วงเงินโครงการ 1. โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ระยะที่ 1 จํานวน 1,000 ล้านบาท อายเุ งินกู้ ชอ่ งทางปล่อยกู้ 2. โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 จํานวน 1,000 ล้าน ผู้มสี ทิ ธิก์ ู้ บาท วงเงินกู้ ไม่เกิน 7 ปี อตั ราดอกเบ้ยี ผา่ นสถาบนั การเงินท่เี ข้ารว่ มโครงการโดยต้องรับผิดชอบเงินท่ีปล่อยกทู้ ง้ั หมด โครงการท่ีมสี ทิ ธ์ิ เปน็ อาคารควบคุมและโรงงานควบคุมตาม พรบ. ส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. ขอรับการสนับสนุน 2535 ประสงค์จะลงทนุ ในด้านการประหยัดพลงั งานหรือโรงงาน/อาคารท่ัวไป ตอ้ งเปน็ ตลอดจนบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) นาํ ไปลงทนุ เพอ่ื การอนุรักษ์พลงั งาน ไมเ่ กนิ 50 ล้านบาทต่อโครงการ ไมเ่ กินรอ้ ยละ 4 ต่อปี (ระหวา่ งสถาบนั การเงินกับผู้ก)ู้ โครงการอนรุ ักษพ์ ลงั งานหรอื เพิม่ ประสิทธิภาพการใชพ้ ลงั งาน สง่ เสริมการอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 7 และมาตรา 17 สถาบันการเงินจะเป็นผู้อนุมัติเงินกู้เพื่อโครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนตามแนว หลกั เกณฑ์และเง่ือนไขของสถาบนั การเงนิ นัน้ ๆ นอกเหนอื จากหลักเกณฑ์เง่ือนไขข้างต้นน้ีโดยดอกเบีย้ วงเงิน กู้และระยะเวลาการกู้จะขึ้นอยู่กับการพิจารณาและข้อตกลงระหว่างผู้กู้กับสถาบันการเงิน ข้ันตอนการ ขอรบั การสนับสนนุ คู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนํ้า หน้า 40
วิธีปฏิบตั ใิ นการขอรบั เงนิ กู้โครงการเงินทุนหมนุ เวยี นเพื่อการอนรุ ักษพ์ ลังงานและพลังงานทดแทน รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อสอบถามมายัง ศูนย์อํานวยการโครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการ อนรุ ักษพ์ ลังงานกรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลังงาน หมายเลขโทรศพั ท์ 02-226-3850-1, 02-225-3106 โทรสาร 02-226-3851 เวบ็ ไซต์ http://www.dede.go.th 4.3 โครงการส่งเสรมิ การลงทนุ ดา้ นอนุรกั ษพ์ ลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO FUND) เป็นโครงการที่กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานได้ นําวงเงินจํานวน 500 ล้านบาท จัดต้ัง “กองทุนร่วมทุนพลังงาน หรอื ESCO Capital Fund” ผ่านการจดั การของผู้จัดการกองทุน (Fund Manager) 2 แห่ง ได้แก่ มูลนิธิพลังงานเพื่อส่ิงแวดล้อม (มพส. หรอื E for E) และมลู นิธิอนุรักษ์พลังงานแห่งประเทศไทย (มอพท.) โดยปัจจุบัน Fund Manage ทั้ง 2 แห่ง เข้าร่วมลงทุน คู่มือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั น้าํ หนา้ 41
แล้ว จํานวน 26โครงการ คิดเป็นเงินสนับสนุนจํานวน 407 ล้านบาท และก่อให้เกิดการลงทุนมากกว่า 5,000 ล้านบาท ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา และในระยะต่อไปคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานได้อนุมัติวงเงินต่อเน่ืองอีก 500 ล้านบาทสําหรับรอบการลงทุนในปี 2553-2555เพ่ือส่งเสริมการ ลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพทางเทคนิคแต่ยังขาดปัจจัยการลงทุนและ ช่วยผู้ประกอบการหรือผู้ลงทุนให้ได้ประโยชน์จากการขายคาร์บอนเครดิตโดยมีรูปแบบการจะส่งเสริมใน หลายลักษณะ อาทิเช่น ร่วมลงทุนในโครงการ (Equity Investment), ร่วมลงทุนในบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO Venture Capital) , ร่วมลงทุนในการพัฒนาและซ้ือขายคาร์บอนเครดิต (Carbon Market) , การ เช่าซ้ืออุปกรณ์ (Equipment Leasing), การอํานวยเครดิตให้สินเชื่อ (Credit Guarantee Facility) และ การให้ความชว่ ยเหลือทางดา้ นเทคนคิ (Technical Assistance) ผู้มีสิทธิยื่นข้อเสนอ ได้แก่ ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและ/หรือ บริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company – ESCO) ท่ีมโี ครงการด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนวัตถุประสงค์ เพ่ือจะลดปริมาณการใช้พลังงาน เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานหรือต้องการปรับเปล่ียนการใช้เชื้อเพลิง มาเป็นพลังงานทดแทน ลักษณะการสง่ เสริมการลงทนุ 1. การเข้าร่วมทุนในโครงการ (Equity Investment) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะเข้าร่วม ลงทุนในโครงการท่ีก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานหรือพลังงานทดแทนเท่าน้ัน เพื่อก่อให้เกิดผลประหยัด พลังงานท้ังนี้จะต้องมีการแบ่งผลประหยัดพลังงาน (Shared Saving) ตามสัดส่วนเงินลงทุนท่ีได้รับการ ส่งเสริม ระยะเวลาในการส่งเสริมประมาณ 5 - 7 ปีผู้ที่ได้รับการส่งเสริมทําการคืนเงินลงทุนแก่โครงการ ภายในระยะเวลาท่สี ่งเสรมิ 2. การเขา้ รว่ มทนุ กับบริษทั จัดการพลังงาน (ESCO Venture Capital)การเข้าร่วมทุนกับบริษัทจัด การพลังงานโดยช่วยให้บริษัทท่ีได้รับพิจารณาร่วมทุนนั้นมีทุนในการประกอบการโดยโครงการจะได้รับ ผลตอบแทนขึ้นอยู่กับผลประกอบการของบริษัทท้ังนี้โครงการจะร่วมหุ้นไม่เกินร้อยละ 30 ของทุนจด ทะเบยี นและมสี ว่ นในการควบคมุ ดูแลการบริหารจัดการของบริษทั 3. การช่วยให้โครงการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทนได้รับผลประโยชน์จากการขาย Carbon Credit Market (CDM) 4. โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะดําเนินการจัดทําแบบประเมินเบื้องต้นของโครงการ หรือ Project Idea Note (PIN) ซ่ึงจะทําให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมของโครงการที่จะพัฒนาให้เกิด การซื้อขายหรือได้รับประโยชน์จาก Carbon Credit หรือ เป็นตัวกลางในการรับซื้อ Carbon Credit จาก โครงการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทนท่ีมีขนาดเล็ก และรวบรวม (Bundle Up) เพ่ือนําไปขายในมูล ค่าท่สี งู ขนึ้ 5. การเชา่ ซ้ืออปุ กรณป์ ระหยดั พลังงาน/พลงั งานทดแทน (Equipment Leasing) คมู่ ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนํา้ หน้า 42
6. โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะทําการซ้ืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ให้กับผู้ประกอบการก่อนและทําสัญญาเช่าซื้อระยะยาวระหว่างผู้ประกอบการกับโครงการโดย ผู้ประกอบการจะต้องทําการผ่อนชําระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบ้ียเป็นรายงวดงวดละเท่า ๆ กันตลอดอายุ สัญญาเช่าซื้อ การสนับสนุนในการเช่าซ้ืออุปกรณ์ได้ 100% ของราคาอุปกรณ์น้ัน แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท ระยะเวลาการผ่อนชําระคืน 3-5 ปีโดยคดิ อัตราดอกเบ้ยี ตํา่ 7. การอํานวยเครดิตให้สินเช่ือ (Credit Guarantee Facility) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะ ดําเนินการจัดหาสถาบันหรือองค์กรท่ีให้การสนับสนุนในเร่ือง Credit Guarantee เพื่อให้โครงการลงทุน ได้รับการปล่อยสินเช่ือจากธนาคารพาณิชย์ทั้งน้ีโครงการอาจจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในเร่ืองค่าธรรมเนียม รบั ประกนั สินเชอื่ ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยคิดคา่ ธรรมเนียมต่ําในการสง่ เสริมในด้านน้ี 8. การช่วยเหลือทางเทคนิค (Technical Assistance) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯ จะให้ความ ช่วยเหลือทางด้านเทคนิคในการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานแก่ผู้ประกอบการหรือ หน่วยงานองค์การต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการโดยกองทุนจะให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคต้ังแต่เร่ิมต้นจนสิ้นสุด ระยะเวลาโครงการโดยคดิ คา่ ธรรมเนียมตาํ่ ในการส่งเสรมิ หรอื อาจมีการแบ่งผลการประหยดั พลงั งาน สามารถสอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ได้ที่ 1. มูลนธิ ิพลังงานเพื่อส่ิงแวดลอ้ ม 487/1 อาคารศรอี ยุธยา ชั้น 14 ถนนศรีอยธุ ยา ราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-6426424 -5 โทรสาร 02-642-6426 หรอื สอบถามรายละเอยี ดเพ่ิมเติมไดท้ ี่ [email protected] 2. มูลนิธิอนรุ ักษ์พลงั งานแหง่ ประเทศไทย (กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลงั งาน – อาคาร 9 ช้ัน 2) เลขท่ี 17 ถนนพระราม 1 เชงิ สะพานกษัตริยศ์ ึก แขวงรองเมอื ง เขตปทมุ วัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท:์ 0-2621-8530, 0-2621-8531-9 ต่อ 501, 502 โทรสาร: 0-2621-8502-3 ค่มู อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นาํ้ หนา้ 43
โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน 4.4 กลไกลการพฒั นาท่ีสะอาด (CDM) กลไกการพัฒนาท่ีสะอาด Clean Development Mechanism (CDM) เป็นกลไกท่ีจะสนับสนุนการพัฒนา โครงการท่ีช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและสามารถนํา ปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีลดลงได้จากโครงการ ไปขายให้กับ ประเทศท่ีพัฒนา (Developed Countries) เพ่ือตอบสนอง ขอ้ ผูกพนั ในการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตามเป้าหมายทไี่ ดต้ กลงในพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ซึ่งมีผล บังคับใช้เม่ือวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 อันเนื่องมาจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจาก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมดํารงชีวิตของประชากรโลกในปัจจุบัน ทั้งจากภาคคมนาคมขนส่ง ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม เป็นปัญหาร่วมกันของนานาชาติแนวทางหน่ึงในการร่วมกันแก้ไข ปัญหาดังกล่าวคือ การให้สัตยาบัณต่ออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) กลไกการพัฒนาที่สะอาดเป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการลงทุนเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเกิดการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีใหก้ ับประเทศท่ีกําลังพัฒนา อย่างเช่น ประเทศไทยและถือเป็นช่องทางหน่ึงในการสร้าง คูม่ ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลังน้ํา หนา้ 44
รายได้ให้แก่ผู้ประกอบการพลังงานทดแทน เช่น โครงการผลิตพลังงานชีวมวล ท่ีเป็นวัสดุเหลือใช้ทิ้งทาง การเกษตร การผลติ กา๊ ซชวี ภาพจากขยะและน้าํ เสียเพอื่ นาํ มาเป็นพลังงาน รวมไปถงึ โครงการการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะได้รับผลประโยชน์ในรูปแบบของการขายคาร์บอนเครดิตหรือปริมาณก๊าซเรือน กระจกท่ีลดได้ และเป็นที่ต้องการของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึงมีพันธกรณีต้องลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกใหไ้ ด้ ตามขอ้ ตกลงตามพธิ สี ารเกียวโต กลไกการพัฒนาที่สะอาดเปรียบเสมือนแรงจูงใจให้ประเทศกําลังพัฒนาหันมาใช้เทคโนโลยีสะอาด เพ่ิมมากขึน้ ส่งผลใหก้ ารปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสบู่ รรยากาศลดน้อยลงแรงจงู ใจจากการดาํ เนินโครงการกลไก การพัฒนาท่ีสะอาด คือ คาร์บอนเครดิต หรือ CER ท่ีผู้ดําเนินโครงการจะได้รับโดยได้รับการสนับสนุนทาง การเงินจากประเทศท่มี ีพนั ธกรณใี นการลดก๊าซเรือนกระจกนอกจากน้ีประเทศเจ้าของโครงการก็จะเกิดการ พฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development) ทงั้ ในระดับทอ้ งถิ่นและระดับประเทศในด้านส่ิงแวดล้อม มกี ารรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มระดบั ชมุ ชนในพ้นื ท่โี ครงการลดปรมิ าณของเสียท่ีเกิดข้ึนโดยการนํามาใช้เป็น เชื้อเพลิงพลังงานลดการใช้ทรัพยากรเช้ือเพลิงที่ไม่ สามารถทดแทนได้ ด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดการจ้าง งานในชุมชน เกษตรกรสามารถนําวัสดุเหลือใช้ เช่น แกลบ เศษไม้ไปขายเพื่อเป็นวัตถุดิบในการดําเนิน โครงการ CDM ลดการนําเข้าเชื้อเพลิงพลังงานจาก ต่างประเทศ ด้านสังคมประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นโดยเฉพาะด้านสุขภาพอนามัยจากคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นมีบทบาทในเวทีโลกในการแก้ไข ปัญหาระดับนานาชาติโดยประโยชน์ต่างๆที่ประเทศ ไทยจะไดร้ บั จากการดาํ เนนิ โครงการ CDM สามารถสรปุ เปน็ ขอ้ ๆ ไดด้ ังนี้ 1. รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิตในโครงการ CDM เป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้ประกอบการคืนทุนได้ รวดเร็วขึน้ จากการพฒั นาโครงการด้านพลังงานทดแทนการอนุรักษ์พลังงาน นอกเหนือจากการ สนบั สนนุ ของภาครฐั ภายในประเทศ 2. เกิดรายไดเ้ ขา้ สปู่ ระเทศจากการดาํ เนนิ กิจกรรมการลดกา๊ ซเรอื นกระจก 3. ประเทศไทยมอี ตั ราการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกลดลงจากการดาํ เนนิ โครงการ CDM 4. การตรวจสอบ (Monitoring) ปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากโครงการ CDM ชว่ ยให้ประเทศไทยมีตวั เลขการดาํ เนนิ งานเพ่ือลดกา๊ ซเรือนกระจกภายในประเทศไทย 5. เกิดการพัฒนาโครงการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานที่ดีกว่ามาตรฐานท่ีกําหนด ภายในประเทศ สร้างส่ิงแวดล้อมและคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีใหก้ ับชมุ ชนรอบพน้ื ที่โครงการ ค่มู ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนาํ้ หนา้ 45
สําหรับเกณฑ์การพิจารณาการดาํ เนนิ โครงการภายใต้กลไกการพัฒนาท่ีสะอาด ในปัจจุบันน้ันประเทศไทย ได้มีการจัดทําหลักเกณฑ์การพัฒนาอย่างย่ังยืนสําหรับ โครงการ CDM ข้ึนซ่ึงประกอบด้วยมิติการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้านสังคมด้านการพัฒนาและ/หรือการถ่ายทอด เทคโนโลยีและด้านเศรษฐกิจ โดยโครงการที่คณะกรรมการองค์การบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจกจะพิจารณาให้การรับรอง ได้แก่ 1. โครงการด้านพลังงาน ได้แก่การผลิตพลังงานและการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน เช่น โครงการพลังงานทดแทนการใช้นํ้ามันเช้ือเพลิง โครงการแปลงกากของอุตสาหกรรมเป็น พลงั งาน โครงการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพระบบทําความเย็น และโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการใช้พลงั งานในอาคาร เปน็ ต้น 2. โครงการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการแปลงขยะเป็นพลังงานโครงการแปลงน้ําเสียเป็น พลงั งาน เปน็ ต้น 3. โครงการด้านคมนาคมขนส่ง เช่นโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคมนาคมขนส่งและการใช้ พลังงาน 4. โครงการด้านอตุ สาหกรรม เชน่ โครงการทส่ี ามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน กระบวนการอุตสาหกรรม การขอพัฒนาโครงการ CDM การดําเนินโครงการภายใตก้ ลไกการพัฒนาทสี่ ะอาด ประกอบดว้ ย 7 ขน้ั ตอน 1. การออกแบบโครงการ (Project Design) ผ้ดู ําเนนิ โครงการจะตอ้ งออกแบบลกั ษณะของโครงการ และจดั ทาํ เอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document: PDD) โดยมีการกาํ หนดขอบเขตของ โครงการ วธิ กี ารคํานวณการลดกา๊ ซเรอื นกระจก วธิ ีการในการตดิ ตามผลการลดกา๊ ซเรอื นกระจก การ วเิ คราะหผ์ ลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม เปน็ ต้น 2. การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) ผดู้ าํ เนนิ โครงการจะต้องว่าจา้ งหน่วยงาน กลางทไี่ ด้รบั มอบหมายในการปฏบิ ัติหนา้ ทแี่ ทนคณะกรรมการบริหารฯ หรอื ที่เรียกว่า Designated Operational Entity (DOE) ในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ ว่าเป็นไปตามข้อกาํ หนดต่างๆ หรือไม่ ซงึ่ รวมถึงการไดร้ ับความเหน็ ชอบในการดําเนินโครงการจากประเทศเจ้าบา้ นด้วย 3. การขึ้นทะเบยี นโครงการ (Registration) เมื่อ DOE ได้ทาํ การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ และลงความเหน็ ว่าผ่านข้อกําหนดต่างๆ ครบถว้ น จะสง่ รายงานไปยงั คณะกรรมการบรหิ ารกลไกการพัฒนา ที่สะอาด (EB) เพ่ือขอขึ้นทะเบียนโครงการ ค่มู อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังน้ํา หนา้ 46
4. การตดิ ตามการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Monitoring) เมอื่ โครงการได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น โครงการ CDM แล้ว ผู้ดาํ เนนิ โครงการจึงดําเนนิ โครงการตามท่ีเสนอไว้ในเอกสารประกอบโครงการ และทาํ การติดตามการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามที่ไดเ้ สนอไวเ้ ชน่ กนั หมายเหตุ DNA หมายถึง หน่วยงานกลางที่ทาํ หน้าทีป่ ระสานการดาํ เนินงานตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด DOE หมายถงึ หน่วยงานปฏิบัติการที่ไดร้ บั หมอบหมายในการตรวจสอบ (Designated Operational Entities) CDM EB หมายถึง คณะกรรมการบรหิ ารกลไกการพฒั นาที่สะอาด (Executive Board of CDM) 5. การยืนยันการลดก๊าซเรือนกระจก (Verification) ผดู้ ําเนินโครงการจะต้องวา่ จา้ งหนว่ ยงาน DOE ให้ ทําการตรวจสอบและยนื ยันการติดตามการลดก๊าซเรือนกระจก 6. การรับรองการลดก๊าซเรอื นกระจก (Certification) เม่ือหนว่ ยงาน DOE ไดท้ าํ การตรวจสอบการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกแลว้ จะทํารายงานรับรองปรมิ าณการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกทด่ี าํ เนนิ การ ไดจ้ ริงต่อคณะกรรมการบริหารฯ เพ่อื ขออนมุ ตั ิใหอ้ อกหนงั สอื รบั รองปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกทีล่ ด ได้ หรือ CER ให้ผู้ดาํ เนนิ โครงการ 7. การออกใบรับรองปรมิ าณการลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (Issuance of CER) เมอื่ คณะกรรมการ บริหารฯ ไดร้ ับรายงานรับรองการลดก๊าซเรือนกระจก จะได้พิจารณาออกหนังสอื รับรองปริมาณการปลอ่ ย ก๊าซเรอื นกระจกทีล่ ดได้ หรอื CER ให้ผดู้ าํ เนินโครงการตอ่ ไป คู่มอื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นา้ํ หน้า 47
ทั้งนี้ หน่วยงานกลาง (DOE) ท่ีทําหน้าที่ในการการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) และการยืนยันการลดก๊าซเรือนกระจก (Verification) น้ัน จะต้องเป็นหน่วยงานคนละ หน่วยงาน ขอทราบรายละเอียดเพ่ิมเติมสามารถติดต่อสอบถามมายัง องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน) เลขท่ี 120 หมทู่ ่ี 3 ชั้น 9 อาคาร B ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวง ทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0 2141 9790 โทรสาร 0 2143 8400 เว็บไซต์ http://www.tgo.or.th 4.5 โครงการสง่ เสรมิ การลงทนุ โดยสํานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน (BOI) ภาครัฐได้ยกระดับให้อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน เป็นกิจการที่มีระดับ ความสําคัญสูงสุดและจะได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนในระดับสูงสุดเช่นกัน จึงมี มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน (Maximum incentive) จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ซ่ึงได้กําหนดสิทธิ ประโยชน์ท่ียกเว้นอากรขาเข้าสําหรับเคร่ืองจักร ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็น เวลา 8 ปี และหลังจากนั้นอีก 5 ปี หรือต้ังแต่ปีที่ 9-13 จะลดหย่อนภาษีเงินได้นิติ บคุ คลได้ 50% รวมทงั้ มาตรการจูงใจดา้ นภาษี อาทิ การลดภาษเี ครอ่ื งจกั ร อุปกรณท์ ี่นาํ เขา้ จากต่างประเทศ รวมทั้งการอนุญาตให้นําต้นทุนในการติดต้ังโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น ไฟฟ้า ประปา ขอหักลบภาษีได้ สงู สุด 2 เทา่ สาํ หรบั โครงการท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ เปน็ ต้น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาส่งเสริมโครงการด้านพลังงานทดแทน ได้แก่ กรณีท่ีผู้ประกอบการหรือนัก ลงทุนมีสัดส่วนหนี้ต่อทุน น้อยกว่า 3 ต่อ 1 สําหรับโครงการใหม่ หรือมีเครื่องจักรใหม่ท่ีมีขบวนการผลิตท่ี สมัย หรือมีระบบจดั การท่ีปลอดภยั รกั ษาสิง่ แวดล้อม และใชป้ ระโยชนจ์ ากวัตถดุ ิบในการผลติ เป็นต้น โดยผปู้ ระกอบหรือนักลงทนุ ทส่ี นใจขอทราบรายละเอียดเพ่มิ เติมสามารถตดิ ต่อสอบถามยัง สํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 555 ถ.วภิ าวดี รังสติ จตุจกั รกรงุ เทพฯ 10900 โทร (662) 537-8111, 537-8155 โทรสาร (662) 537-8177 E-mail : [email protected], Website : http://www.boi.go.th คู่มอื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นาํ้ หนา้ 48
แสดงข้ันตอนขอรับการสนับสนนุ จากสาํ นกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ (BOI) คู่มอื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นํา้ หนา้ 49
บทท่ี 5 ข้ันตอนการขอใบอนุญาตตา่ งๆ ขั้นตอนการติดต่อเพ่ือขอใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า เพื่อจําหน่ายพัฒนาพลังงานทดแทน มีหลาย กระบวนการที่เก่ียวข้องกับหน่วยงานราชการต่างๆ หลายแห่ง รวมไปถึงข้อกฎหมาย และกฎระเบียบอื่นๆ ซึ่งล้วนแต่มีขั้นตอนการปฏิบัติและขั้นตอนการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต่างกัน ประเด็น เหล่าน้ีถือเป็นความสําคัญอย่างย่ิงที่จะต้องเผยแพร่ให้ผู้ประกอบการและประชาชนโดยท่ัวไป ได้รับทราบ และเขา้ ใจในกระบวนการสําหรบั ข้ันตอนการขออนญุ าตตา่ งๆ โดยทั่วกัน อย่างไรก็ตามการก่อสร้างไฟฟ้าพลังนํ้าในปัจจุบัน การก่อสร้าง กฎระเบียบทางราชการยังไม่ เอ้ืออํานวยให้เอกชนพัฒนา เน่ืองจากมีหน่วยงานราชการที่ต้องดําเนินการขออนุญาตหลายหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง มีกฎระเบียบและขั้นตอนมาก ถึงแม้หน่วยราชการเองขออนุญาต ยังต้องใช้เวลานาน หรืออาจ ไมไ่ ด้รับการอนญุ าตก็เคยปรากฏให้เห็น 1 หมายเหตุ 1) ระยะเวลารวมการยนื่ ของอนุมตั สิ งู สุดไมเ่ กิน 435 วนั และตํ่าสดุ ไม่เกนิ 255 วัน (ไม่นับรวมข้นั ตอนท่ี 2) 2) การตดิ ต่อประสานงานหนว่ ยงานราชการมี 7 หนว่ ยงาน ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาต 10 ใบ รวมเวลาตง้ั แต่เรม่ิ ยืน่ เอกสาร จนได้รบั เงินคา่ ไฟฟ้าในงวดแรก รูปแสดงขน้ั ตอนการขอใบอนุญาตต่างๆ คู่มอื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังน้ํา หน้า 50
ตารางที่ 5-1 รายละเอยี ดข้นั ตอนการจดั ทําโครงการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน รายการ หน่วยงานที่รบั ผิดชอบ 1. การศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการ ผู้ประกอบการ 2. การออกแบบโครงสร้างอาคาร ส่ิงปลูกสร้างและ ผู้ประกอบการ ออกแบบแผนผังการติดตั้งเครื่องจักร และประเมิน กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ ราคาวสั ดุ กระทรวงพาณชิ ย์ 3. การขอจดทะเบยี นนติ บิ ุคล - ผู้ประ กอบการย่ืนแบบคําขอ “จดทะ เบียน -อุตสาหกรรมจังหวดั -กรมโรงงาน บรษิ ัทจํากัด” กบั กรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ (DEB) อุตสาหกรรม กระทรวง - กรมธุรกิจการค้าอนุมัติ “จดทะเบียนบริษัท อตุ สาหกรรม จํากดั ” 4. การขออนุญาตตั้งโรงงาน (รง.4) 4.1 กรณีย่ืนแบบคําขอตั้งโรงงานต่ออุตสาหกรรม จังหวัด (อก.) - ยื่นเอกสารกบั อตุ สาหกรรมจังหวัด - อุตสาหกรรมจังหวัดขอความเห็น อบต. และตรวจสอบพ้ืนท่ี และจัดทํารายงานการ ตรวจสอบภายใน 30 วนั - อุตสาหกรรมจังหวัดปิดประกาศตามมาตร ค่มู อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั น้าํ
น วนั หมายเหตุ ชื่อคําขอ/คําร้อง/ เอกสาร - - - - - คําขอจดทะเบยี น 1 โดยสามารถยื่นแบบคาํ ขอผ่าน บรษิ ัทจํากดั (บอจ.1) www.dbd.go.th/register/login.phtml - รายการจดทะเบียน จดั ตงั้ คํ า ข อ รั บ ใ บ อ นุ ญ า ต - แ ก้ ไ ข ต า ม บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ประกอบกิจการพลังงาน 90 ระหว่างคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (รง.3) แ ล ะ ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ รื่ อ ง แ น ว ทางการให้อนุญาตต้ังโรงงานและการอ่ืนเพื่อ ประกอบกิจการพลังงาน - โรงงานท่วั ไปที่ตัง้ ใหมโ่ ดยมกี ารผลติ ไฟฟ้าเพื่อ ใช้ในกระบวนการผลิตของตนเอง หรือเพ่ือใช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ส่ ว น ที่ เ ห ลื อ ใ ช้ หน้า 51
รายการ หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ 30 15 วนั - สง่ เรื่องให้ กกพ. พจิ ารณา - คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานส่งเรื่อง เพอ่ื ขอความเหน็ จากกรมโรงงาน - ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ กิ จ ก า ร พ ลั ง ง า น พจิ ารณาใบอนญุ าต 4.2 ในกรณที ี่ยน่ื คาํ ขอท่ี สกพ. -สาํ นกั กาํ กับกจิ การ - ยน่ื เอกสารตอ่ สกพ. - สกพ. ขอความเห็นประกอบการพิจารณา พลังงาน อนุญาตโรงงานจาก อก. และ อก. เสนอ ความเห็นกลบั กกพ. 60 วนั - สกพ. จัดทําความเห็นเสนอต่อ กกพ. และ กกพ. มีคําวินิฉัยพิจารณาการอนุญาตต้ัง โ ร ง ง า น ภ า ย ใ น 2 0 วั น นั บ จ า ก ไ ด้ รั บ ความเหน็ จาก อก. - สกพ. แจ้งผลภายใน 10 วันนับตั้งแต่วันมี มติ คู่มอื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนํา้
ชือ่ คาํ ขอ/คํารอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร จาํ หนา่ ย ให้ยื่นคาํ ขออนุญาตประกอบกิจการ โรงงานต่อสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดหรือ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม การอนญุ าตให้ระบุ ประเภทหรือลําดับท่ี 88 ลงในใบอนุญาต แ ล ะ เ ม่ื อ มี ก า ร อ นุ ญ า ต แ ล้ ว ใ ห้ แ จ้ ง คณะกรรมการกํากับกจิ การพลงั งานทราบ 90 - ในก รณีที่ ต้อง การ ขยา ยโร งงา นแล ะ เพิ่ ม ประเภทการผลิต ให้ย่ืนเร่ืองต่อสํานักงาน อุ ต ส า ห ก ร ร ม จั ง ห วั ด ห รื อ ก ร ม โ ร ง ง า น อุตสาหกรรม และเมื่อมีการอนุญาตแล้ว ให้ แ จ้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ กิ จ ก า ร พ ลั ง ง า น ทราบ ติดตอ่ ท่กี รมโรงงานอุตสาหกรรม เลขท่ี 75/6 ถ.พระรามท่ี 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2202-4000 โทรสาร. 0-2245-8000 - ก ร ณี ต่ า ง จั ง ห วั ด ติ ด ต่ อ สํ า นั ก ง า น อตุ สาหกรรมจังหวัด หนา้ 52
รายการ หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 5. การขออนุญาตใชพ้ ื้นทกี่ อ่ สร้าง อ ง ค์ ก า ร ป ริ ห า ร ส่ ว น 5.1 กรณี ข อ อ นุญ า ต ต่ อ อ งค์ ก า ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ตําบลกระทรวงหาดไทย ทอ้ งถ่ิน - ผู้ประกอบการย่ืนแบบคําขอ “อนุญาต การนคิ มอุตสาหกรรม กอ่ สร้าง/ดัดแปลงอาคาร”ตอ่ อบต. - อบต. ตรวจสอบเอกสารและออกหนังสือ แจ้งการอนมุ ตั ิ - อบต. อนุมัติ “อนุญาตก่อสร้าง/ดัดแปลง อาคาร” 5.2 กรณพี ้นื ทอี่ ยู่ในการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) - ผ้ปู ระกอบการย่นื แบบคําขอการขออนุญาต ก่ อ ส ร้ า ง จ า ก ก ท ม . อ า ทิ ก า ร แ จ้ ง ช่ื อ ผู้ ควบคุมงานกับวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดการ ดาํ เนนิ การ - ผู้ประกอบการขอใบรับรองการก่อสร้าง อาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือเคลื่อนย้าย อาคาร กทม. อนุมัติ ”อนุญาตก่อสร้าง/ดัดแปลง คู่มือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังนํา้
ช่ือคาํ ขอ/คําร้อง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร คํา ข อ อ นุญ า ตก่ อ สร้ า ง 45 ติดต่อท่ี องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นท่ี อาคาร (ข.1) ทจ่ี ะก่อสร้างโรงงาน คําขอรับใบรับรองการ 45 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 618 ก่อสร้างอาคาร ดัดแปลง ถนนนิคมมักกะสนั แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี อาคาร หรือเคล่ือนย้าย กรงุ เทพ 10400 อาคาร (แบบ กทม.4) โทรศัพท์ : 0-2253-0561 โทรสาร : 0-2253- 4086 http://www.ieat.go.th หนา้ 53
รายการ หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ อาคาร” -กฟน. กฟภ .กฟผ. 6-7 การขอจาํ หน่ายไฟฟ้าและสญั ญาซื้อขายไฟฟา้ - ผู้ประกอบการยื่นแบบคําขอจําหน่ายไฟฟ้า และการเช่ือมโยงระบบไฟฟ้า ณ ท่ีทําการ สํานัก งานเ ขต ขอ ง ก ฟน.ห รือท่ีทํ ากา ร สาํ นักงานจังหวัดของ กฟภ - การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายพิจารณาเอกสารรับ ซ้ือไฟฟ้าและแจ้งผล พร้อมทั้งรายละเอียด ค่าใช้จ่ายเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 45 วัน นับจากวันท่ีการไฟฟ้า ฝ่ายจําหน่าย ไดร้ บั ข้อมลู ประกอบการพิจารณาครบถว้ น - ผู้ประกอบการต้องชําระค่าใช้จ่ายและทํา สั ญ ญ า แ ล ะ ซ้ื อ ข า ย ไ ฟ ฟ้ า กั บ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ภายใน 60 วัน นบั ตั้งวนั ไดร้ บั แจง้ ผล 8 ใบอนญุ าตผลติ พลังงานควบคมุ ก่อสร้างโรงงานและ -ก ร ม พั ฒ น า พ ลั ง ง า น คู่มือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้าํ
ชื่อคาํ ขอ/คํารอ้ ง/ วัน หมายเหตุ เอกสาร คําขอจําหน่ายไฟฟ้าและ 105 ตดิ ต่อ กฟผ. การเช่ือมโยงระบบไฟฟ้า เลขท่ี 53 หมู่ 2 ถ.จรัญสนิทวงศ์ ตําบลบาง กรวย อําเภอบางกรวย นนทบุรี 11130 โทร 0 2436 0000 สามารถดาวน์โหลดเอกสารไดท้ ่ี http://www.ppa.egat.co.th/Sppx/a4.html ติดต่อ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (สาํ นักงานใหญ)่ แผนกวางแผนแหลง่ ผลิตไฟฟา้ โทร 0-2590-9733 - แผนก SPP โทร 0-2590-9743 - แผนก VSPP โทร 0-2590-9753 - แผนกสัญญาซื้อขายไฟฟ้า โทร 0-2590- 9763 สามารถดาวน์โหลดเอกสารไดท้ ี่ http://www.pea.co.th/vspp/vspp.html ะตดิ ตัง้ เคร่ืองจักร คําขอรับใบอนุญาตผลิต 60 ขนาดต้ังแต่ 200-1000 kVA ให้ พพ.พิจารณา หนา้ 54
รายการ หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ - ผู้ประกอบการย่ืนคําขอ “ใบอนุญาตให้ผลิต ท ด แ ท น แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ พลังงานควบคมุ ” แก่ พพ.หรอื สกพ. พ ลั ง ง า น ก ร ะ ท ร ว ง - พ พ . ต ร ว จ ส อ บ ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ พลังงาน ป้องกัน -สํ า นั ก กํ า กั บ กิ จ ก า ร - พพ. อนุมัตใิ บอนญุ าตให้ผลิตพลงั งานควบคุม พลงั งาน 9-10 ใบอนญุ าตประกอบกจิ การไฟฟา้ -สํ า นั ก กํ า กั บ กิ จ ก า ร - ผู้ประกอบการเตรียมเอกสารประกอบแยก พลังงาน ประเภทตามใบอนญุ าต - สกพ. ตรวจสอบความถกู ต้องของเอกสาร - ส ก พ . เ ส น อ ค ว า ม เ ห็ น แ ก่ ก ก พ . พิ จ า ร ณ า เอกสาร - กกพ. พิจารณาออกใบอนุญาต “ใบประกอบ กจิ การไฟฟ้า” คู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นํา้
ช่ือคาํ ขอ/คําร้อง/ วัน หมายเหตุ เอกสาร พลงั งานควบคุม (พค.1) แต่ในกรณีท่ีขนาดมากกว่า 1000 kVA สกพ. เปน็ ผ้ตู รวจสอบและส่งให้ พพ.เป็นผู้เหน็ ชอบ สามารถ ดาวน์โหลดเอกสารได้ท่ี http://www.dede.go.th ติดต่อขอรายละเอียดเพิม่ เตมิ ที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลงั งาน เลขท่ี 17 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศพั ท์ 0-2223-0021-9 ตอ่ 1411 ใบอนุญาตประกอบ 75 ติดตอ่ ขอรายละเอียดเพิม่ เติมท่ี กิจการไฟฟ้า 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ช้ัน 19 ถนนพญาไท ประกอบด้วย แขวงปทมุ วัน เขตปทุมวนั กรุงเทพฯ 10330 1. ใบอนญุ าตผลติ ไฟฟ้า โทรศัพท์ : 0 2207 3599 , (สกพ01-1) โทรสาร : 0 2207 3502 , 0 2207 3508 2. ใบอนุญาตระบบส่ง สามารถ ดาวนโ์ หลดเอกสารไดท้ ่ี ไฟฟ้า (สกพ01-2) http://www2.erc.or.th/Form1.html 3 . ใ บ อ นุ ญ า ต ร ะ บ บ หนา้ 55
รายการ หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ - ส ก พ . แ จ้ ง ชํ า ร ะ ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม พ ร้ อ ม อ อ ก ใบอนุญาตแก่ผปู้ ระกอบการ 11-12 การไฟฟ้าตรวจสอบระบบพร้อมออกผลการ - รบั รองการตรวจคณุ ภาพไฟฟ้า เ มื่ อ ทํ า สั ญ ญ า แ ล ะ ติ ด ตั้ ง ร ะ บ บ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ใ ห้ ผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้าแจ้งความประสงค์จะจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ การ ไฟฟ้าจะเข้าไปตรวจสอบภายใน 15 วนั - การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายจะตรวจสอบการเช่ือมโยง ระบบไฟฟ้า และ อุปกรณ์ที่ติดตั้งว่าเป็นไปตาม มาตรฐานที่กําหนดให้แล้วเสร็จภายใน 15วันยกเว้น กรณีท่ีผู้ผลิตไฟฟ้าเป็นผู้ใช้ไฟรายใหม่ให้การไฟฟ้า ฝ่ายจําหน่ายดําเนินการตามระเบียบปฏิบัติของการ ไฟฟา้ ฝา่ ยจําหน่ายภายใน 30 วัน คู่มอื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นํ้า
ชอื่ คาํ ขอ/คําร้อง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร จําหน่ายไฟฟ้า (สกพ01-3) 4. ใบอนุญาตจําหน่าย ไฟฟา้ (สกพ01-4) 5 . ใ บ อ นุ ญ า ต ค ว บ คุ ม ระบบไฟฟา้ (สกพ01-5) 45 - หน้า 56
รายการ หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ - การไฟฟา้ แจ้งวันเรมิ่ รับซ้ือไฟฟา้ เชิงพาณิชย์ (COD) -สาํ นกั นโยบายและ 13-14 รับเงนิ ค่าขายกระแสไฟฟา้ แผนฯกระทรวง หมายเหตุ : โครงการที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมกําหนดต้องจัดทํารายงานผลกระทบ และส่งิ แวดล้อม ดา้ นสิง่ แวดล้อม (EIA,IEE) หมายเหตุ : ระยะเวลาไม่รวมขั้นตอนการรบั ฟังความคดิ เห็นจากประชาชนและจะนบั ต คูม่ ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นํ้า
ชื่อคําขอ/คํารอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร - ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า 180- (กรณีที่สรา้ งโรงไฟฟ้ามีขนาดเกนิ 10 MW) ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม 365 ตัง้ แต่ได้รับเอกสารครบถ้วน หน้า 57
ภาคผนวก การตรวจสอบผลกระทบด้านปา่ ไมแ้ ละช้นั คณุ ภาพล่มุ น้าํ 4 การพิจารณาที่ต้ังและองค์ประกอบโครงการในด้านป่าไม้ และชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า โดยแบ่งโครงการเป็น 7 ประเภท ตามตําแหน่งที่ต้ังฝ่ายและองค์ประกอบโครงการ และได้คัดเลือกโครงการท่ีมีที่ต้ังไม่อยู่ในพื้นที่ ลุ่มนํ้าชั้นที่ 1 หรืออยู่ในพื้นท่ีป่าอนุรักษ์เพ่ิมเติม พ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า และพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ ไป สาํ รวจโครงการในภาคสนาม ซึ่งรายละเอียดการแบ่งประเภทโครงการมดี ังนี้ 1. การตรวจสอบขอ้ จํากัดของพืน้ ทดี่ า้ นป่าไม้ ในการตรวจสอบของพื้นท่ีพัฒนาโครงการกับการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ ในพ้ืนท่ีป่า สงวนแห่งชาตขิ องกรมป่าไม้ แบ่งออกเปน็ 3 พื้นท่ี ดงั นี้ 1.1 พื้นท่ีป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) เป็นพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติท่ีกําหนดไว้เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน สิง่ แวดล้อม ดนิ นํา้ พันธ์ุพชื และพนั ธ์ุสัตว์ท่ีมีคุณค่าหายาก เพื่อการป้องกันภัยธรรมชาติอันเกิด จากน้ําท่วมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้งเพื่อประโยชน์ในด้านการศึกษา การวิจัย นันทนาการของประชาชน และความมน่ั คงของชาติ แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือ (1) พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี เป็นพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติท่ีได้ ประกาศเป็นพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้องกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติไปแลว้ พนื้ ท่ลี ักษณะนี้ ได้แก่ (1.1) พ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า ท่ีได้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติ สงวนและค้มุ ครองสตั วป์ ่า พ.ศ.2503 (1.2) พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ ท่ีได้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติอุทยาน แห่งชาติ พ.ศ.2504 (1.3) พื้นท่ีลุ่มนํ้าช้ันที่ 1 ตามผลการกําหนดชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า โดยสํานักงานคณะกรรมการ ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ตามมติคณะรฐั มนตรี (1.4) พ้ืนที่เขตอนุรักษ์ป่าชายเลน ตามผลการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ท่ีดินในพื้นท่ีป่า ชายเลนประเทศไทย ตามมติคณะรฐั มนตรี (2) พนื้ ท่ีปา่ อนรุ กั ษเ์ พ่มิ เตมิ เปน็ พ้นื ท่ีป่าสงวนแห่งชาติที่มีสภาพป่าสมบูรณ์หรือมีศักยภาพเหมาะสม ตอ่ การอนุรักษ์ธรรมชาติ เพอื่ รักษาไวซ้ ง่ึ ความสมดุลของธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ (2.1) พื้นท่ีป่าที่มีสภาพป่าสมบูรณ์ ตลอดจนพ้ืนที่ป่าที่สมควรสงวนไว้เพ่ือรักษา สภาพแวดล้อมและระบบนเิ วศน์ 4 รายงานฉบบั สมบรู ณ์ การศึกษาจดั ทําแผนหลกั การพัฒนาโครงการไฟฟา้ พลงั น้ําระดบั หมบู่ ้าน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์ พลังงาน, กุมภาพันธ์ 2552 คู่มอื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นาํ้ หนา้ 58
(2.2) พ้ืนท่ีป่าที่มีความเหมาะสมต่อการสงวนไว้เพ่อื เป็นสถานที่ศกึ ษาวจิ ัย (2.3) พื้นท่ีป่าท่หี ้ามมใิ หบ้ ุคคลเข้าไปหรอื อยู่อาศัยตามแนวชายแดน (2.4) พืน้ ที่ป่าทีเ่ ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะของทอ้ งถ่นิ (2.5) พ้ืนที่ป่า ซึ่งเป็นเขตท่ีตั้งแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม และรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2518 (2.6) พื้นท่ีป่า ซึ่งกําหนดเป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุและพพิ ิธภัณฑส์ ถานแหง่ ชาติ พ.ศ.2504 1.2 พ้ืนที่ป่าเพ่ือเศรษฐกิจ (โซน E) เป็นพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติที่กําหนดไว้เพื่อผลิตไม้และของป่า รวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกําหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้ําและการ จําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนที่ป่าชายเลน พื้นที่เพื่อการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ และ พื้นท่ีประสานการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากรป่าไม้กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรแร่และทรัพยากรพลังงาน เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและความ ม่ันคงของชาติ ตลอดท้งั ตอ้ งไม่อยูใ่ นหลกั เกณฑท์ ่ีจาํ แนกให้เป็นเขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ พ้ืนที่ ลักษณะน้ี ได้แก่ พ้ืนที่พัฒนาป่าธรรมชาติ พื้นท่ีพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ พ้ืนท่ีพัฒนาตามหลักวน ศาสตร์ชมุ ชน พนื้ ทพ่ี ัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอ่นื ๆ 1.3 พ้ืนท่ีป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A) เป็นพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติท่ีมีสมรรถนะที่ดิน เหมาะสมต่อการเกษตร หรือมีศักยภาพสูงในการพัฒนาด้านการเกษตร ตามผลการจําแนก สมรรถนะท่ีดินของกรมพัฒนาท่ีดิน รัฐสามารถพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อีกทั้งต้องไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะจําแนกให้เป็นเขตพื้นท่ีป่าเพ่ือการอนุรักษ์ และ พืน้ ทป่ี ่าเพือ่ เศรษฐกิจ พนื้ ท่ีลักษณะนี้ ไดแ้ ก่ (1) พน้ื ที่ป่าที่มสี มรรถนะของดินเหมาะสมตอ่ การเกษตร (2) พน้ื ท่เี หมาะสมต่อการเกษตร ตามนัยมตคิ ณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกําหนดชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า และการจาํ แนกเขตการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินในพนื้ ท่ีป่าชายเลน 2. การตรวจสอบข้อจํากัดของพนื้ ที่ด้านชน้ั คณุ ภาพลมุ่ นํ้า ในการตรวจสอบพื้นท่ีพัฒนาโครงการกับการจําแนกชั้นคุณภาพลุ่มนํ้าตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ สามารถวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินท่เี หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมท้ังในและ นอกบรเิ วณลุ่มนาํ้ แบ่งออกเป็น 5 ชนั้ ดงั น้ี 2.1 พื้นที่ลุ่มน้ําช้ันที่ 1 เป็นพ้ืนที่ภายในลุ่มนํ้าท่ีจะต้องสงวนรักษาไว้เป็นพ้ืนท่ีต้นนํ้าลําธารโดยเฉพาะ เน่ืองจากมีลักษณะและคุณสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการเปล่ียนแปลงการใช้ ท่ดี ินได้งา่ ยและรุนแรง จึงควรต้องสงวนรักษาไวใ้ ห้เปน็ พ้นื ท่ีป่าต้นน้ําลําธารและเป็นทรัพยากรป่า ไมข้ องประเทศเพยี งประการเดียว แบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั คือ ค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นาํ้ หนา้ 59
(1) พ้ืนท่ีลุ่มน้ําช้ันที่ 1 เอ เป็นบริเวณท่ียังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ.2525 ซ่ึง จําเปน็ ตอ้ งสงวนรักษาไวเ้ ปน็ พ้ืนท่ตี ้นน้ําลาํ ธารและเปน็ ทรพั ยากรป่าไม้ของประเทศ (2) พื้นที่ลุ่มน้ําชั้นที่ 1 บี เป็นบริเวณที่สภาพป่าส่วนใหญ่ในพื้นท่ีได้ถูกทําลาย ดัดแปลง หรือ เปล่ียนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินในรูปแบบอ่ืนก่อนหน้าปี พ.ศ.2525 และการใช้ท่ีดิน หรอื พัฒนารูปแบบตา่ งๆ ที่ดาํ เนินการไปแล้วจะต้องมมี าตรการควบคมุ เป็นพเิ ศษ 2.2 พื้นท่ีลุ่มน้ําชั้นท่ี 2 เป็นพ้ืนท่ีภายในลุ่มนํ้าท่ีมีคุณสมบัติเหมาะต่อการเป็นต้นน้ําลําธารในระดับ รองลงมา ซ่งึ อาจใช้เป็นป่าเพือ่ การเศรษฐกิจ รวมทั้งสามารถนําไปใชป้ ระโยชน์เพ่อื กิจการท่ีสําคัญ เช่น การทาํ เหมืองแร่ โดยใหห้ ลีกเล่ยี งการใชท้ ่ีดินเพือ่ กิจกรรมทางดา้ นเกษตรกรรมอย่างเดด็ ขาด 2.3 พ้นื ทลี่ ่มุ น้ําชั้นท่ี 3 เป็นพ้นื ท่ภี ายในล่มุ น้ํามีลักษณะเป็นทด่ี อนสามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ ัง้ กิจการป่า ไม้ เหมืองแร่ และปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น แต่ต้องมีการควบคุมวิธีการปฏิบัติอย่าง เข้มงวดใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการดนิ และน้ํา 2.4 พ้ืนท่ีลุ่มนํ้าช้ันท่ี 4 เป็นพื้นที่ภายในลุ่มนํ้าที่มีสภาพป่าไม้ที่ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเพ่ือใช้ประโยชน์ สําหรับกิจการพืชไรเ่ ป็นส่วนมาก สภาพพ้ืนท่ีเป็นเนินเขาหรือท่ีราบขั้นบันได หรือช่วงต่อระหว่าง ที่ราบลมุ่ กับเชงิ เขา สามารถทาํ การเกษตรกรรม โดยมีการวางแผนการใช้ท่ีดินตามมาตรการดินและนา้ํ 2.5 พ้ืนท่ีลุ่มน้ําชั้นท่ี 5 เป็นพื้นท่ีลุ่มน้ําท่ีมีลักษณะเป็นท่ีราบหรือที่ลุ่มหรือเนินลาดเอียงเล็กน้อย สามารถใช้ประโยชน์ดา้ นการเกษตรกรรม โดยเฉพาะทํานาและกิจกรรมอื่นๆ ในกรณีท่ีจะใช้ที่ดิน เพือ่ อุตสาหกรรมใหห้ ลีกเล่ียงใช้พ้ืนทีท่ มี่ ีศักยภาพการเกษตรกรรมสูง มาตรการการใชท้ ี่ดนิ ในลมุ่ นาํ้ สรปุ ไดด้ ังนี้ o พ้ืนที่ลุ่มน้ําชั้นท่ี 1 เอ มติคณะรัฐมนตรีกําหนดห้ามมิให้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพ้ืนที่ป่าไม้เป็น รูปแบบอ่ืนอย่างเด็ดขาดทกุ กรณี ทง้ั นเ้ี พอ่ื รักษาไว้เปน็ พน้ื ท่ตี ้นนา้ํ o พนื้ ท่ลี ุ่มนาํ้ ชั้นที่ 1 บี มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ในกรณีท่ีต้องมีการก่อสร้างถนนผ่าน หรือการทํา เหมอื งแร่ หน่วยงานรับผิดชอบจะต้องควบคุมการชะล้างพังทลายของดิน และกรณีส่วนราชการใดมี ความจาํ เป็นทตี่ อ้ งใช้ที่ดินอยา่ งหลีกเลย่ี งไม่ได้ ตอ้ งจัดทาํ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม ของโครงการเสนอตอ่ คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาตเิ พือ่ พิจารณาต่อไป o พื้นที่ลุ่มนํ้าช้ันที่ 2 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พื้นท่ีในกิจกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ แต่ต้องควบคุม วิธีการปฏิบัติในการใช้ที่ดินอย่างเข้มงวดกวดขัน และการใช้ท่ีดินเพ่ือกิจกรรมทางด้านการ เกษตรกรรม ควรหลีกเลยี่ งอย่างเด็ดขาด o พ้ืนท่ีลุ่มน้ําชั้นที่ 3 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พ้ืนที่ในกิจกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ กสิกรรม หรือ กจิ กรรมอื่นๆ แต่ต้องมกี ารควบคุมวธิ ีการปฏิบัติอยา่ งเข้มงวดให้เป็นไปตามหลกั อนุรกั ษด์ ินและน้าํ o พ้ืนที่ลุ่มน้ําชั้นที่ 4 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พ้ืนที่ทุกกิจกรรม แต่หากใช้พ้ืนท่ีเพื่อการ เกษตรกรรมตอ้ งเปน็ บริเวณทม่ี ีความลาดชันไม่เกิน 28 เปอร์เซ็นต์ และต้องมีการวางแผนใชท้ ่ดี นิ คู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนาํ้ หน้า 60
ตามมาตรการการอนุรกั ษ์ดนิ และน้ํา o พื้นทล่ี ุม่ น้ําชั้นท่ี 5 มติคณะรฐั มนตรีกําหนดให้ใช้พื้นทไี่ ด้ทุกกจิ กรรม 3. เกณฑก์ ารพิจารณาดา้ นป่าไม้และชัน้ คณุ ภาพลมุ่ น้ําเพื่อจัดประเภทโครงการ การพิจารณาขอ้ จาํ กัดดา้ นการใช้พนื้ ที่ของโครงการไฟฟ้าพลังน้ําระดับหมู่บ้าน จะพิจารณาข้อมูลการใช้ ประโยชน์ที่ดินป่าไม้และช้ันคุณภาพลุ่มน้ํา โดยเน้นเฉพาะพื้นท่ีป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) และพื้นท่ี ลุ่มนํ้าช้ันที่ 1 เอ และ 1 บี เนื่องจากมีข้อกําหนดทางกฎหมายท่ีจะต้องปฏิบัติเพื่อขอใช้ประโยชน์ใน พืน้ ที่สาํ หรับโรงไฟฟา้ พลงั น้าํ ระดับหมบู่ า้ น ดังน้ี พื้นท่ี มาตรการการขอใช้ หนว่ ยงานพจิ ารณา พ้นื ที่ 1. พืน้ ทีป่ ่าเพ่อื การอนุรักษ์ (โซน C) 1.1 พน้ื ที่ปา่ เพอื่ การอนรุ ักษ์ตาม กฎหมายและมติคณะรฐั มนตรี - พื้นท่เี ขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ การจดั ทาํ ข้อมลู ด้าน คณะกรรมการคุ้มครองสัตว์ป่าเสนอความเห็น 1/ สง่ิ แวดลอ้ ม (IEE) และคณะรฐั มนตรีใหค้ วามเหน็ ชอบ - พ้นื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติ 1/ การจัดทําข้อมลู ด้าน คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็น สง่ิ แวดลอ้ ม (IEE) และคณะรัฐมนตรใี ห้ความเหน็ ชอบ 1.2 พ้นื ที่ป่าอนุรักษเ์ พ่ิมเตมิ 2/ - วงเงินค่าก่อสรา้ งไม่เกิน 50 รายการข้อมลู กรมป่าไม้เสนอความเห็น และกระทรวง ล้านบาท ทางด้านสิง่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้ความ เหน็ ชอบ 2. พน้ื ที่ลุ่มน้ําชั้นท่ี 1 2.1 พนื้ ท่ลี มุ่ นา้ํ ชน้ั ที่ 1 เอ การศึกษาผลกระทบ คณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาตเิ สนอ ส่งิ แวดล้อม (EIA) ความเห็น และคณะรัฐมนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบ 2.2 พื้นทีล่ มุ่ นํา้ ช้นั ท่ี 1 บี การศึกษาผลกระทบ คณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติเสนอ สงิ่ แวดลอ้ ม (EIA) ความเห็น และคณะรัฐมนตรีให้ความเหน็ ชอบ หมายเหตุ : 1/ เป็นขอ้ กาํ หนดที่ต้องดาํ เนินการในกรณีที่โครงการมีความจําเป็นต้องใช้พ้ืนท่ี และเนื่องจากลักษณะ การดาํ เนนิ งานของโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าระดับหมู่บ้านก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระดับ ต่าํ ดังนั้นการจัดทาํ ขอ้ มูลดา้ นสิ่งแวดล้อมจึงเสนอให้จัดทํารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม เบื้องตน้ 2/ เน่ืองจากโครงการมีวงเงินค่าก่อสร้างไม่เกิน 50 ล้านบาท (ไม่รวมค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า) ดังนั้นจึง พิจารณาเฉพาะกรณนี ี้ จากข้อมูลข้างต้น ที่ปรึกษาได้นํามาเป็นหลักเกณฑ์การพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับ กอ่ สร้างโครงการไฟฟ้าพลงั นาํ้ ระดับหม่บู ้าน ดงั น้ี คมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังน้าํ หนา้ 61
ประเภท พื้นทป่ี า่ เพอื่ การอนุรกั ษ์ พื้นท่ีลมุ่ นํ้าช้นั ท่ี 1 ระดับการศึกษาด้าน โครงการ ตามกฎหมาย/ พื้นที่ปา่ อนุรกั ษ์ พื้นท่ลี มุ่ นา้ํ พื้นท่ลี มุ่ นาํ้ สิ่งแวดล้อม มตคิ ณะรฐั มนตรี เพิ่มเตมิ ช้ันท่ี 1 เอ ชนั้ ที่ 1 บี 1 ไม่ตอ้ งศกึ ษา 2 ×× ×× รายการขอ้ มูล ×/ ×× ทางด้านสงิ่ แวดล้อม 3 / ×,/ × × IEE 4 × ×,/ × / EIA 5 / ×,/ × / EIA 6 × ×,/ / × EIA 7 / ×,/ / × EIA หมายเหตุ : × หมายถึง ไมอ่ ยู่ในพ้ืนท่ี / หมายถงึ อยใู่ นพ้นื ท่ี ท้ังนี้ ในการแบ่งประเภทของโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าระดับหมู่บ้านได้พิจารณาท่ีต้ังฝ่ายและองค์ประกอบ ตามขอ้ จํากัดด้านสง่ิ แวดล้อมเป็น 7 ประเภท ดังน้ี ประเภท ตาํ แหน่งทต่ี ัง้ องคป์ ระกอบโครงการ การศึกษาดา้ นสง่ิ แวดล้อม 1 ไม่อย่ใู นพน้ื ท่ีปา่ เพอื่ การอนรุ ักษแ์ ละไม่อยูใ่ นพ้นื ทลี่ ุ่มน้าํ ช้ันท่ี 1 ไม่ต้องศึกษาด้านส่ิงแวดลอ้ ม 2 อยู่ในพื้นที่ป่าอนุรักษเ์ พิ่มเติม จัดทาํ รายการขอ้ มูลทางด้าน 3 อยู่ในพื้นท่เี ขตรักษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่า/ พ้นื ที่อุทยานแหง่ ชาติ ส่งิ แวดล้อม 4 อยใู่ นพน้ื ที่ลุ่มนา้ํ ช้ันท่ี 1 บี จัดทาํ IEE 5 อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ จัดทํา EIA ลุ่มนํา้ ช้นั ท่ี 1 บี จัดทาํ EIA 6 อยใู่ นพน้ื ที่ลุ่มนา้ํ ช้ันท่ี 1 เอ 7 อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ พื้นที่อุทยานแห่งชาติ และพ้ืนท่ี จดั ทํา EIA ลุม่ น้ําชัน้ ที่ 1 เอ จดั ทํา EIA ประเภท 1 หมายถึง โครงการซึ่งมีท่ีต้ังองค์ประกอบของโครงการไม่อยู่ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ พื้นที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม (โซน C) พ้ืนท่ีลุ่มนํ้าช้ันท่ี 1 เอ และ 1 บี สามารถดําเนินการก่อสร้างได้โดยไม่ต้องมีการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และไม่มีข้อจํากัดด้านการใช้ พ้ืนท่ี อย่างไรก็ตาม ถ้าพ้ืนที่โครงการต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งอาจเป็นพ้ืนที่ป่าเพื่อ เศรษฐกิจ (โซน E) หรือพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A) หรือถ้าเป็นพื้นท่ีป่าม้าตาม พระราชบญั ญัติป่าไม้ พทุ ธศักราช 2484 (ซ่ึงสามารถตรวจสอบสถานภาพของพื้นท่ีได้ โดยย่ืนเรื่อง ไปยังสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ในพ้ืนท่ีที่โครงการต้ังอยู่) ก่อน ดาํ เนนิ การก่อสร้าง เจ้าของโครงการ (หน่วยงานของรัฐ) จะต้องจัดเตรียมเอกสารเพ่ือใช้ในการยื่น ค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนาํ้ หนา้ 62
คาํ ขอใชพ้ ื้นท่ี โดยมีขั้นตอนการปฏิบตั ิในการขอใช้พ้นื ที่ ดังแสดงในรูปที่ 2.5-1 ท้ังน้ีถ้าเป็นพ้ืนที่ป่า สงวนแห่งชาติ จะสามารถก่อสร้างโครงการได้เมื่อได้รับอนุมัติจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แต่ถ้าเป็นพ้ืนที่ป่าไม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 จะสามารถ ก่อสร้างโครงการได้หลังจากได้รบั อนุมตั จิ ากกรมป่าไม้ ประเภท 2 หมายถงึ โครงการซ่ึงมีที่ต้งั องคป์ ระกอบของโครงการอยใู่ นพน้ื ทปี่ า่ อนุรกั ษเ์ พ่ิมเติมและ มีวงเงินค่าก่อสร้างไม่เกิน 50 ล้านบาท (ไม่รวมค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า) ซ่ึงต้องจัดทํารายการข้อมูล ทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Information) ตามแบบฟอร์มที่กรมป่าไม้กําหนด โดย เจ้าของโครงการต้องส่งข้อมูลดังกล่าพร้อมคําขอใช้พื้นที่ให้สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมในจังหวัดท่ีโครงการตั้งอยู่หรือจัดส่งให้กรมป่าไม้ โดยกรมป่าไม้จะพิจารณาข้อมูล ดังกล่าวและให้ความเห็นและเสนอต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ความ เหน็ ชอบ ประเภท 3 หมายถงึ โครงการซ่ึงมที ตี่ งั้ องค์ประกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า/ พื้นที่อุทยานแห่งชาติ เป็นโครงการที่ต้องจัดทํารายงานข้อมูลด้านส่ิงแวดล้อม คือ การศึกษา ผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น (IEE) เนื่องจากลักษณะการดําเนินงานของโครงการไฟฟ้าพลังนํ้า ระดับหมู่บ้านก่อให้เกิดผลกระทบส่ิงแวดล้อมในระดับตํ่า จึงเสนอให้จัดทํา IEE โดยเจ้าของ โครงการต้องเสนอรายงานดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช โดยมีการขอความ คิดเห็นรายงานฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือเป็น ข้อมูลให้คณะกรรมการคุ้มครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิก ถอนพืน้ ท่ใี นเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตว์ป่าหรือเขตอุทยานแห่งชาติ โดยมีคณะรัฐมนตรใี ห้ความเห็นชอบ ประเภท 4 หมายถึง โครงการซ่ึงมีที่ตั้งองค์ประกอบของโครงการอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ําช้ันที่ 1 บี ซ่ึง ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กําหนดให้โครงการทุกประเภทที่อยู่ ในพ้ืนท่ีลุ่มน้ําช้ันท่ี 1 บี ต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของ โครงการต้องเสนอรายงานดังกล่าวให้สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้คระกรรมการผู้ชํานาญการพิจารณาให้ความคิดเห็น จากน้ันเสนอเร่ืองเพื่อขอ ความเห็นจากคณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ ประเภท 5 หมายถึง โครงการซงึ่ มที ่ตี ง้ั องคป์ ระกอบของโครงการอยู่ในพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ และพื้นท่ีลุ่มนํ้าชั้นท่ี 1 บี ซ่ึงตามประกาสกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่งิ แวดล้อม กาํ หนดใหโ้ ครงการทกุ ประเภทที่อย่ใู นพื้นท่ีลุม่ น้ําชั้นที่ 1 บี ต้องจัดทํารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงานฯ ดังกล่าวให้ สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้คณะกรรมการผู้ชํานาญการ พิจารณาให้ความคิดเห็น จากน้ันเสนอเร่ืองเพ่ือขอความเห็นจากคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม คู่มอื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังน้ํา หน้า 63
แห่งชาติ และเน่ืองจากอยู่ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า /เขตอุทยานแห่งชาติ จึงเสนอรายงาน ดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช โดยมีการขอความคิดเห็นรายงานฯ จาก สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นข้อมูลให้คณะกรรมการ คุ้มครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิกถอนพ้ืนท่ีในเขตรักษา พนั ธ์ุสตั ว์ปา่ หรือเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยมคี ณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบ ประเภท 6 หมายถึง โครงการซ่ึงมีท่ีตั้งองค์ประกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าชั้นที่ 1 เอ เป็น โครงการทตี่ อ้ งจัดทํารายงานการวิเคราะหส์ งิ่ แวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงาน ดังกล่าวให้สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยแบ่งการพิจารณา รายงานฯออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ ส่งให้กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้คณะอนุกรรมการการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ําให้ความเห็นต่อการขอใช้พื้นที่ลุ่ม น้ําชั้นท่ี 1 เอ และส่งให้กองวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม เพื่อให้คณะกรรมการผู้ชํานาญการให้ ความคิดเห็นต่อรายงานฯ และสรุปความคิดเห็นให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอ ความเห็นขอผ่อนผันใชพ้ น้ื ท่ลี มุ่ นํ้าชน้ั ท่ี 1 เอ โดยมคี ณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบ ประเภท 7 หมายถงึ โครงการซึง่ มที ตี่ ้งั องค์ประกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ และพ้ืนท่ีลุ่มน้ําช้ันท่ี 1 เอ เป็นโครงการท่ีต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ส่ิงแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงานดังกล่าวให้สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม โดยแบ่งการพิจารณารายงานฯ ออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ ส่ง ใหก้ องประสานการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เพอื่ ให้คณะอนุกรรมการการจัดการ ทรัพยากรลุ่มน้ําให้ความเห็นต่อการขอใช้พ้ืนท่ีลุ่มน้ําช้ันที่ 1 เอ และส่งให้กองวิเคราะห์ผลกระทบ ส่ิงแวดล้อม เพือ่ ให้คณะกรรมการผู้ชํานาญการให้ความคิดเห็นต่อรายงานฯ และสรุปความคิดเห็น ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอความเห็นขอผ่อนผันใช้พื้นที่ลุ่มนํ้าช้ันที่ 1 เอ โดยมี คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และเน่ืองจากอยู่ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ เขตอุทยาน แห่งชาติ จึงเสนอรายงานดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยมีการขอความ คิดเห็นรายงานฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น ข้อมูลให้คณะกรรมการคุ้มครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิก ถอนพ้นื ที่ในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ หรอื เขตอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยมคี ณะรฐั มนตรใี ห้ความเห็นชอบ ทั้งน้ี ในการศึกษาโครงการจะคัดเลือกตําแหน่งที่ตั้งองค์ประกอบโครงการไฟฟ้าระดับหมู่บ้านประเภท 1 ถึง 3 ไปจดั ลําดับความเหมาะสม เพื่อการสํารวจโครงการเบ้ืองต้น เนื่องจากเป็นโครงการที่สามารถนําไป ก่อสรา้ งโดยไม่มขี ้อจาํ กดั ดา้ นส่ิงแวดล้อม (ประเภท 1) หรอื เป็นโครงการทมี่ ีข้นั ตอนและระยะเวลาในการขอ อนุญาตใช้พ้ืนท่ีทางด้านสิ่งแวดล้อมไม่มากนัก (ประเภท 2 และ 3) โดยรายละเอียดเก่ียวกับท่ีต้ังและ องคป์ ระกอบโครงการไฟฟา้ ระดบั หมบู่ ้านประเภทต่าง ๆ จะไดน้ าํ เสนอในลาํ ดบั ต่อไป คูม่ ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั น้ํา หนา้ 64
รปู แสดงข้นั ตอนการปฏบิ ตั ใิ นการขอใช้พื้นทป่ี า่ ไมใ้ นเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ หน้า 65 และพน้ื ท่ีปา่ ไมต้ ามพระราชบญั ญตั ิปา่ ไม้ พ.ศ. 2484 คู่มอื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนาํ้
การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) EIA หรอื Environmental Impact Assessment เป็นการศึกษาเพอ่ื คาดการณ์ผลกระทบทงั้ ใน ทางบวกและทางลบจากการพฒั นาโครงการหรือกจิ การท่สี ําคญั เพ่ือกําหนดมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข ผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มและใช้ในการประกอบการตัดสินใจพัฒนาโครงการหรือกจิ การ ผลการศึกษาจัดทํา เป็นเอกสาร เรยี กว่า “รายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม” ซ่ึงการดําเนนิ โครงการโรงไฟฟา้ พลงั น้าํ ที่ใชพ้ น้ื ท่ีทค่ี ณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ติเหน็ ชอบใหเ้ ป็นพน้ื ท่ีลุ่มนํา้ ชนั้ 1 จะต้องจดั ทาํ รายงานผลกระทบต่อ ส่งิ แวดลอ้ มเช่นกัน ขน้ั ตอนการทาํ รายงาน EIA 1. ผู้ประกอบการจะต้องทราบกอ่ นว่าโครงการนั้นจะตอ้ งจดั ทํารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบ สิง่ แวดลอ้ มหรือไม่ 2. ว่าจา้ งที่ปรึกษาที่ข้นึ ทะเบยี นเป็นนิติบุคคลผ้มู ีสทิ ธิทํารายงานฯ 3. ผู้ประกอบการส่งรายงานใหส้ ํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (สผ.) โดย สผ. และคณะกรรมการผู้ชาํ นาญการจะใช้เวลาการพิจารณารายงานฯ ตามข้ันตอนท่กี าํ หนดไม่เกิน 75 วนั แต่หากคณะกรรมการฯ มขี อ้ เสนอแนะให้แกไ้ ขเพมิ่ เติม ท่ปี รึกษาจะต้องใชเ้ วลาในการปรบั แก้ และ จัดส่งให้ สผ. และคณะกรรมการฯ พจิ ารณา ซึ่งจะใช้เวลาไมเ่ กิน 30 วัน ติดตอ่ ขอรายละเอยี ดเพิ่มเติมท่ี สาํ นกั วเิ คราะห์ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม โทรศัพท์ :0-2265-6500 ตอ่ 6832, 6834, 6829 ค่มู อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้ํา หนา้ 66
เอกสารอ้างองิ 1. รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาจัดทําแผนหลัก การพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน้ําระดับหมู่บ้าน, กรม พัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กมุ ภาพนั ธ์ 2552 2. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจิ๋วในระดับครัวเรือน, กรม พัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลังงาน, กมุ ภาพันธ์ 2551 3. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการประเมินศักยภาพพลังน้ําขนาดเล็กเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้า, รศ.ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศรี, Water Resources Engineering Research Laboratory (KMUTT-WAREE), มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 4. ไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก พลังงานธรรมชาติ..เพ่ือลดความแตกต่างของสังคม, กรมพัฒนาและส่งเสริม พลงั งาน, กระทรวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดล้อม 5. การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ําขนาดเล็ก, เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน, ดร.นระ คมนามูล, สถาบันวิจัย วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย (วว.), สิงหาคม 2546 6. การประเมินเทคโนโลยีกังหันน้ําเพ่ือผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย, โครงการวิจัยนโยบายเพ่ือสนับสนุนการ พัฒนาและการใชพ้ ลงั งานหมนุ เวียนและการเพิม่ ประสทิ ธิภาพพลังงานในประเทศไทย, บัณฑิตวิทยาลัย ร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสํานักงานกองทุน สนบั สนนุ การวจิ ัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื , ธนั วาคม 2549 7. สํานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน, เวบ็ ไซต์ www.boi.go.th 8. องค์การบริหารจดั การก๊าซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน), เว็บไซต์ www.tgo.or.th 9. http://www.dede.go.th 10. พลังงานน้ํา โอกาสของพลังงานทดแทนไทย, นายธิระศักด์ิ เสภากล่อม, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี ค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนํ้า หนา้ 67
บนั ทึก คู่มือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั น้ํา หน้า 68
ผู้สนใจสามารถขอขอ้ มูลและรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ไดท้ ี่ ศนู ย์บริการวิชาการด้านพลังงานทดแทนโทรศพั ท์ : 0-2223-7474 หรือ สาํ นกั พัฒนาพลงั งานทดแทน กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลงั งาน 17 ถนนพระราม 1 แขวงรองเมอื ง เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 0-2223-0021-9 เว็บไซต์ www.dede.go.th จดั ทาํ เอกสาร โดย บริษัท เอเบลิ คอนซัลแตนท์ จาํ กัด 888/29-32 ถนนนวลจนั ทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท์ 0-2184-2728-32 โทรสาร 0-2184-2734 พมิ พค์ ร้ังท่ี 1 : กนั ยายน 2554
Search