ๆ ให้ตั้ง งบประมาณตามรายการทีเ่ คยไดร้ ับจดั สรร ตามเปา้ หมายและความจำเป็นในการใช้เงนิ 3. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เป็นเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือ ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของเงินอุดหนุนแต่ละประเภท ให้ตั้งงบประมาณสำหรับรายการที่เคยได้รับจัดสรร ตามเป้าหมายและความจำเป็นในการใชจ้ ่ายเงิน 55
4. กรณเี ทศบาลนครและเทศบาลเมือง ให้ตัง้ งบประมาณเงนิ อุดหนนุ สำหรบั ชดเชยรายได้ ใหแ้ ก่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากการจัดเกบ็ ภาษีที่ดนิ และสงิ่ ปลูกสรา้ งตามมตคิ ณะรฐั มนตรี 3. กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เสนอขอตั้งงบประมาณผ่านกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ได้แก่ เทศบาลตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลโดยแบ่งเป็น เงินอุดหนุนทั่วไป และเงิน อดุ หนุนเฉพาะกิจ 3.1 เงินอุดหนุนทั่วไปตามอำนาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน ซึ่งจัดสรรเพื่อให้องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นมีอิสระในการใช้จ่ายเงินตามความเหน็ ชอบของสภาท้องถิ่น ควรตั้งงบประมาณเพิ่มขึ้นไม่นอ้ ย กว่าร้อยละ 15 โดยร้อยละ 30 จัดสรรเท่ากัน ร้อยละ 15 ตามจำนวนประซากร ร้อยละ 15 ตามพื้นที่ และร้อยละ 40 ผกผัน ตามรายได้ กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้รับการจัดสรรน้อยกว่าปีที่ผา่ นมาให้ได้รับการจดั สรร เท่ากับปีท่ี ผา่ นมา 3.2 เงินอุดหนุนทั่วไปที่กำหนดวัตถุประสงค์สำหรบั ใช้จ่ายเพื่อดำเนนิ ภารกิจต่าง ๆ ให้ตั้งงบประมาณ ตามรายการทีเ่ คยไดร้ ับจดั สรร ตามเป้าหมายและความจำเป็นในการใชเ้ งิน 3.3 เงินอุดหนุนสำหรับชดเชยรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ ผลกระทบจากการ จัดเก็บภาษที ด่ี นิ และสงิ่ ปลูกสรา้ งตามมติคณะรฐั มนตรี 3.4 เงินอุดหนนุ เฉพาะกิจ เป็นเงินอุดหนนุ จัดสรรให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ เพื่อ ดำเนนิ การตาม วตั ถุประสงค์ของเงินอุดหนุนแต่ละประเภท ให้ตง้ั งบประมาณสำหรับรายการที่เคยไดร้ ับจัดสรรตาม เป้าหมายและ ความจำเป็นในการใช้จ่ายเงิน 4. กรณกี ารเสนอขอต้ังงบประมาณไว้ท่หี น่วยงานอืน่ นอกเหนือจากข้อ 2) และ 3) 4.1 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีให้เสนอขอตั้งงบประมาณ เป็นเงินอุดหนุน 2 รายการ ดังนี้ 1. เงินอุดหนุนเพื่อเป็นแรงจูงใจในการเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการท้องถิ่น และ 2. เงินอุดหนุนเพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจัดเก็บรายไดข้ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 4.2 สำนักนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (สผ.) ให้เสนอขอตัง้ งบประมาณเป็น เงนิ อดุ หนุนโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการเพอื่ การจดั การคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มในระดบั จงั หวัด 5. การเสนอขอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นรายการใหม่ ให้เสนอ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ให้ความเห็นชอบด้วย 6. ให้สำนักงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นตาม ความเหมาะสมและความจำเป็นในการใช้จา่ ยเงินต่อไป 56
สว่ นที่ 4 ขนั้ ตอนและระเบยี บการเบิกงบประมาณอดุ หนนุ 1. การขอเบกิ งบอดุ หหนนุ ท่ัวไป โปรแกรมบนั ทึกคำของบประมาณ เงนิ อุดหนุนท่ัวไป วัตถปุ ระสงค์ รองรับการจัดทำคำของบประมาณ ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) และเงินนอก งบประมาณ ประกอบด้วย เงินรายได้ เงินกู้ ของเงินอุดหนุนทั่วไป โดยรองรับขั้นการทำงาน ขั้น 2.4 ขั้น คำขอ >> คำขอกรม การเขา้ ใช้งานโปรแกรม ระบบคำของบประมาณ >> โปรแกรมบันทึกคำของบประมาณ >> บันทึกเงินงบประมาณ >> โปรแกรมบันทึกคำ ของบประมาณ เงนิ อุดหนุนทวั่ ไป ขัน้ ตอนการทำงาน การคน้ หาขอ้ มูล เงอ่ื นไขการค้นหา ประกอบด้วย 1. ระบุเงือ่ นไขหลัก คอื ปงี บประมาณ ขั้น หนว่ ยงาน กจิ กรรม งบเงนิ อดุ หนุน และคำคนั ใช้ในการแสดง/ซ่อน เงื่อนไขการคันหาและเงื่อนไขเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มพื้นที่ใน การแสดงผลขอ้ มูล 57
➢ กรณีมีขอ้ มูลเกิน 200 รายการ เม่อื คลกิ ปมุ่ เพื่อค้นหาข้อมูล โปรแกรมจะแสดง ขอ้ ความแจง้ เตือนดงั รูป คลิกปมุ่ เพ่ือรบั ทราบการแจง้ เตือน ➢ กรณีระบงุ บเงนิ อุดหนนุ เป็น งบบคุ ลากร เมอื่ คลกิ ปุ่ม เพื่อค้นหาข้อมูล โปรแกรมจะ แสดงหน้าจอดังรูป 2. โปรแกรมแสดงรายการเงินอุดหนุนทั่วไปที่กำหนดไว้ ตามเงื่อนไขที่ระบุ ส่วนของตารางแสดง รายละเอียดข้อมลู โปรแกรมจะแสดงหนา้ จอดังรปู ➢ Tab แสดงรายละเอียดข้อมูลคำขอ งบประมาณแผนการใช้จา่ ย และเงินนอกงบประมาณ ดงั รปู 58
59
➢ คลกิ Tab แสดงรายละเอียดข้อมูลประมาณการ รายจ่ายลว่ งหนา้ (MTEF) และเงนิ นอกงบประมาณ ดงั รปู 60
การบันทึก/แก้ไขข้อมูล 1. สว่ นแสดงรายละเอยี ดรายการ (ระบบไมใ่ ห้แก้ไข) • Tab คำของบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ย และเงินนอกงบประมาณ : หมวดรายจ่าย รายการ ราคา/หน่วย หน่วยนับ ปริมาณ งบประมาณ พ.ร.บ. • Tab ข้อมูลประมาณการงบประมาณ (MTEF) และเงินนอกงบประมาณ : หมวดรายจา่ ย รายการ ราคา/ หน่วย หน่วยนบั 2. สว่ นการบนั ทึกข้อมลู • Tab คำของบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ย และเงนิ นอกงบประมาณ : ▪ สว่ นท่ี 1 บนั ทึกข้อมูล : ระบุเบิกจา่ ยจริงปีงบประมาณ ปีก่อนหนา้ 2 ปี ปริมาณ และ งบประมาณ - รายการเงินอุดหนุนท่วั ไปท่ีมีมติคณะรัฐนตรีรบั รองและมีการกำหนดราคา/หน่วย การบนั ทึก ระบบ เปิดใหบ้ นั ทึกข้อมลู ปริมาณ และระบบคำนวณยอดงบประมาณให้ (ผลการคำนวณ ยอดงบประมาณระบบปัดหลักสิบให้เปน็ หลกั ร้อย) - รายการเงนิ อุดหนนุ ทว่ั ไปทไ่ี ม่ไดก้ ำหนดราคา/หนว่ ย การบันทกึ ข้อมลู ระบบจะเปดิ ใหบ้ ันทึก ขอ้ มูลปรมิ าณและงบประมาณ ระบบจะไม่คำนวณยอดงบประมาณให้ ▪ สว่ นที่ 2 บันทึกข้อมลู : ระบแุ ผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายเดอื น ตามไตรมาส ▪ ส่วนที่ 3 บนั ทึกข้อมูล : ระบเุ งินนอกงบประมาณ ประกอบดว้ ย เงินรายได้ เงนิ กู้ และ เหตผุ ลคำ ชีแ้ จง (สามารถบนั ทึกได้ไม่เกิน 800 อักขระ) • Tab ประมาณการงบประมาณ (MTEF) และเงินนอกงบประมาณ ▪ ส่วนท่ี 1 บันทึกข้อมูล : ระบุเงินประมาณการรายจา่ ยลว่ งหน้า (MTEF) 20 ปี โดยบนั ทกึ ปริมาณ งบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ ประกอบดว้ ย เงนิ รายได้ เงินกู้ ของแตล่ ะปี หมายเหตุ : กรณี รายการปเี ดียวจบและไม่ได้ของบประมาณในปปี จั จบุ นั ให้บันที่กวงเงนิ ประมาณ การ (MTEF) ของปีก่อนหน้าที่ช่อื รายการ \" รายการปเี ดยี วจบ (ของปีก่อนหนา้ ) \" 61
3. เมื่อทำการบันทึกรายละเอียดข้อมลู เรียบร้อยแล้ว • คลิกปมุ่ : เพอ่ื บันทึกข้อมูล โปรแกรมจะแสดงข้อความดงั รูป คลิกปุม่ เพ่ือยืนยนั การแก้ไขขอ้ มลู คลิกปมุ่ เพอื่ รบั ทราบการบันทึกข้อมูล • กรณีบันทึกข้อมูลช่องงบประมาณของคำของบประมาณ กบั ช่องรวมแผน ไม่เท่ากัน โปรแกรมทำการ ตรวจสอบข้อมลู เมือ่ คลิกป่มุ เพ่ือบันทึกข้อมลู โปรแกรมจะแสดงข้อความแจง้ เตือนดงั รปู คลิกปมุ่ เพื่อรับทราบการแจ้งเตือน พร้อมตรวจสอบข้อมูลที่เกิดข้อผิดพลาด พร้อม ทงั้ แสดงพ้ืนหลังสแี ดงในชอ่ งทโ่ี ปรแกรมไดท้ ำการตรวจสอบ 62
• กรณีไมไ่ ดร้ ะบุขอ้ มูลเบิกจา่ ยจรงิ เมื่อคลิกป่มุ เพื่อบันทึกข้อมูล โปรแกรมจะแสดง ข้อความแจ้งเตอื นดงั รูป (แตส่ ามารถบนั ทึกข้อมลู ) คลิกปมุ่ เพือ่ รับทราบการแจง้ เตือน พร้อมตรวจสอบข้อมลู ทีเ่ กดิ ข้อผดิ พลาด • กรณบี ันทึกขอ้ มลู ช่องเหตผุ ลคำช้ีแจง เกนิ กว่า 800 อกั ขระ โปรแกรมทำการตรวจสอบข้อมูล เมอ่ื คลิกปุ่ม เพ่ือบนั ทกึ ขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงข้อความแจ้งเตือนดงั รปู คลิกปมุ่ เพอ่ื รับทราบการแจ้งเตือน พร้อมตรวจสอบข้อมลู ที่เกิดข้อผิดพลาด พรอ้ มทงั้ แสดงพนื้ หลงั สีแดงในช่องท่ีโปรแกรมได้ทำการตรวจสอบ 63
• กรณมี กี ารนำส่งขอ้ มูลคำขอฯ (Sign Off) เมื่อคลิกปุ่ม เพื่อบันทึกข้อมูล โปรแกรมจะแสดง ขอ้ ความแจ้งเตือนดงั รูป คลิกปุม่ เพือ่ รับทราบการแจง้ เตือน พรอ้ มตรวจสอบข้อมูลท่ีเกดิ ขอ้ ผดิ พลาด การลบข้อมลู 1. จากหน้าจอแสดงผลการค้นหา เลือกรายการที่ต้องการจากตารางข้อมูลเงินคำของบประมาณ หรือ ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) จากนนั้ คลกิ ปมุ่ เพ่อื ลบข้อมูล โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดังรูป คลกิ ปุ่ม เพ่ือยืนยันการลบข้อมูล โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดงั รปู คลกิ ปุม่ เพ่อื รับทราบการลบขอ้ มลู 64
2. การขอเบิกงบอดุ หนนุ เฉพาะกิจ โปรแกรมบนั ทกึ คำของบประมาณ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ วตั ถุประสงค์ รองรับการจัดทำคำของบประมาณ ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) และเงินนอกงบประมาณ ประกอบดว้ ยเงนิ รายได้ เงนิ กู้ ของเงนิ อดุ หนุนเฉพาะกิจ โดยสำนักงบประมาณกำหนดรายการหลักของเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ หน่วยงานสามารถสร้างรายการย่อยภายใต้รายการหลักที่กำหนดได้ โดยรองรับขั้นการทำงาน ขั้น 2.4 ขัน้ คำขอ >> คำขอกรม การเขา้ ใช้งานโปรแกรม ระบบคำของบประมาณ >> โปรแกรมบันทึกคำของบประมาณ >> บันทึกเงินงบประมาณ >> โปรแกรม บันทกึ คำของบประมาณ เงินอุดหนุนเฉพาะกจิ ข้นั ตอนการทำงาน การคน้ หาข้อมูล เงอ่ื นไขการค้นหา ประกอบดว้ ย 1. ระบุเงื่อนไขหลัก คือ ปีงบประมาณ ขั้น หน่วยงาน กิจกรรม งบเงินอุดหนุน : หมวดรายจ่ายย่อย รายการ และคำค้นโดยระบบจะแสดงราคา/หน่วย อัตโนมัติ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในการขอต้ัง งบประมาณ ใชใ้ นการแสดง/ซ่อน เงือ่ นไขการคน้ หาและเง่อื นไขเพม่ิ เติม เพอื่ เพ่ิมพน้ื ท่ใี นการแสดงผข้อมูล ➢ กรณจี ำนวนข้อมลู เกิน 200 รายการ เม่ือคลกิ ป่มุ เพื่อค้นหาข้อมูล โปรแกรมจะ แสดงขอ้ ความแจง้ เตือนดงั รูป 65
คลิกปุ่ม เพอ่ื รับทราบการแจ้งเตอื น ➢กรณเี พ่มิ รายการยอ่ ยใหม่ เมื่อทำการค้นหาตามเงือ่ นไขท่รี ะบุ โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดงั รปู คลิกปมุ่ เพอ่ื รบั ทราบการแจง้ เตอื นข้อมลู โปรแกรมจะแสดงหน้าจอดงั รูป ➢ กรณีแกไ้ ข เม่อื ทำการคน้ หาตามเงอ่ื นไขท่ีระบุ โปรแกรมจะแสดงหนา้ จอดงั รปู 66
2. โปรแกรมแสดงตารางรายการ ส่วนของตารางแสดงรายละเอยี ดขอ้ มูล ดงั รูป ➢ Tab แสดงรายละเอียดข้อมูลคำของบประมาณ แผนการใช้จ่าย และเงนิ นอกงบประมาณ ประกอบดว้ ย 1.1. สว่ นแสดงปมุ่ การทำงาน 1.2. สว่ นรองรบั การบันทึกขอ้ มลู : ช่อื รายการ เปน็ รายการภาระผูกพนั หนว่ ยนบั เบกิ จ่ายจริงปีงบประมาณ ย้อนหลัง 2 ปี เบิกจา่ ยจรงิ ปีงบประมาณยอ้ นหลงั 1 ปี ราคา/หน่วย ปรมิ าณ และ งบประมาณ 67
1.3. ส่วนรองรับการบันทึกข้อมูล : แผนการใช้จ่ายงบประมาณ รายเดือน 12 เดือน ตุลาคม – กันยายน และ รวมแผน (ระบบคำนวณรวมแผนเดอื น ตลุ าคม – กนั ยายน) 1.4. ส่วนรองรับการบันทึกข้อมูล : เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินกู้ และ เหตุผลคำชี้แจง (สามารถ บันทึกได้ไมเ่ กิน 800 อักขระ) ➢ คลกิ Tab แสดงรายละเอียดข้อมูลประมาณการ รายจา่ ยล่วงหน้า (MTEF) และเงินนอกงบประมาณ ดังรูป 1.5. ส่วนรองรับการบันทึกข้อมูล : เงินประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) ระบบให้บันทึกปริมาณและ งบประมาณของแต่ละปี หมายเหตุ : กรณีรายการปีเดียวจบและไม่ได้ของบประมาณในปีปจั จุบัน ให้บันทึกวงเงินประมาณการ (MTEF) ของปกี ่อนหนา้ ทช่ี อ่ื รายการ “ รายการปเี ดียวจบ (ของปกี ่อนหน้า) ” 68
การเพ่มิ ขอ้ มูล เพ่อื เพิ่มขอ้ มลู ข้นั ตอนการทำงาน 1. หนา้ จอแสดงผลการค้นหา – กรณีที่ยงั ไม่เคยบันทึกข้อมูล คลิกปุ่ม โปรแกรมเพ่ิมบรรทดั ใหมใ่ นตารางขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงหน้าจอดงั รูป 69
2. ระบุรายละเอียดรายการท่ีตอ้ งการเพมิ่ ใหม่ ดงั นี้ • Tab คำของบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ย และเงนิ นอกงบประมาณ - ระบุชื่อรายการย่อย : อาคารเรียนอนุบาล (ตอกเสาเข็ม) โรงเรียนอนุบาลอ่าวนาง องค์การ บริหารส่วนตำบลอ่าวนาง อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ประเภทงานก่อสร้าง คือ อาคาร เรียนอนุบาล (ตอกเสาเขม็ ) พนื้ ท่เี ปา้ หมาย คือ โรงเรยี นอนบุ าลอา่ วนาง องค์การบรหิ ารส่วน ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่คลิกช่องรายการภาระผูกพัน หากรายการนี้ เปน็ รายการภาระผกู พนั และระบรุ ายละเอยี ดภาระผกู พนั - ปอ้ นข้อมลู หนว่ ยนับ เบิกจ่ายจรงิ ปี Fy-2 เบิกจา่ ยจรงิ ปี Fy-1 ราคา/หนว่ ย ปริมาณ และคำ ของบประมาณ - ป้อนข้อมูล แผนการใช้จ่ายงบประมาณ รายเดือน 12 เดือน ต.ค. – ก.ย. และรวมแผน (ระบบคำนวณรวมแผนเดอื น ต.ค. - ก.ย.) - เงนิ นอกงบประมาณ เงินรายได้ เงนิ กู้ และเหตุผลคำชแ้ี จง (สามารถบันทกึ ได้ 800 อกั ขระ) • Tab ขอ้ มลู ประมาณการงบประมาณ (MTEF) และเงนิ นอกงบประมาณ - ระบุชื่อรายการย่อย : อาคารเรียนอนุบาล (ตอกเสาเข็ม) โรงเรียนอนุบาลอ่าวนาง องค์การ บรหิ ารสว่ นตำบลอ่าวนาง อำเภอเมอื งกระบี่ จงั หวัดกระบี่ ประเภทงานก่อสร้าง คอื อาคาร เรียนอนุบาล (ตอกเสาเข็ม) พื้นที่เป้าหมาย คือ โรงเรียนอนุบาลอ่าวนาง องค์การบริหาร สว่ นตำบลอ่าวนาง อำเภอเมอื งกระบี่ จังหวัดกระบ่ี - คลิกช่องรายการภาระผูกพัน หากรายการนี้เป็นรายการภาระผูกพัน และระบุรายละเอียด ภาระผกู พนั - ป้อนขอ้ มลู หนว่ ยนับ - เงินประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า (MTEF) 20ปี ตามระบบ e-Budgeting ระบบให้บันทึก ปริมาณงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ (โครงสร้างตามระบบ e-Budgeting) เงินรายได้ เงินกู้ ของแตล่ ะปี 70
2.1. กรณีรายการนัน้ ๆ ไมส่ ามารถดำเนินงานแลว้ เสร็จภายใน 1 ปี และของบประมาณผูกพนั ขา้ มปี แสดวา่ รายการนัน้ ๆ เป็นรายการภาระผกู พัน ตอ้ งระบรุ ายละเอยี ดภาระผกู พันทุกรายการ คลิก กรณเี ป็น รายการภาระผกู พัน แล้วคลิกปุ่ม ระบรุ ายละเอียดภาระผกู พนั โปรแกรมจะแสดงหน้าจอดงั รูป ระบรุ ายละเอียดรายการภาระผกู พัน ประกอบด้วย - ปีผูกพัน (yy) : ถึงปี (yy) : - ผูกผันระหว่างปี 66 (เฉพาะ ม.41/ม.42 หรอื ผูกพันสญั ญา) - ลกั ษณะผูกพนั : (ผูกพันสญั ญา ตามสัญญาและม.41/ม.42 (ม.23) ผูกพนั ใหม่) - หนังสอื มติ ครม. ท่ีอนมุ ัติโครงการ : ระบุวนั ท่ี : - หนังสือมติ ครม. ที่อนมุ ัติผูกพันรายการ : ระบุวันที่ : - สญั ญา : ระบุวนั ท่ี : - แผนเร่มิ แรกของวนั ทจ่ี ะเซน็ สัญญา : ระบวุ ันท่ี : - แผนล่าสดุ ของวันทจ่ี ะเซ็นสัญญา : ระบวุ ันที่ : - วนั ท่สี น้ิ สดุ สญั ญา : ระบวุ นั ที่ : - ปรมิ าณ : - ยอดเงินงบประมาณ (บาท) : 71
- ยอดเงินงบประมาณ ณ ขน้ั (บาท) : - ยอดงบประมาณยกมาจากรายการอนื่ (บาท) : - เงินสำรองเผอ่ื เหลือเผ่อื ขาด (บาท) : - หมายเหตุ : - สถานภาพรายการผูกพนั : - ความจำเปน็ ในการตง้ั งบประมาณผูกพันข้ามปี : - ประเภทรายการใชจ้ ่ายท่ีสำคัญ : คลิกปุ่ม เพื่อบนั ทกึ รายการภาระผูกพัน โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดงั รปู คลกิ ป่มุ เพอื่ รบั ทราบ 3. เมือ่ ทำการบนั ทึกรายละเอียดข้อมูล เรยี บร้อยแล้ว • คลิกปมุ่ เพ่อื บันทกึ ขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดังรปู คลกิ ปมุ่ เพื่อยืนยนั การบนั ทกึ ข้อมลู คลกิ ป่มุ เพือ่ รบั ทราบการบันทึกข้อมูล 72
• กรณี ไม่ได้บันทึกข้อมูลช่อง รายการ ราคา/หน่วย ปริมาณ และงบประมาณ โปรแกรมทำการตรวจสอบ ขอ้ มลู (ไมอ่ นญุ าตให้บันทึกข้อมูล) พร้อมท้งั แสดงพนื้ หลงั สีแดงในชอ่ งท่โี ปรแกรมได้ทำการตรวจสอบ เมื่อ คลกิ ปุม่ เพ่ือบนั ทึกข้อมูล • กรณบี ันทึกข้อมูลช่องงบประมาณของคำของบประมาณ กบั ช่องรวมแผน ไม่เท่ากนั โปรแกรมทำการตรวจสอบ ขอ้ มูล เมอ่ื คลกิ ปมุ่ เพอื่ บันทึกขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงข้อความแจง้ เตอื นดงั รู คลกิ ปุ่ม เพอ่ื รบั ทราบการแจง้ เตือน พรอ้ มตรวจสอบขอ้ มลู ท่เี กดิ ขอ้ ผิดพลาดพร้อมทั้งแสดงพื้น หลงั สแี ดงในช่องท่โี ปรแกรมไดท้ ำการตรวจสอบ • กรณีไมไ่ ด้ระบขุ ้อมลู เบิกจ่ายจรงิ เมือ่ คลิกปุม่ เพ่ือบันทึกข้อมูล โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความ แจง้ เตือนดังรูป (แต่สามารถบันทึกข้อมูล) คลิกปุ่ม เพอื่ รบั ทราบการแจ้งเตือน พรอ้ มตรวจสอบขอ้ มูลทเ่ี กิดข้อผดิ พลาด 73
• กรณีบนั ทึกข้อมูลชอ่ งเหตุผลคำชแี้ จง เกนิ กวา่ 800 อักขระ โปรแกรมทำการตรวจสอบข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม เพื่อบันทกึ ขอ้ มลู โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความแจง้ เตือนดังรปู คลิกปุม่ เพ่ือรบั ทราบการแจ้งเตือน พรอ้ มตรวจสอบข้อมูลทีเ่ กิดข้อผดิ พลาดพรอ้ มท้งั แสดงพ้ืนหลังสีแดงในชอ่ งทโ่ี ปรแกรมไดท้ ำการตรวจสอบ • กรณมี กี ารคลิก เลอื กเปน็ รายการภาระผกู พัน แตไ่ ม่ไดร้ ะบรุ ายละเอยี ดภาระผกู พนั เม่อื คลกิ ป่มุ เพ่ือบันทกึ ขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความแจ้งเตือนดงั รูป คลิกปมุ่ เพื่อรับทราบการแจ้งเตือน พร้อมตรวจสอบขอ้ มูลทเี่ กิดขอ้ ผิดพลาด • กรณีมีการระบุเป็นรายการภาระผูกพัน แต่ไม่ได้มีการระบุประมาณการงบประมาณ MTEF เมื่อคลิกปุ่ม เพ่ือบันทกึ ขอ้ มูล โปรแกรมจะแสดงข้อความแจ้งเตอื นดงั รปู 74
คลกิ ปุม่ เพื่อรบั ทราบการแจง้ เตอื น พรอ้ มตรวจสอบข้อมลู ท่เี กิดข้อผิดพลาด • กรณีมีการนำส่งข้อมูลคำขอฯ (Sign Off) เมื่อคลิกปุ่ม เพื่อบันทึกข้อมูล โปรแกรมจะแสดง ข้อความแจง้ เตอื นดังรูป คลกิ ปมุ่ เพื่อรับทราบการแจ้งเตอื น พรอ้ มตรวจสอบขอ้ มูลที่เกดิ ขอ้ ผิดพลาด การแกไ้ ขข้อมลู เพอื่ คน้ หาข้อมูล โปรแกรมจะแสดงหน้าจอดงั รปู ขัน้ ตอนการทำงาน 1. จากหน้าเงอื่ นไขการค้นหา คลกิ ปมุ่ 75
2. ทำการแกไ้ ขรายละเอยี ดข้อมูลให้ครบถว้ นสมบรู ณ์ 3. คลิกปุ่ม เพือ่ แก้ไขขอ้ มลู โปรแกรมจะแสดงขอ้ ความดังรูป คลิกปมุ่ เพื่อยนื ยันการแกไ้ ขข้อมูล คลกิ ป่มุ เพ่ือรับทราบการแก้ไขขอ้ มูล การลบขอ้ มูล เพอ่ื คน้ หาขอ้ มลู โปรแกรมจะแสดงหน้าจอดงั รปู ข้ันตอนการทำงาน 1. จากหนา้ เงื่อนไขการคน้ หา คลกิ ปุ่ม 76
2. คลิกปุม่ เพอ่ื ลบขอ้ มลู โปรแกรมจะตรวจสอบให้วา่ ได้ทำการบันทกึ ข้อมูลไวห้ รือไม่ ประกอบด้วย ทะเบียนรายการ ข้อมูลหลักรายการ เงินงบประมาณ ประมาณการงบประมาณ และ ข้อมูลรายละเอียด ภาระผกู พันโดยแสดงข้อความแจง้ ให้ยืนยนั การลบขอ้ มูล ดังรูป คลกิ ปุ่ม เพื่อยืนยนั การลบข้อมลู คลิกปุ่ม เพอื่ รับทราบการลบข้อมูล กลับสหู่ น้าเมนหู ลัก ❖ เมอ่ื ต้องการกลบั ส่หู นา้ จอเมนูหลัก คลิกปมุ่ 77
Search