Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ICT for Education

ICT for Education

Published by panitaw, 2017-07-11 22:56:33

Description: จัดทำโดย
ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Keywords: ICT,kmutnb

Search

Read the Text Version

ตอนท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอื่ การศกึ ษา

2บทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพริ ณุ

3 1เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เพือ่ การศึกษา(Information and communications technology for Education)บทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ

4 ขอบเขตเนอ้ื หา บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นวตั กรรมทางการศึกษา 1. บทนำ 2. ขอบขำ่ ยของเทคโนโลยีกำรศึกษำ 3. เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร 4. สอื่ กำรเรยี นกำรสอน 5. ประเภทของส่ือกำรเรยี นกำรสอน 6. บทสรุป 7. เอกสำรอำ้ งองิบทท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ

51. บทนา เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร (Information and Communication Technology:ICT) ตำมแผนแม่บทเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมำยถึงเทคโนโลยีที่เก่ียวกับข่ำวสำรข้อมูล และกำรส่ือสำรนับต้ังแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์หรือประมวลผลกำรรับและกำรส่งขอ้ มูล กำรจัดเกบ็ และกำรนำขอ้ มลู กลับไปใช้ใหม่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมกำรศึกษำ (Educational Innovation) เป็นกำรนำควำมก้ำวหน้ำของวิทยำศำสตร์เทคโนโลยี ท้ังวัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองจักรกลไก รวมทั้งเทคนิควิธีกำรต่ำง ๆ มำใช้ประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน เพ่ือมุ่งหวังให้กำรเรียนกำรสอนเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อกำรเรยี นร้ตู ่อผู้ศกึ ษำ ตำมจุดม่งุ หมำยของกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนและวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ส่ือกำรเรียนกำรสอน (Instructional Media) เป็นตัวกลำงหรือช่องทำงถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ทักษะ ประสบกำรณ์ จำกแหล่งควำมรู้ไปสู่ผู้เรียน และทำให้เกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพเป็นตัวกลำงท่ีช่วยให้กำรสื่อสำรระหว่ำงผู้สอนและผู้เรียนได้รับรู้ข่ำวสำรซึ่งกันและกัน สื่อกำรสอน เป็นส่วนหน่ึงที่ทำให้ผู้เรียนเข้ำใจเน้ือหำของบทเรียนได้รวดเร็วข้ึน ผู้เรียนจะบรรลุจุดประสงค์กำรเรียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพน้ัน ผู้สอนจะต้องมีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญในศำสตร์น้ันๆ และจะต้องมีเทคนิควธิ กี ำรตำ่ งๆ เพือ่ นำสำมำรถถำ่ ยทอดควำมร้แู ละประสบกำรณ์ต่ำงๆ ไปส่ผู ้เู รยี นได้อย่ำงเต็มศกั ยภำพ หรอืมีกำรใช้ส่ือกำรเรียนกำรสอนท่ีน่ำสนใจ ผู้สอนจึงจำเป็นต้องมีควำมรู้ด้ำนกำรรับรู้กำรเรียนรู้กำรส่ือควำมหมำย ควำมสำคัญและควำมหมำยของส่ือในข้ันพื้นฐำนก่อนเพื่อกำรเลือกสื่อกำรเรียนกำรสอนให้เหมำะสมกับเน้ือหำของวิชำ เพ่ือกำรพัฒนำและกำรใช้ส่ือกำรเรียนกำรสอนให้เหมำะสมกับกำรรับรู้ของผเู้ รยี น เพอ่ื ใหก้ ำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนบรรลวุ ตั ถุประสงคท์ ตี่ ้งั ไว้บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ

62. ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศกึ ษา Seel and Richey (1994) ได้กล่ำวถึง ควำมสัมพันธ์ของกำรออกแบบระบบกำรเรียนกำรสอนและสื่อกำรสอน ท่ีสัมพันธ์กับขอบข่ำยทั้ง 5 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ กำรออกแบบ (Design) กำรพัฒนำ(Development) กำรใช้ (Utilization) กำรจัดกำร (Management) และกำรประเมิน (Evaluation)โดยมีรำยละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ีภาพ 1.1 ขอบข่ายของเทคโนโลยกี ารศึกษาตามการศึกษาของ AECT (Seel and Richey, 1994)บทท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอ่ื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพิรณุ

7 1. การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ำยท่ีแสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่ำงท่ีแสดงควำมเชื่อมโยงระหว่ำงหลกั กำรและทฤษฎีพื้นฐำนต่ำงๆ ท่ีจะนำไปสรำ้ งและพฒั นำงำนทำงด้ำนส่ือกำรสอนหรือเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำอย่ำงเป็นรูปธรรม โดยในส่วนขอบข่ำยกำรออกแบบน้ี จะเกี่ยวข้องกับกำรออกแบบในส่วนต่ำง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1.1 กำรออกแบบระบบกำรสอน (Instructional Systems Design) เป็นวิธีกำรจัดกำรท่ีรวมข้ันตอนของกำรสอนประกอบด้วย กำรวิเครำะห์ (Analysis) คือ กระบวนกำรที่กำหนดว่ำต้องกำรให้ผู้เรียนได้รับอะไร เรียนในเนื้อหำอะไร กำรออกแบบ (Design) กระบวนกำรท่ีจะต้องระบุว่ำให้ผู้เรียนเรียนอย่ำงไร กำรพัฒนำ (Development) คือกระบวนกำรสร้ำง ผลิตส่ือวัสดุกำรสอน กำรนำไปใช้(Implementation) คือกำรใช้วัสดแุ ละยทุ ธศำสตรต์ ่ำง ๆ ในกำรสอน และกำรประเมนิ (Evaluation) คือกระบวนกำรในกำรประเมนิ กำรสอน 1.2 กำรออกแบบสำร (Message Design) เป็นกำรวำงแผน เปล่ียนแปลงสำร เน้นทฤษฎกี ำรเรียนท่ีประยุกต์ควำมรู้บนพื้นฐำนของควำมสนใจ กำรรับรู้ ควำมจำ กำรออกแบบสำรมีจุดประสงค์เพื่อกำรสอื่ ควำมหมำยกบั ผู้เรียน 1.3 กลยุทธ์กำรสอน (Instructional Strategies) เน้นที่กำรเลือก ลำดับเหตุกำรณ์ และกิจกรรมในบทเรียน ในทำงปฏิบัติกลยุทธ์กำรสอนมีควำมสัมพันธ์กับสถำนกำรณ์กำรเรียน ผลของปฏิสัมพันธ์น้ีสำมำรถอธิบำยได้โดยโมเดลกำรสอน กำรเลือกยุทธศำสตร์กำรสอนและโมเดลกำรสอนต้องขึ้นอยู่กับสถำนกำรณ์กำรเรียน รวมถึงลักษณะผู้เรียน ธรรมชำติของเนื้อหำวิชำ และจุดประสงค์ของผูเ้ รียน 1.4 ลักษณะผู้เรียน (Learner Characteristics) คือ ลักษณะและประสบกำรณ์เดิมของผูเ้ รียนที่จะมผี ลต่อกระบวนกำรเรยี นกำรสอน กำรเลือก และกำรใช้ยุทธศำสตรก์ ำรสอน 2. การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ำยของกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของส่ือกำรสอนต่ำงๆ โดยนำพื้นฐำนหลักกำรท่ีได้ออกแบบ มำพัฒนำเป็นส่ือท่ีอำศัยคุณลักษณะของส่ือรูปแบบต่ำง ๆ คือ เทคโนโลยีส่ือส่ิงพิมพ์ เทคโนโลยีด้ำนส่ือโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยบี รู ณำกำร โดยมีรำยละเอียดดงั น้ี 2.1 เทคโนโลยีส่ือสิ่งพิมพ์ (Print Technologies) เป็นกำรผลิตหรือส่งสำรในรูปแบบส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือด้ำนวัสดุ เช่น หนังสือ โสตทัศนวัสดุพื้นฐำนประเภทภำพน่ิง ภำพถ่ำย รวมถึงส่ือข้อควำมกรำฟกิ วัสดภุ ำพสิ่งพมิ พ์ ทัศนวสั ดุ ส่ิงเหล่ำน้ีเป็นพืน้ ฐำนของกำรพฒั นำกำรใช้ส่ือวัสดุกำรสอนอื่นๆ 2.2 เทคโนโลยีด้ำนสื่อโสตทัศน์ - โสตทัศนูปกรณ์ ( Audiovisual Technologies)เป็นวิธีกำรในกำรผลิต กำรค้นหำ หรือส่งสำร โดยใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ หรือเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือนำเสนอสำรต่ำงๆ ด้วยเสียง และภำพ โสตทัศนูปกรณ์จะช่วยแสดงสิ่งท่ีเป็นธรรมชำติจริง ควำมคิดทเี่ ปน็ นำมธรรม เพื่อผสู้ อนนำไปใช้ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ์กบั กบั ผู้เรยี น 2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer-based Technologies) เป็นวิธีกำรส่งสำร หรือถ่ำยทอดสำร โดยกำรใช้ไมโครโพเซสเชอร์ เพ่ือรับและส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์บทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพ่ือการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพริ ณุ

8ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เพ่ือกำรบริหำรจัดกำรสอน โทรคมนำคมเพ่ือกำรเรียนกำรสอน กำรส่ือสำรทำงอิเลก็ ทรอนิกส์ กำรเข้ำถึงและใช้แหลง่ ข้อมลู ในระบบเครือขำ่ ย 2.4 เทคโนโลยีบูรณำกำร (Integrated Technologies) เป็นวิธีกำรผลิตและพัฒนำ หรือสง่ ถ่ำยข้อมูลกับส่อื หลำยๆ รูปแบบภำยใตก้ ำรควบคมุ ของคอมพวิ เตอร์ 3. การใช้ (Utilization) เป็นกำรใช้กระบวนกำร ทั้งวิธีกำรเรียนกำรสอน ส่ือกำรสอน และแหล่งทรัพยำกรเพื่อกำรเรยี นกำรสอน ประกอบดว้ ย 3.1 กำรใชส้ ื่อ (Media Utilization) เป็นกระบวนกำรใช้ส่ือ และแหล่งทรัพยำกรเพื่อกำรเรียนกำรสอนตำมกระบวนกำรทผ่ี ่ำนกำรออกแบบกำรสอนไว้ 3.2 กำรแพร่กระจำยนวัตกรรม (Diffusion of Innovations) เป็นกระบวนกำรส่ือควำมหมำย รวมถึงกำรวำงยุทธศำสตร์ หรือจุดประสงค์ให้เกิดกำรยอมรับนวัตกรรมส่ือ และเทคโนโลยีเพือ่ กำรศึกษำ 3.3 วิธีกำรนำไปใช้ และกำรจัดกำร (Implementation and Institutionalization) เป็นกำรใช้ส่ือกำรสอนหรือยทุ ธศำสตรใ์ นสถำนกำรณ์จริงอย่ำงตอ่ เน่ือง และใช้นวตั กรรมกำรศึกษำเป็นประจำในองค์กรหรอื สถำนศกึ ษำ 3.4 นโยบำย หลักกำรและกฎระเบียบข้อบังคับ (Policies and Regulations) เป็นกฎระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของสงั คมทส่ี ่งผลต่อกำรแพรก่ ระจำย และกำรใช้เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ 4. การจัดการ (Management) เป็นกำรควบคุมกระบวนกำรทำงเทคโนโลยีกำรศึกษำตลอดจนกำรวำงแผน กำรจัดกำร กำรประสำนงำน และกำรให้คำแนะนำ ประกอบดว้ ย 4.1 กำรจัดกำรโครงกำร (Project Management) เป็นกำรวำงแผน กำกับ ควบคุม กำรออกแบบ และพัฒนำโครงกำรสอน และส่ือกำรเรียนกำรสอน 4.2 กำรจัดกำรแหล่งทรัพยำกร (Resource Management) เป็นกำรวำงแผน กำกับควบคมุ บริหำรและจดั กำรแหลง่ ทรพั ยำกร เพื่อกำรบรกิ ำร กำรใชง้ ำน และกำรเผยแพรอ่ ยำ่ งเปน็ ระบบ 4.3 กำรจัดกำรระบบส่งถ่ำย (Delivery System Management) เป็นกำรวำงแผน กำกับควบคุมวิธีกำรซึ่งแพร่กระจำยสื่อกำรสอนในองค์กำร รวมถึงสื่อ และวิธีกำรใช้ที่จะนำเสนอสำรไปยังผู้เรยี น 4.4 กำรจัดกำรสำรสนเทศ (Information Management) เป็นกำรวำงแผน กำกับควบคมุ กำรเก็บ กำรสง่ ถ่ำย หรือกระบวนกำรของขอ้ มูลสำรเพือ่ สนับสนนุ แหลง่ ทรัพยำกรกำรเรียน 5. การประเมิน (Evaluation) เป็นกระบวนกำรเพือ่ ค้นหำข้อมูล และนำข้อมูลมำกำหนดควำมเหมำะสมของกำรเรียนกำรสอน ประกอบไปด้วยกระบวนกำรดังต่อไปน้ี 5.1 กำรวิเครำะห์ปัญหำ (Problem Analysis) เป็นกำรค้นหำปัญหำ สำเหตุแท้จริง และทำให้ปญั หำสิน้ สุดโดยกำรใชข้ อ้ มูลต่ำงๆ ถือเปน็ วธิ กี ำรที่จะชว่ ยตดั สนิ ใจในขนั้ ต่อไปบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพริ ณุ

9 5.2 เกณฑ์กำรประเมิน (Criterion-Referenced Measurement) เทคนิคกำรใช้เกณฑ์เพอ่ื ประเมนิ กำรสอน ประเมนิ กำรส่ือ หรือประเมินโครงกำรเทคโนโลยแี ละสอ่ื สำรกำรศึกษำ 5.3 กำรประเมินควำมก้ำวหน้ำ (Formative Evaluation) มีกำรใช้ข้อมูลอย่ำงเหมำะสมจำกกำรประเมนิ ควำมกำ้ วหนำ้ เพื่อเป็นฐำนในกำรพฒั นำต่อไป 5.4 กำรประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) มีกำรใช้ข้อมูลอย่ำงเหมำะสมที่จะตัดสนิ ใจกบั กำรดำเนินงำนโปรแกรม หรอื โครงกำรต่อไป ขอบข่ำยแนวทำงของเทคโนโลยีเพ่ือกำรเรียนกำรสอน ถือเปน็ ขอบข่ำยแนวทำงของกระบวนกำรปฏิบัติสู่ควำมเปล่ียนแปลง เริ่มจำกกำรออกแบบ พัฒนำ ใช้ จัดกำร และกำรประเมิน ควำมสัมพันธ์ของท้ัง 5 ขอบข่ำย นำไปสู่แนวทำงและกระบวนกำรพัฒนำทรัพยำกรส่ือกำรเรียนกำรสอนได้เป็นอย่ำงเป็นระบบ3. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication Technology: ICT) เทคโนโลยี (Technology) หมำยถึง กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำประยุกต์ในกำรพัฒนำเคร่ืองมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีกำรหรือกระบวนกำร เพ่ือช่วยในกำรทำงำนหรือแก้ปัญหำต่ำงๆทง้ั น้ีเพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ บุคคล กล่มุ คน หรอื องคก์ ร สารสนเทศ (Information) หมำยถึง ผลลัพธ์ท่ีเกิดจำกกำรนำข้อมูลมำผ่ำนกระบวนกำรต่ำงๆอย่ำงมีระบบ จนได้ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ มีคุณค่ำและสำระ หรือมีเน้ือหำและรูปแบบท่ีเหมำะสมตำมควำมตอ้ งกำรของผใู้ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมำยถึง กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำประยุกต์ใช้เพื่อสร้ำงหรือจัดกำรกับสำรสนเทศอย่ำงเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอำศัยเทคโนโลยีทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ ท้ังนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร ทั้งนี้เทคโนโลยีสำรสนเทศยังต้องพึ่งพำเทคโนโลยดี ้ำนกำรสือ่ สำรและโทรคมนำคม ซึ่งเปน็ วิธีกำรท่ีจะส่งข้อมูลจำกที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึง เพ่ือกำรแลกเปล่ียนหรือเผยแพร่ข้อมูล และสำรสนเทศได้อย่ำงรวดเร็วทันต่อกำรใช้ประโยชน์ ผ่ำนอุปกรณ์ส่ือสำร เช่น วิทยุ โทรศัพท์ เคร่ืองโทรสำร คอมพิวเตอร์ คล่ืนวิทยุ และดำวเทยี ม ดังน้ันในปัจจุบันเทคโนโลยสี ำรสนเทศและเทคโนโลยกี ำรสอื่ สำรจึงมักใช้คกู่ นับทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ุณ

10 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Information and Communication Technology:ICT) ตำมแผนแม่บทเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมำยถึงเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องกับข่ำวสำร ข้อมูลและกำรส่ือสำร นับต้ังแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์กำรประมวลผล กำรรบั และสง่ ข้อมูล กำรจัดเก็บและกำรนำไปใช้งำนใหม่ เทคโนโลยเี หล่ำนี้มกั จะหมำยถงึคอมพิวเตอร์ ซ่ึงประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (Hardware) ส่วนคำส่ัง (Software) และส่วนข้อมูล (Data)และ ระบบกำรส่ือสำรตำ่ งๆ ไม่ว่ำจะเปน็ โทรศัพท์ ระบบส่ือสำรข้อมูล ดำวเทียมหรือเคร่ืองมือส่ือสำรใดๆท้ังมีสำยและไร้สำย สอดคล้องกับ Mallard (2002) ท่ีได้ให้ควำมหมำยว่ำ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร Information and Communication Technology คือ Information Technology (IT)และ Communication Technology (CT) Information Technology: IT หมำยถึง อุปกรณ์ (Hardware) และโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Software) ซึ่งใช้เพ่ือกำรเข้ำถึง แก้ไข จัดเก็บ รวบรวม ควบคุม และนำเสนอสำรสนเทศในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบดว้ ย - Hardware ได้แก่ Personal Computers, Scanners และ Digital Cameras เปน็ ต้น - Software ไดแ้ ก่ Database Storage Programs และ Multimedia Programs เป็นต้น Communication Technology: CT หมำยถึง อุปกรณ์โทรคมนำคม (Tele-communicationEquipment) ใช้เพ่ือประโยชน์ในกำรค้นหำและเข้ำถึงสำรสนเทศ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสำร โมเด็ม และคอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น กำรเปลี่ยนแปลงของสภำวกำรณ์โลกท่ีก้ำวสู่โลกแห่งกำรเรียนรู้เทคโนโลยีนำนำประเทศต่ำงพยำยำมปรับกลยุทธ์ เพื่อยกระดับศักยภำพของสังคมด้วยกำรนำเทคโนโลยีร่วมสมัยถึงผลกระทบในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศในสงั คม 4 ดำ้ น คือ 1) ด้ำนควำมรู้เทคโนโลยีสำรสนเทศชว่ ยอำนวยควำมสะดวกในกำรขยำยขอบเขตของควำมรทู้ ั้งในแนวลกึ และแนวกว้ำงให้แกผ่ ู้ศึกษำ ค้นควำ้ 2) ด้ำนกำรทำให้เกิดอำชีพใหม่และทุกคนจำเป็นต้องมีควำมรู้และทักษะทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ 3) ด้ำนกำรเปลย่ี นแปลงทำงดำ้ นควำมสัมพันธ์ของผคู้ นในสังคม รวมทั้งควำมไมเ่ ท่ำเทียมกนั ในสงั คม 4) ด้ำนกำรอำนวยควำมสะดวกทั้งในด้ำนกำรศึกษำ กำรดำรงชีวิต ช่วยในกำรคิด กำรตัดสินใจและประหยัดเวลำบทท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพริ ุณ

11 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and CommunicationTechnology for Education) กำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรมำใช้เพื่อกำรศึกษำ มีหลำยลักษณะคือ (ปทีป เมธำคุณวฒุ ,ิ 2544 ; ถนอมพร เลำหจรัสแสง, 2545) 1) เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำรลดควำมเหล่ือมล้ำของโอกำสทำงกำรศึกษำ ส่ิงนี้เป็นเง่ือนไขสำคัญในกำรตอบสนองนโยบำยกำรศึกษำที่เป็น \"กำรศึกษำเพื่อประชำชนทุกคน\" ที่จะเป็นกำรสร้ำงควำมเท่ำเทียมทำงสังคม โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงควำมเท่ำเทียมทำงด้ำนกำรศึกษำ ตัวอย่ำงที่สำคัญคือกำรเรียนกำรสอนทำงไกลที่ทำให้ผเู้ รียนในท่หี ่ำงไกลในชนบทที่ด้อยโอกำส ให้มีโอกำสเท่ำเทียมกับผู้เรียนที่อยู่ในสถำนท่ีในเมือง รวมท้ังกำรที่ผู้เรียนมีโอกำสเข้ำถึงแหล่งข้อมูลของโลก ผ่ำนทำงเครือข่ำยอินเทอรเ์ น็ต หรือกำรทเ่ี ทคโนโลยสี ำรสนเทศเปน็ เคร่ืองมือท่ีชว่ ยให้คนพิกำรสำมำรถมโี อกำสรับกำรศึกษำในส่ิงแวดล้อมของคนปกติ และยังเปิดโอกำสให้คนพิกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือกำรเรียนรู้และเพ่ือกำรประกอบอำชพี อกี ดว้ ย 2) เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำรเป็นเคร่ืองมือในกำรพัฒนำคุณภำพทำงกำรศึกษำเทคโนโลยีสำมำรถทำได้ในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น กำรที่ผู้เรียนที่เรียนรู้โดยสำมำรถใช้เวลำเพิ่มเติมกับบทเรียนด้วยส่ือซีดีรอมเพ่ือตำมให้ทันเพ่อื น ผู้เรียนท่ีรับข้อมูลได้ปกติสำมำรถเพ่ิม ศักยภำพในกำรเรียนรู้ด้วยตนเองได้มำกข้ึน จำกควำมหลำกหลำยของเน้ือหำในสื่อสำรอิเล็กทรอนิกส์ นอกจำกน้ีฐำนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ทั้งในระดับท้องถิ่นหรือระดับโลกอย่ำงระบบเวิลด์ไวด์เว็บในอินเทอร์เน็ต ยังเปิดโอกำสให้ผู้เรียนสำมำรถพัฒนำคุณภำพของกำรเรียนรู้จำกฐำนข้อมูลท่ีหลำกหลำยและกว้ำงขวำง อย่ำงที่ระบบฐำนข้อมูลหรือห้องสมุดเดิมไม่สำมำรถรองรับได้ วิวัฒนำกำรของเทคโนโลยีสำรสนเทศยังทำให้ส่ือทำงเสียง ส่ือข้อควำม สื่อทำงภำพ สำมำรถผนวกเข้ำหำกัน และนำเสนอไดอ้ ย่ำงน่ำสนใจและไม่น่ำเบือ่ ไม่ว่ำจะดึงข้อมูลจำกสื่อที่เก็บข้อมูล เช่น ฮำร์ดดิสก์ ซีดีรอม หรือจำกเครือข่ำย ซ่ึงปัจจุบันมีเทคโนโลยีดิจิทัลและกำรบีบอัดสัญญำณที่ก้ำวหน้ำที่ได้อย่ำงรวดเร็วและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันข้อมูลที่มีประโยชน์ยังสำมำรถเก็บบันทึกและเรียกใช้ร่วมกันได้จำกคลังดิจิทัล (Digital Archive) ในรูปแบบต่ำง ๆ นอกจำกน้ีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประเภทควำมจริงเสมือน (Virtual Reality) ยังสำมำรถประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์ทำงกำรศึกษำและกำรฝึกอบรม 3) กำรพฒั นำบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำให้มคี วำมรทู้ ำงดำ้ นเทคโนโลยี ในประเด็นนี้ไดค้ ำนึงถึงระดับกำรสร้ำงทักษะพน้ื ฐำน (Literacy) กำรสร้ำงผสู้ อนทีม่ คี วำมรูท้ ีจ่ ะใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสอ่ื สำรประกอบกำรเรียนกำรสอน กำรสร้ำงผู้มีควำมรู้ ควำมชำนำญ เฉพำะศำสตร์ทำงคอมพิวเตอร์ในระดับต่ำงๆ เพ่ือที่จะนำไปสู่กำรคิดค้นสร้ำงสรรค์เทคโนโลยี สำรสนเทศ และที่จำเป็นมำกสำหรับประชำชนทว่ั ไป คอื กำรสรำ้ งทักษะพื้นฐำนทำงคอมพวิ เตอร์ 4) บทบำทของอินเทอร์เน็ตกับกำรศึกษำ อินเทอร์เน็ตเป็น \"เครือข่ำยแห่งเครือข่ำย\" (Networkof Networks) ทำให้เกิดกำรเช่ือมโยงกันอย่ำงเสรี โดยไม่มีกำรปิดก้ัน กำรเผยแพร่และสืบค้นข้อมูลผ่ำนระบบเวลิ ดไ์ วด์เว็บ (World Wide Web) ทำให้บุคคลสำมำรถเผยแพร่ข้อมูลของตนเองต่อโลกได้ง่ำย พอกับกำรสืบค้นข้อมูลโดยใช้ระบบทะเบียนท่ีอยู่ (Uniform Resource Locator: URL) และผ่ำนตัวสืบค้น(Search Engines) ต่ำง ๆ นอกจำกน้ันกำรสื่อสำรผ่ำนระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mailบทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพิรณุ

12หรือ E-mail) เป็นกำรปฏิวัติระบบกำรส่ือสำรทั่วโลกด้วยสะดวก ควำมเร็ว และถูกต้องสมบูรณ์ รวมทั้งกำรแลกเปลี่ยนสำระควำมรู้ผ่ำนระบบแผนกระดำนข่ำว ( Bulletin Board) และกลุ่มอภิปรำย(Discussion Groups) ต่ำง ๆ ทำให้เกิดกำร แลกเปล่ียนควำมรู้กันอย่ำงกว้ำงขวำงและท่ัวถึงกันมำกข้ึนรูปแบบของกำรสืบค้นข้อมูลของภำษำ HTML (Hyper Text Markup Language) นอกจำกควำมสะดวกและง่ำยตอ่ กำรใชแ้ ลว้ ยังเป็นสภำพแวดลอ้ มที่อำจมีผลทำงจติ วิทยำใหผ้ ้ใู ชค้ น้ หำข้อมลู ลกึ ลงไป โดยสรุปเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร มีส่วนสัมพันธ์หรือเอ้ือต่อกำรศึกษำทั้งในด้ำนกำรเรยี นกำรสอน กำรวิจยั กำรบริหำร และกำรบรกิ ำรสังคม4. สือ่ การเรยี นการสอน (Instructional Media) “ส่ือ” นับเป็นส่ิงท่ีมีบทบำทสำคัญอย่ำงมำกในกำรสอนตัง้ แต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันเนื่องจำกเปน็ตัวกลำงท่ีช่วยให้กำรส่ือสำรระหว่ำงผู้สอนและผู้เรียนดำเนินไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ช่วยให้ผู้เรียนเข้ำใจควำมหมำยของเนื้อหำบทเรียนให้ตรงกับผู้สอนต้องกำร ไม่ว่ำส่ือน้ันจะอยู่ในรูปแบบใดก็ตำมล้วนแต่เป็นทรพั ยำกรทีส่ ำมำรถอำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรไู้ ดท้ ้ังส้นิ “สื่อ” (Medium, Media) เป็นคำมำจำกภำษำลำตินวำ่ “ระหวำ่ ง” (Between) หมำยถึง สิ่งใดข้อตำมท่ีบรรจุข้อมูลสำรสนเทศหรือเป็นตัวกลำงข้อมูลส่งผ่ำนจำกผู้ส่งหรือแหล่งส่งไปยังผู้รับเพ่ือใ ห้ผู้ส่งและผู้รับสำมำรถสื่อสำรกันได้ตรงตำมวัตถุประสงค์ในกำรเล่ำเรียน เมื่อผู้สอนนำส่ือมำใชป้ ระกอบกำรสอนเรียกว่ำ “ส่ือสอนกำรสอน” และเมื่อนำมำให้ผู้เรียนใชเ้ รียกวำ่ “สื่อกำรเรียน” โดยเรียกรวมกันว่ำ“สื่อกำรเรียนกำรสอน” หรืออำจจะเรียกสั้นๆ ว่ำ “ส่ือกำรสอน” หมำยถึงส่ิงใดก็ตำมไม่ว่ำจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผนภูมิ รูปภำพ ฯลฯ ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุเนื้อหำเกี่ยวกับกำรเรียนกำรสอน หรือเป็นอุปกรณ์เพื่อถ่ำยทอดเนื้อหำส่ิงเหลำ่ นี้เป็นวสั ดอุ ุปกรณ์ทำงกำยภำพท่ีนำมำใช้เทคโนโลยกี ำรศึกษำเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครอื่ งมือหรอื ช่องทำงทำใหก้ ำรสอนส่งไปถึงผเู้ รียน ส่อื กำรสอนถือวำ่มีบทบำทมำกในกำรเรียนกำรสอนต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั เนื่องจำกเป็นตัวกลำงทีช่ ่วยให้กำรสอ่ื ระหว่ำงผู้สอนและผู้เรียนดำเนินกำรไปได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ทำให้ผู้เรียนมีควำมหมำยของเนื้อหำบทเรียนได้ตรงกับท่ีผู้สอนต้องกำรเรียนรู้ได้ท้ังส้ิน ในกำรใช้สื่อกำรสอนน้ันผู้สอนจำเป็นต้องศึกษำถึงลักษณะคุณสมบตั ิของสื่อแต่ละชนิดเพอ่ื เลือกสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์กำรสอนและสำมำรถจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยต้องกำรวำงแผนอย่ำงเป็นระบบในกำรใช้สื่อด้วย ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนกำรเรียนกำรสอนดำเนินไปอย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ (กิดำนนั ท์ มลทิ อง, 2548) บทบำทของส่ือกำรสอน คือ ส่ือจะทำให้ครูมีควำมมั่นใจในกำรสอนมำกข้ึน เพรำะมีควำมหลำกหลำยและน่ำสนใจ สื่อยังเป็นส่ิงท่ีใช้พัฒนำผู้เรียนได้ ทำให้ผู้เรียนมีประสบกำรณ์ เรียนรู้อย่ำงชดั เจน และทำให้ผู้เรียนสนใจเรียนมำกขนึ้ ดว้ ยบทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพิรณุ

13 กระบวนกำรเรียนกำรสอน มีลักษณะเป็นกำรส่ือสำรอย่ำงหน่ึงซึ่งอำศัยกำรรับรู้นำไปสู่กำรสื่อควำมหมำย ไม่ว่ำกำรสื่อสำรจะมีควำมยำกง่ำยหรือซับซ้อนเพียงใด ลำดับกำรส่ือสำรจะคล้ำยๆ กันควำมมุ่งหมำยของกำรส่ือสำรย่อมต้องกำรควำมเข้ำใจตรงกันระหว่ำงผู้สื่อสำรและผู้รับเป็นพื้นฐำนนอกเหนือไปจำกนั้นยังต้องกำรผลกำรปฏิบัติของผู้รับตำมที่ต้องกำร และกำรปรับปฏิกิริยำของผู้รับ เพ่ือปรบั ปรุงระบบกำรสื่อสำรให้มีประสทิ ธภิ ำพต่อไป ดังนนั้ กำรเสนอขอ้ ควำมรู้ตำ่ งๆ ให้ผเู้ รยี นย่อมต้องกำรผลดุจเดียวกันกับกำรสื่อสำรในกำรใช้ส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำจำเป็นจะต้องทำควำมเข้ำใจระบบกำรส่ือสำร แหล่งสอ่ื หรอื วสั ดุ วธิ ีกำรทเี่ หมำะสมภำยในขอบเขตของสื่อ สภำวะของผู้สอนและผู้เรียน รวมทั้งปัจจัยพ้ืนฐำนต่ำงๆ และส่ิงแทรกซ้อน เป็นกำรปฏิบัติที่มุ่งให้ กำรเรียนกำรสอนมีประสิทธภิ ำพ กำรส่ือสำร (Communication) คือ กระบวนกำรแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่ำวสำรระหว่ำงบุคคลต่อบุคคลหรือบุคคลต่อกลุ่ม โดยใช้สัญลักษณ์ สัญญำณ หรือพฤติกรรมท่ีเข้ำใจกัน โดยมีองค์ประกอบดังแผนภูมิที่ 1.1 ดงั นี้ ผสู้ ่ง ข้อมลู ข่าวสาร สื่อ ผู้รับ(Source) (Message) (Channel) (Receiver) ภำพ 1.2 แบบจำลองกำรสือ่ สำร (Communication Model) 1. ผู้ส่ง (Source) คือ ผู้ท่ีทำหน้ำท่ีส่งข้อมูล ข่ำวสำรไปยังผู้รับสำรโดยผ่ำนช่องทำงที่เรียกว่ำสื่อ หำกเป็นกำรส่ือสำรทำงเดยี วผู้ส่งจะทำหน้ำที่ส่งเพยี งประกำรเดียว หำกเป็นกำรส่ือสำร 2 ทำง ผู้ส่งสำรจะเป็นผู้รับในเวลำเดียวกัน ผู้ส่งตอ้ งเป็นผู้ท่ีมีทักษะควำมชำนำญในกำรส่ือสำร โดยมีควำมสำมำรถในกำรเขำ้ รหสั (encode) เนื้อหำขำ่ วสำร มีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อเรือ่ งทีจ่ ะส่ง ต่อตนเองมแี ละตอ่ ผูร้ บั เพื่อผลที่ดีในกำรสอ่ื สำร มคี วำมรู้อยำ่ งดีเกย่ี วกับขอ้ มลู ข่ำวสำรท่จี ะสง่ และควรจะมีควำมสำมำรถในกำรปรับระดบัของข้อมูลน้ันให้เหมำะสมและง่ำยต่อระดับควำมรู้ของผู้รับ ตลอดจนพ้ืนฐำนทำงสังคมและวัฒนธรรมท่ีสอดคล้องกบั ผ้รู ับเพื่อใหก้ ำรสอื่ สำรมีประสิทธภิ ำพ 2. ข้อมูลข่ำวสำร (Message) หมำยถึง เน้ือหำ สัญลักษณ์ และวิธีกำรส่งข่ำวสำร ข้อมูลข่ำวสำรที่ดตี ้องแปลเป็นรหัส เพื่อสะดวกในกำรส่งกำรรับและตีควำม เน้ือหำสำรของสำรและกำรจัดสำรก็จะต้องทำใหก้ ำรส่ือควำมหมำยงำ่ ยขน้ึ 3. สื่อ / ช่องทำงในกำรส่ง-รับสำร (Channel) หมำยถึง กำรส่งข่ำวสำรโดยกำรให้ผู้รับได้รับขำ่ วสำรขอ้ มลู โดยผ่ำนประสำทสัมผสั ทง้ั 5 หรอื เพียงส่วนใดสว่ นหนึ่ง คือ ทำงหโู ดยกำรไดย้ ิน ทำงตำโดยกำรดู ทำงผิวหนังโดยกำรสัมผัส ทำงลิ้นโดยกำรลิ้มรส หรือทำงจมูกโดนกำรได้กลิ่น และตัวกลำงท่ีมนุษย์สรำ้ งขึ้นมำ เชน่ สอื่ ส่ิงพมิ พ์ ส่อื กรำฟกิ สือ่ อิเลกทรอนิกส์บทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพิรณุ

14 4. ผรู้ ับ (Receiver) หมำยถึง ผูท้ ่เี ป็นเป้ำหมำยของผู้ส่งสำร กำรสอ่ื สำรจะมปี ระสทิ ธภิ ำพ ผูร้ ับสำรจะต้องมีประสทิ ธภิ ำพในกำรรับรู้ ต้องเป็นผู้มีทักษะควำมชำนำญในกำรสือ่ สำรโดยมคี วำมสำมำรถใน“กำรถอดรหัสสำร” (decode) เป็นผู้ท่ีมีเจตคติที่ดีต่อข้อมูลข่ำวสำร ต่อผู้ส่งสำรและต่อตนเอง ตลอดจนระดับควำมรู้ และพื้นฐำนทำงสังคม วัฒนธรรม เช่นเดียวหรือคล้ำยคลึงกันกับผู้ส่งสำรจึงจะทำให้กำรสื่อควำมหมำยหรอื กำรสื่อสำรนั้นมปี ระสทิ ธภิ ำพ David K. Berlo (1960) เสนอแบบจำลองกำรส่ือสำร โดยอธิบำยว่ำ กำรส่ือสำรประกอบด้วยส่วนประกอบพน้ื ฐำนสำคัญ 6 ประกำร คอื 1. ตน้ แหลง่ สำร (Communication Source) 2. ผู้เขำ้ รหัส (Encoder) 3. สำร (Message) 4. ชอ่ งทำง (Channel) 5. ผูถ้ อดรหัส (Decoder) 6. ผ้รู ับสำร (Communication Receiver) จำกสว่ นประกอบพืน้ ฐำนสำคญั 6 ประกำรนน้ั เบอร์โล ไดน้ ำเสนอเปน็ แบบจำลองกำรส่อื สำรท่ีรู้จักกันดีโดยท่ัวไปว่ำ \"แบบจำลอง SMCR ของเบอร์โล\" (Berlo's SMCR Model) โดยเบอร์โลได้รวมต้นแหล่งสำรกบั ผเู้ ขำ้ รหัสไวใ้ นฐำนะต้นแหลง่ สำรหรอื ผ้สู ง่ สำร และรวมผ้ถู อดรหสั กบั ผู้รบั สำรไวใ้ นฐำนะผรู้ ับสำร แบบจำลองกำรสื่อสำรตำมแนวคดิ ของเบอร์โลน้ี จึงประกอบไปดว้ ย S (Source or Sender)คือ ผู้ส่งสำร M (Message) คือ สำร C (Channel) คอื ช่องทำงกำรส่ือสำร และ R (Receiver) คือ ผรู้ ับสำรภำพที่ 1.3 แบบจำลองกำรสือ่ สำร Berlo's SMCR Model (Berlo, 1960)บทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ

15 จำกแบบจำลองกำรสื่อสำรตำมแนวคิดของเบอร์โลข้ำงต้นนี้ แสดงให้เห็นว่ำ ผู้ส่งสำร(S: Source) คือ ผู้เร่ิมต้นกำรส่ือสำร ทำหน้ำที่ในกำรเข้ำรหัส ซึ่งผู้ส่งสำรจะทำหน้ำท่ีในกำรส่ือสำรได้ดีเพยี งใดนัน้ ข้นึ อย่กู บั คณุ สมบตั ิตำ่ ง ๆ 5 ประกำรคือ 1. ทักษะในกำรสื่อสำร เช่น ควำมสำมำรถในกำรพูด กำรเขียน และควำมสำมำรถในกำรคิดและกำรใช้เหตผุ ล เป็นต้น 2. ทัศนคติ หมำยถึง วิธีกำรท่ีบุคคลประเมินสิ่งต่ำง ๆ โดยควำมโน้มเอียงของตนเองเพื่อท่ีจะเข้ำถึงหรือเป็นกำรหลีกเล่ียงสิ่งน้ัน ๆ เช่น ทัศนคติต่อตนเอง ต่อหัวข้อของกำรส่ือสำร ต่อผู้ รับสำรตอ่ สถำนกำรณแ์ วดล้อมกำรสือ่ สำรในขณะนั้น เป็นตน้ 3. ควำมรู้ หมำยถึง ควำมรู้ของผู้ส่งสำร ในเหตุกำรณ์หรือเรื่องรำวต่ำง ๆ บุคคลหรือกรณีแวดลอ้ มของสถำนกำรณ์กำรสอ่ื สำรในครง้ั หน่งึ ๆ ว่ำมีควำมแมน่ ยำหรอื ถูกต้องเพียงไร 4. ระบบสังคม ซ่ึงจะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมกำรสื่อสำรของบุคคล เพรำะบุคคลจะข้ึนอยู่กับกลุม่ ทำงสงั คมทีต่ นเองอยู่รว่ มดว้ ย 5. ระบบวัฒนธรรม หมำยถึง ขนบธรรมเนียม ค่ำนิยม ควำมเช่ือ ท่ีเป็นของตัวมนุษย์ในสังคมและเป็นตวั กำหนดท่ีสำคัญในกำรส่ือสำรดว้ ย เชน่ กำรสอื่ สำรระหว่ำงบุคคลตำ่ งวฒั นธรรมกัน อำจประสบควำมล้มเหลวได้เน่ืองจำกควำมคดิ และควำมเชือ่ ที่มีไมเ่ หมอื นกันระหวำ่ งผสู้ ่งสำรและผ้รู บั สำร ด้ำนสำร (M: Message) ได้แก่ ถ้อยคำ เสียง กำรแสดงออกด้วยสีหน้ำ อำกัปกิริยำท่ำทำงท่ีมนุษย์สร้ำงข้ึนในขณะท่ีเป็นผู้ส่งสำร ถ้ำควำมหมำยเป็นทำงกำร ก็คือ ผลผลิตทำงกำยภำพที่เป็นจริงอนั เกดิ จำกผลกำรเขำ้ รหัสของผูส้ ่งสำรน่นั เอง ตำมควำมคดิ ของเบอร์โลนั้น สำรมคี ณุ สมบตั ิ 3 ประกำรคอื 1. รหสั ของสำร (Message Code) เช่น ภำษำพดู ภำษำเขียน ภำษำท่ำทำง หรอื รหสั อ่ืน ๆ 2. เนอื้ หำ (Content) 3. กำรจัดสำร (Treatment) คือ วธิ ีกำรที่ผู้ส่งสำรเลือกและจัดเตรียมเนื้อหำของสำร เช่น กำรใช้ภำษำ ไวยำกรณ์ ศัพท์ รวมถึง คำถำม คำอุทำน ควำมคิดเห็น เป็นต้น สำรทีถ่ กู จัดเตรยี มไวด้ ี จะทำให้เกิดกำรรบั รู้ควำมหมำยในผรู้ บั สำรได้ ด้ำนช่องทำง (C: Channel) ช่องทำง ซึ่งเป็นพำหนะนำสำรไปสู่ผู้รับสำรช่องทำงท่ีจะนำสำรไปสู่ประสำทรับควำมรู้สึกทั้ง 5 ประกำรของมนุษย์ ได้แก่ กำรเห็น กำรไดย้ ิน กำรสัมผัส กำรได้กลิ่น และกำรลิ้มรส ด้ำนของผู้รับสำร (R: Receiver) จำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติด้ำนต่ำง ๆ 5 ประกำร เช่นเดียวกับผสู้ ง่ สำร คอื ทักษะในกำรส่ือสำร ทศั นคติ ควำมรู้ ระบบสังคมและระบบวัฒนธรรม ตำมลักษณะของ S M C R Model ปัจจัยหลักท่ีมีควำมสำคัญต่อขีดควำมสำมำรถของผู้ส่งและผ้รู ับ ทีจ่ ะทำให้กำรส่อื ควำมหมำยนน้ั ได้ผลสำเร็จ ประกอบด้วย 4 ปจั จยั ดังน้ี 1. ทักษะในกำรสื่อสำร (Communication Skills) หมำยถึง ทักษะซึ่งท้ังผู้ส่งและผู้รับควรจะมีควำมชำนำญในกำรส่งและกำรรับสำร เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจกันได้อย่ำงถูกต้อง เช่น ผู้ส่งต้องมีควำมสำมำรถในกำรเขำ้ รหสั มีกำรพูด โดยกำรใชภ้ ำษำพูดทถ่ี ูกตอ้ ง ใชค้ ำพูดท่ีชดั เจน ฟงั งำ่ ย มีกำรแสดงบทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ

16สีหน้ำหรือท่ำทำงที่เข้ำกับกำรพูด ทำนองลีลำในกำรพูด เป็นจังหวะน่ำฟัง หรือกำรเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนทถ่ี ูกตอ้ งสละสลวยน่ำอ่ำน ส่วนผูร้ บั ก็ต้องมีควำมสำมำรถในกำรถอดรหัส และมที ักษะท่เี หมือนกันกับผู้ส่งสำร โดยมีทักษะกำรฟังที่ดี ฟังภำษำท่ีผู้ส่งพูดมำรู้เรื่อง หรือสำมำรถอ่ำนข้อควำมท่ีส่งมำ น้ันได้เป็นตน้ 2. ทัศนคติ (Attitudes) หมำยถึง เจตคติของผู้ส่งและผู้รับซ่ึงมีผลต่อกำรสื่อสำร ถ้ำผู้ส่งและผู้รบั มีเจตคตทิ ี่ดีต่อกัน ก็จะทำใหก้ ำรสอ่ื สำรได้ผลดี ท้ังนเ้ี พรำะเจตคติยอ่ มเกยี่ วโยงไปถึงกำรยอมรบั ซึ่งกันและกันระหว่ำงผู้ส่งและผู้รับด้วย เช่น ถ้ำผู้ฟังมีควำมนิยมชมชอบในตัวผู้พูดก็มักจะมีควำมเห็นท่ีสอดคล้องตำมไปได้ง่ำยกับผู้พูด แต่ในทำงตรงกันข้ำม หำกผู้ฟังมีเจตคติท่ีไม่ดีต่อผู้พูดก็จะฟังแล้วไม่เห็นชอบด้วย และมีควำมเห็นขัดแย้งในสิ่งที่พูดมำน้ัน หรือถ้ำท้ังสองฝ่ำยมีเจตคติที่ไม่ดีต่อกันท่วงทำนองหรือน้ำเสียงในกำรพูดก็อำจจะห้วนห้ำว แต่ถ้ำมีเจตคติท่ีดีต่อกันก็มักจะพูดกันด้วยควำมไพเรำะน่ำฟัง 3. ระดับควำมรู้ (Knowledge Levels) หำกผู้ส่งและผู้รับมีระดับควำมรู้ที่เท่ำเทียมกัน ก็จะทำให้กำรส่ือสำรน้ันลุล่วงไปด้วยดี แต่ถ้ำหำกควำมรู้ของผู้ส่งและผู้รับมีระดับที่แตกต่ำงกันย่อมจะต้องมีกำรปรบั ควำมยำกง่ำยของข้อมูลทจ่ี ะส่งในด้ำนควำมยำกง่ำยของภำษำ และถอ้ ยคำ สำนวนท่ใี ช้ เช่น กำรไม่ใช้คำศัพท์ทำงวิชำกำร ภำษำต่ำงประเทศ หรือถ้อยคำยำวๆ สำนวนท่ีสลับซับซ้อน ท้ังน้ีเพื่อให้สะดวกและง่ำยต่อควำมเข้ำใจ ตัวอย่ำงเช่น กำรที่หมอรักษำคนไข้โดยพูดคำศัพท์ทำงกำรแพทย์เก่ียวกับโรคต่ำงๆย่อมจะทำให้คนไข้ไม่เข้ำใจว่ำตนเปน็ โรคอะไร หรือพัฒนำกรจำกส่วนกลำงออกไปพฒั นำหมู่บ้ำนต่ำงๆ ในชนบท เพอ่ื ใหค้ ำแนะนำทำงด้ำนวิชำกำรเกษตรและเล้ยี งสัตวแ์ ก่ชำวบำ้ น หำกพูดแต่ศพั ทท์ ำงวชิ ำกำรโดยไมอ่ ธบิ ำยด้วยถอ้ ยคำ หรอื ภำษำทง่ี ำ่ ยๆ ก็จะทำให้ชำวบ้ำนไมส่ ำมำรถเข้ำใจหรอื อำจเข้ำใจผดิ ได้ 4. ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Socio - Culture System) ระบบสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชำตเิ ปน็ สิ่งท่ีมีส่วนกำหนดพฤตกิ รรมของประชำชนในชำตนิ ้ัน ซึ่งเกี่ยวข้องไปถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีท่ียึดถือปฏิบัติ สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชำติย่อมมีควำมแตกต่ำงกันไป เช่นกำรให้ควำมเคำรพต่อผู้อำวุโส หรือวัฒนธรรมกำรกินอยู่ต่ำงๆ ดังนั้นในกำรติดต่อส่ือสำรของบุคคลต่ำงชำติต่ำงภำษำกันจึงจะต้องมีกำรศึกษำระบบสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลในแต่ละชำติ เพ่ือกำรปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ งเหมำะสมท้ังนีย้ ่อมรวมไปถึงกฎขอ้ บงั คบั ทำงศำสนำของแตล่ ะศำสนำดว้ ย QR Code ควำมรเู้ พม่ิ เติม ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ แบบจำลองกำรสอื่ สำร Berlo's SMCR Modelบทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื การศกึ ษา

175. ประเภทของส่อื การเรียนการสอน ส่ือมีชื่อเรียกหลำกหลำยอย่ำง ส่ือที่ใช้ส่งสำรกับบุคคลกลุ่มใหญ่เรียกว่ำ สื่อสำรมวลชน (MassMedia) เม่ือนำสื่อมำให้ผู้เรียนใช้ศึกษำ เรียกสื่อน้ันว่ำ ส่ือกำรเรียน (Learning Media) สื่อสำหรับผู้สอนใช้ในกำรสอนจะเรียกว่ำ ส่ือกำรสอน (Instructional Media) ดังนั้น สื่อกำรเรียนกำรสอน จึงมีควำมหมำยรวมถึงสื่อหลำย ๆ ชนิด เช่น เทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผนภูมิภำพนิ่ง หนังสือเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ซึ่งบรรจุเน้ือหำท่ีเก่ียวข้องกับบทเรียนในหลักสูตร อำจอยู่ในรปู ของวสั ดุ (Soft Ware) ทนี่ ำมำใช้ในเทคโนโลยกี ำรศึกษำ หรอื เปน็ สง่ิ ทใ่ี ชก้ ับเคร่อื งมืออปุ กรณ์ (HardWare) หรือใช้กับช่องทำงกำรดำเนินกิจกรรม (Method) ในกำรส่ือสำรระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียน แล้วทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ตำมจุดหมำยที่วำงไว้ ก็ถือว่ำเป็น สื่อกำรเรียนกำรสอน ทั้งส้ิน สำหรับกำรเรียนกำรสอนทีน่ ำสื่อประเภทวัสดุ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคนคิ วธิ ีกำร มำใชร้ ่วมกันโดยกำรเลือกใช้สื่อแต่ละชนดิ แตล่ ะประเภทใหเ้ หมำะสมกบั เนือ้ หำวิชำนั้น เรยี กวำ่ ส่อื ประสมหรอื สอ่ื มลั ตมิ ีเดีย (Multimedia) นักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำจำแนกประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน ตำมรูปแบบและวัตถุประสงค์ของกำรใช้งำนได้หลำยรูปแบบ เช่น แบ่งตำมประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ แบ่งตำมลักษณะที่ใช้สื่อควำมหมำยทำงเสียงและภำพ แบ่งตำมลักษณะทำงกำยภำพ และแบ่งตำมทรัพยำกรกำรเรียนรู้ดงั น้ี 2.1 ส่อื กำรเรยี นกำรสอนแบง่ ตำมประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ Dale (1969) แบ่งส่ือกำรเรียนกำรสอนตำมกำรจัดระดับกำรเรียนรู้ตำมสภำพกำรรับรู้และประสบกำรณ์ของผู้เรียนเม่ือสัมผัสกับส่ิงเร้ำ โดยพิจำรณำจำกลักษณะของประสบกำรณ์ท่ีเป็นรูปธรรมและนำมธรรมทไ่ี ด้รับจำกสื่อกำรเรียนกำรสอน และเรียงลำดับจำกประสบกำรณท์ ี่เป็นรูปธรรมท่สี ดุ ไปหำประสบกำรณ์ทเี่ ปน็ นำมธรรมทสี่ ดุ (Abstract Concrete Continuum) เรียกว่ำ “กรวยประสบกำรณ”์(Cone of Experience)บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ

18 ภำพที่ 1.4 กรวยประสบกำรณ์ (Cone of Experience) (Dale, 1969) ขั้นที่ 1 ประสบกำรณ์ตรงและมีควำมมุ่งหมำย (Direct Purposeful Experiences) เป็นประสบกำรณท์ ่ีเป็นรูปธรรมมำกที่สดุ และเป็นประสบกำรณ์ทเ่ี ปน็ รำกฐำนของประสบกำรณท์ งั้ ปวง เพรำะผ้เู รียนทไ่ี ด้รับประสบกำรณ์โดยตรงจำกสถำนกำรณจ์ รงิ หรอื กำรปฏิบตั ิจริง จะเกิดกำรรบั รู้ และเรียนรไู้ ด้ดีท่ีสุด เช่น กำรเรียนจำกของจริง (Real object) กำรร่วมกิจกรรมกำรเรียนด้วยกำรลงมือกระทำ เป็นต้น ขั้นท่ี 2 ประสบกำรณ์จำลอง (Contrived Experiences) เป็นกำรเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนเรียนรู้จำกสิ่งที่ใกล้เคียงควำมเป็นจริง เกิดจำกข้อจำกัดที่ไม่สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนจำกประสบกำรณ์จริงให้แก่ผู้เรียนได้ เช่น ของจริงมีขนำดใหญ่หรือเล็กเกินไป มีควำมซับซ้อน มีอนั ตรำย จึงใช้ประสบกำรณ์จำลอง อำจเป็นของจำลองหรือสถำนกำรณ์จำลอง เช่น กำรใช้หุ่นจำลอง (Model) อวัยวะภำยในร่ำงกำย หุ่นจำลองโลกและดำวเครำะห์ และของตวั อยำ่ ง (Specimen) เปน็ ต้น ขั้นที่ 3 ประสบกำรณ์นำฏกำร (Dramatized Experiences) เป็นประสบกำรณ์ท่ีจัดข้ึนแทนประสบกำรณ์จริงท่ีเป็นอดีตไปแล้ว หรือเป็นนำมธรรมท่ียำกเกินกว่ำจะเข้ำใจและไม่สำมำรถใช้ประสบกำรณ์จำลองได้ โดยกำรจัดบทบำทสมมติหรือกำรแสดงในรูปแบบต่ำงๆ เพื่อจัดประสบกำรณ์บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ

19ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหัวข้อหรือบทเรียนที่มีข้อจำกัดในยุคสมัย กำลเวลำ หรือสถำนกำรณ์ เช่นกำรละเล่นพ้ืนเมือง ประเพณีต่ำงๆ เหตกุ ำรณ์ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และเร่ืองรำวของชีวิตในสังสำรวัฎที่เปน็ นำมธรรม เปน็ ต้น ขั้นที่ 4 กำรสำธิต (Demonstrations) เป็นกำรยกตัวอย่ำงหรือกำรกระทำกิจกรรมประกอบคำอธิบำยข้อเท็จจริง ควำมจริง และกระบวนกำรท่ีสำคัญด้วยกำรแสดงให้เห็นเป็นลำดับขั้น เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นลำดับข้ันตอนของกำรทำกิจกรรมในงำนชิ้นนั้น ๆ กำรสำธิตอำจทำได้โดยครูเป็นผู้สำธิตนอกจำกน้อี ำจใช้ภำพยนตร์ สไลดแ์ ละฟิลม์ สตรปิ แสดงกำรสำธติ ในเนื้อหำที่ตอ้ งกำรสำธิตได้ ข้ันที่ 5 กำรศึกษำนอกสถำนที่ (Field Trips) เป็นกำรพำผู้เรียนไปศึกษำยังแหล่งเรียนรู้หรือแหล่งควำมรู้ต่ำง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับรู้และเรียนรู้ประสบกำรณ์ภำยนอกสถำนที่เรียน เช่น กำรศึกษำควำมรู้จำกสถำนท่ีสำคัญ เช่น อุทยำนกำรเรียนรู้ (TK park) องค์กำรพิพิธภัณฑ์วิทยำศำสตร์แห่งชำติ(อพวช., NSM) โบรำณสถำน สถำนประกอบกำร รวมถึงกำรสมั ภำษณบ์ คุ คลสำคญั เปน็ ตน้ ขั้นท่ี 6 นิทรรศกำร (Exhibitions) เป็นกำรจัดส่ิงของ จัดป้ำยนิเทศหรือกำรนำประสบกำรณ์หลำย ๆ อย่ำงผสมผสำนกัน รวมทั้งมีกำรสำธิตและกำรฉำยภำพยนตร์ประกอบเพื่อให้ประสบกำรณ์ในกำรเรียนรู้แก่ผู้เรียนหลำยด้ำน เน้ือหำท่ีนำเสนออำจเป็นภำพถ่ำย ภำพวำดพร้อมคำบรรยำย หรือใช้เทคโนโลยี วิธกี ำรอย่ำงใดอยำ่ งหนึ่ง ให้ผเู้ รยี นรว่ มกิจกรรม ตอบปัญหำ หรือสมั ผัสสื่อที่แสดงก็ได้ ข้ันที่ 7 โทรทัศน์ศึกษำ (Television) เป็นกำรให้ประสบกำรณ์กับผู้เรียนโดยผ่ำนช่องทำง คือตำดู หูฟัง ผเู้ รยี นสำมำรถหำชมได้ภำยในห้องเรียน ศูนยก์ ำรเรียน หรือภำยในบำ้ นกไ็ ด้ กำรสอนอำจเปน็รำยกำรสดหรือเป็น รำยกำรที่บันทึกลงเทปวีดิทัศน์ ซีดี ดีวีดี หรือวีดิทัศน์ตำมอัยธยำศรัย (VOD: VDOon Demand) เป็นตน้ ข้ันท่ี 8 ภำพยนตร์ (Motion Picture) เป็นกำรบันทึกภำพเร่ืองรำว ภำพเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ลงบนแผ่นฟิล์ม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบกำรณ์จำกกำรได้เห็น และกำรได้ยินเช่นเดียวกับโทรทัศน์และวีดิทัศน์ ผู้เรียนได้เรียนด้วยกำรเห็นและได้ยินเสียงเหตุกำรณ์ และเร่ืองรำวต่ำงๆ ได้มองเห็นภำพในลกั ษณะกำรเคลอ่ื นไหวเหมอื นจริงไปพร้อมๆกนั ข้ันที่ 9 กำรบันทึกเสียง วิทยุ และภำพน่ิง (Recording, Radio and Still Pictures) แบ่งเป็น 2ลกั ษณะ คือ สื่อทีใ่ ห้เฉพำะเสยี ง ได้แก่ แผ่นเสียง และแถบบนั ทกึ เสียง (Cassette tape) ซ่ึงต้องอำศัยเรื่องกำรขยำยเสียง และสื่อที่ให้เฉพำะภำพ ได้แก่ ภำพวำด ภำพถ่ำย แผ่นภำพโปร่งใสท่ีใชก้ ับเครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ (Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภำพนิ่งจำกคอมพิวเตอร์ และภำพบันทึกเสียงท่ีใช้กับเครื่องฉำยภำพทึบแสง(Overhead projector) กำรรับรู้ของผู้เรียนในข้ันน้ีจะต้องใช้เวลำ ใช้ประสบกำรณเ์ ดิมมำกกวำ่ ข้นั ท่ี 1-8 จงึ สำมำรถเข้ำใจเนอ้ื หำเรอ่ื งรำวทีน่ ำเสนอได้ ขั้นท่ี 10 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols) เป็นส่ือท่ีเฉพำะกำรเห็นโดยใช้สัญลักษณ์ต่ำง ๆแทนควำมเป็นจริงของข้อมูลหรือสิ่งของ มีควำมเป็นนำมธรรมมำกขึ้น จำเป็นท่ีจะต้องคำนึงถึงประสบกำรณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐำน ในกำรเลือกนำไปใช้ เช่น แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ เคร่ืองหมำยและสัญลกั ษณต์ ่ำง ๆ เป็นต้น ขั้นท่ี 11 วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) เป็นประสบกำรณ์ขั้นสุดท้ำย ซ่ึงเป็นนำมธรรมทส่ี ดุ และเป็นประสบกำรณ์ท่ผี ้เู รยี นรบั รู้น้อยท่ีสุด เช่น ตัวหนงั สือในภำษำเขยี น คำพูดในภำษำพดูบทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณติ า วรรณพิรณุ

20 QR Code ควำมรเู้ พ่ิมเตมิ How to retain more of what you learn - Cone of Experience By Edgar Dale ผลกำรวิจัยของมหำวิทยำลัยฮำร์วำร์ด ตีพิมพ์ในวำรสำร Harvard Business Review แสดงให้เห็นถึงค่ำร้อยละจำกกำรจัดกิจกรรมท่ีต่ำงกันแต่ละอย่ำง โดยกิจกรรมท่ีต่ำงกันจะทำให้เรำจดจำส่ิงท่ีได้กำรเรียนรู้ต่ำงกันด้วย ซ่ึงสอดคล้องกับปิรำมิดกำรเรียนรู้ (The Learning Pyramid) ของ ที่แสดงให้เห็นถึงค่ำร้อยละจำกกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรใชส้ ่อื กำรเรียนกำรสอนที่ต่ำงกัน จะทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และเก็บควำมรู้ท่ีได้ในควำมทรงจำท่ีแตกต่ำงกัน โดยกำรเรียนในห้องเรียน(Lecture) น่ังฟังบรรยำย จะจำได้เพียง 5% กำรอ่ำนเอง (Reading) จะจำได้เพิ่มข้ึนเป็น 10% กำรฟังและได้เห็น (Audio-Visual) เช่น ดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ จำได้ 20% กำรได้เห็นตัวอย่ำง(Demonstration) จะช่วยให้จำได้ 30% กำรได้แลกเปลี่ยนพดู คุยกัน (Group Discussion) เช่น กำรพดู คยุ แลกเปลยี่ นควำมรู้กันในกลมุ่ จะช่วยให้จำไดถ้ ึง 50% กำรได้ทดลองปฏิบัติเอง (Practice) จะจำได้ถึง 75% และกำรได้สอนผู้อ่ืน (Teaching Other) เช่น กำรติว หรือกำรสอน จะช่วยให้จำได้ถึง90% ดังภำพที่ 1.5 ดงั นี้ภำพท่ี 1.5 ปริ ำมดิ กำรเรยี นรู้ (The Learning Pyramid) ที่มำ : http://cte-blog.uwaterloo.ca/?p=1097บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอ่ื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ

21 จำกผลงำนวจิ ัยทีศ่ กึ ษำวิธีเรียนรทู้ ีส่ ง่ ผลต่อกำรเรียนรู้ ทแ่ี สดงในภำพที่ 1.5 ปริ ำมิดกำรเรยี นรู้แบง่ วิธกี ำรเรียนรอู้ อกเปน็ 2 กลุ่ม ดงั นี้ กลุ่มที่ 1 Traditional Passive ประกอบด้วย กำรฟังบรรยำยในห้องเรียน กำรอ่ำน กำรได้ดูและไดย้ ินเสียง กำรสำธิตทำให้ดู เป็นกำรเรียนรู้ท่ีเร่ิมจำกคนอนื่ แล้วนำมำสู่กำรเรียนรู้ของตัวผู้เรียนเอง(Outside-in) โดยรับกำรถ่ำยทอดส่ิงท่ีผ่ำนกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์จำกผู้เข้ำใจหรือมีควำมรู้ในเร่ืองนัน้ ๆในลกั ษณะกำรเรยี นร้เู ชงิ อปุ นยั (Inductive learning) กลุ่มท่ี 2 Teaming Active ประกอบด้วย กำรอภิปรำยพูดคุยกันในกลุ่มย่อย กำรลงมือปฏิบัติและกำรสอนหรอื ถำ่ ยทอดสง่ิ ทที่ ำได้ให้คนอ่นื เป็นกำรเรียนรูท้ ี่ต้องทำควำมเข้ำใจดว้ ยตนเอง แล้วสะทอ้ นออกมำด้วยกำรปฏิบัติ (Inside-out) เป็นกำรเรียนแบบเข้ำใจข้ำงในตวั เองก่อนแล้วถึงจะถ่ำยทอดควำมรู้นั้นให้แก่คนอ่ืน เป็นกำรเรียนแบบค่อยๆตกผลึกส่ิงที่เห็น ส่ิงที่สังเกตแล้วมำปะติดต่อเป็นแนวคิด หรือหลักกำร ในลกั ษณะกำรเรียนรเู้ ชงิ นิรนยั (Deductive learning) วิธีกำรเรียนรู้แบบ Teaming Active มีประสิทธิภำพของกำรเรียนรู้ดีกว่ำ วิธีกำรเรียนรู้แบบTraditional Passive เนอ่ื งจำกสำมำรถทำใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ กำรเรยี นรใู้ นในระดบั ท่ีลกึ มำกกวำ่ 2.2 สอ่ื การเรยี นการสอนแบ่งตามลักษณะทีใ่ ช้ส่ือความหมายทางเสยี งและภาพ Robert E. de Kieffer แบ่งสื่อกำรสอนออกเป็น 2 ประเภทตำมลักษณะที่ใช้สื่อควำมหมำยทำงเสียงและภำพรวมเรียกว่ำ “ส่ือโสตทัศน์” (audiovisual materials) ในปัจจุบันมีส่ือโสตเพ่มิ ขึ้นมำกจำกทีเ่ ดอ คฟี เฟอร์ รวมเป็น 3 ประเภท ดังน้ี (สถำบันกำรศึกษำทำงไกล, 2553) 1. สือ่ ไม่ใช้เคร่ืองฉำย (Non-projected Materials) เป็นสื่อทีใ่ ช้กำรทำงทัศนะโดยไมต่ อ้ งใช้เคร่ืองฉำยร่วมด้วย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่สื่อภำพ (Illustrative Materials) เป็นส่ือท่ีสำมำรถถ่ำยทอดเนื้อหำ เช่น ภำพกรำฟิก กรำฟ แผนท่ี ของจริง ของจำลอง กระดำนสำธิต(Demonstration Boards) ใช้ในกำรนำเสนอเนื้อหำ เช่นกระดำนชอล์ก กระดำนนิเทศ กระดำนแมเ่ หลก็ กระดำนผ้ำสำลี ฯลฯ และกิจกรรม (Activities) 2. ส่ือเคร่ืองฉำย (Projected and Equipment) เป็นวัสดุและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อกำรส่ือสำรด้วยภำพหรือทั้งภำพทั้งเสียง อุปกรณ์มีทั้งแบบฉำยตรงและฉำยอ้อมเพื่อถ่ำยทอดเนื้อหำจำกวัสดุแตล่ ะประเภทที่ใช้เฉพำะอุปกรณ์นั้นเพ่ือให้เป็นภำพปรำกฏข้ึนบนจอเช่นเคร่ืองฉำยข้ำมศีรษะใช้กับแผ่นโปร่งใส เครื่องฉำยสไลด์ ใช้กับแผ่นฟิล์มสไลด์ หรือให้ทั้งภำพและเสียง เช่น เคร่ืองฉำยภำพยนตร์ฟลิ ์ม เคร่ืองเล่นดวี ีดีใช้กับวีซีดีและดีวดี ี เหล่ำนี้เป็นตน้ นอกจำกน้ียังอำจรวมเคร่ืองถ่ำยทอดสัญญำณ คือ เครื่องแอลซีดีที่ใช้ถ่ำยทอดสัญญำณจำกคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นวีซีดี เข้ำไว้ในเคร่ืองด้วยเพอ่ื นำสญั ญำณภำพจำกอุปกรณเ์ หลำ่ นนั้ ขนึ้ จอภำพ 3. ส่ือเสียง (Audio Materials and Equipment) เป็นวัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อกำรส่ือสำรด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะใช้ถ่ำยทอดเนื้อหำจำกวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพำะกับอปุ กรณ์นั้นเพื่อเปน็ เสียงให้ได้ยิน เช่น เครื่องเล่นซีดใี ชก้ ับแผ่นซีดี เคร่ืองเล่น/บนั ทึกเทปใชก้ ับเทปเสียงหรอื อำจเปน็ อุปกรณ์ในกำรถำ่ ยทอดสญั ญำณเสยี งดงั เช่นวทิ ยุทร่ี ับสญั ญำณเสียงจำกแหล่งสง่ โดยไม่ตอ้ งใช้วสั ดใุ ดๆในกำรนำเสนอเสียงบทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอื่ การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ุณ

22 2.3 สอ่ื การเรียนการสอนแบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ กรมวิชำกำร (2545) แบ่งประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอนแบ่งตำมลักษณะทำงกำยภำพโดยได้นำทุกสิ่งรอบตัวผู้เรียน เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ เหตุกำรณ์ สถำนที่ รวมท้ังควำมคิดท่ีเอ้ือให้เกิดกำรเรยี นรมู้ ำใช้เปน็ ส่อื กำรเรียนกำรสอนและเรียกสิ่งเหล่ำน้ันว่ำ สื่อกำรเรียนรู้ โดยจำแนกสอื่ กำรเรยี นรู้น้ีเป็น3 ประเภท ดังนี้ 1. ส่อื สิ่งพมิ พ์ หมำยถึง สิ่งพมิ พ์ต่ำง ๆ ซ่ึงแสดงหรือจำแนก หรือเรียบเรยี งสำระควำมรู้โดยใช้ตัวหนังสือท่ีเป็นตัวเขียน หรือตัวพิมพ์เป็นสื่อ เพ่ือแสดงควำมหมำย เช่น เอกสำร หนังสือ ตำรำหนังสือพมิ พ์ นติ ยสำร วำรสำร จดหมำยเหตุ บันทึก รำยงำน วิทยำนพิ นธ์ เปน็ ตน้ 2. สื่อเทคโนโลยี หมำยถึง สิ่งท่ีผลิตขึ้นเพื่อใช้ควบคู่กับเคร่ืองมือโสตทัศนูปกรณ์ หรืออุปกรณ์ หรือกระบวนกำรที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น วีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง สไลด์ ซีดี บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน กำรใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเพอ่ื กำรเรียนกำรสอน กำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม ฯลฯ 3. สื่ออ่ืน ๆ เป็นส่ือที่ใชส้ ำหรับท้องถ่ินท่ีขำดแคลนส่ือส่ิงพิมพ์และส่อื เทคโนโลยี แบ่งเป็น 4ประเภท ดังนี้ 3.1 ส่ือบุคคล หมำยถึง บุคคลท่ีมีควำมรู้ควำมสำมำรถ ควำมเช่ียวชำญเฉพำะด้ำน ซ่ึงสำมำรถทำหน้ำที่ถ่ำยทอดเน้ือหำสำระ ควำมรู้ แนวคิด เจตคติ และวิธีปฏิบัติไปสู่บุคคลอ่ืนส่ือบุคคลอำจเป็นบุคลำกรที่อยู่ในแวดวงกำรศึกษำ เช่น ผู้บริหำร ผู้สอน หรือเป็นบุคลำกรภำยในท้องถิ่น ที่มีควำมชำนำญและเชี่ยวชำญในสำขำอำชีพต่ำง ๆ 3.2 ส่ือธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เป็นสื่อที่มีควำมสำคัญในกำรสร้ำงประสบกำรณ์และเสริมกำรเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นส่ิงที่อยู่รอบตัวผู้เรียน เช่น พืช ผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่ำง ๆ ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ สภำพดนิ ฟ้ำอำกำศ หอ้ งสมุดชมุ ชน สังคมและวัฒนธรรม 3.3 ส่ือกิจกรรม/กระบวนกำร หมำยถึง กิจกรรมหรือกระบวนกำรที่ผู้สอนหรือผู้เรียนกำหนดขึน้ เพ่อื เสรมิ สร้ำงประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ หรอื ใชใ้ นกำรฝกึ ทักษะโดยกำรใช้กระบวนกำรคิด กำรปฏบิ ัติ กำรเผชญิ สถำนกำรณ์ และกำรประยุกต์ควำมรขู้ องผเู้ รียน เชน่ กำรแสดงละคร บทบำทสมมุติ กำรสำธติ กำรจัดนิทรรศกำร กำรทำโครงงำน ฯลฯ 3.4 สื่อวัสดุ/เคร่ืองอุปกรณ์ หมำยถึง วสั ดุท่ีประดิษฐ์ข้ึนสำหรับประกอบกำรเรียนรู้ หรือเคร่ืองมือและอุปกรณ์สำหรับกำรใช้กับสื่อวัสดุ หรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับกำรปฏิบัติงำนต่ำง ๆ เช่นหุ่นจำลอง แผนภูมิ แผนที่ แผนสถิติ อปุ กรณท์ ดลอง วิทยำศำสตร์ ชดุ ประลอง ชุดฝกึ เป็นตน้บทท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่อื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ

23 2.4 สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามทรพั ยากรการเรยี นรู้ Ely (1972) จำแนกส่ือกำรเรียนกำรสอนตำมทรัพยำกรกำรเรียนรู้ โดยแบ่งได้เป็นสื่อที่ออกแบบขึ้นเพ่ือจุดมุ่งหมำยทำงกำรศึกษำ (by design) และส่ือที่มีอยู่ทั่วไปแล้วนำมำประยุกต์ใชใ้ นกำรเรยี นกำรสอน (by utilization) 5 รูปแบบ ดังน้ี 1. คน (People) หมำยถึง บุคลำกรท่ีอยู่ในระบบของกำรศึกษำ เช่น ผู้สอน ผู้แนะนำกำรศึกษำ ผู้ช่วยสอน ผู้ท่ีอำนวยควำมสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ ผู้บริหำร บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และบุคลำกรนอกระบบกำรศึกษำทีเ่ ป็นผู้เชี่ยวชำญในควำมรู้แต่ละด้ำน เช่น ผู้ชำนำญกำรในแต่ละสำขำอำชีพ นักกำรเมือง นักธุรกิจ นักเขียน นักข่ำว ศิลปิน ซ่ึงบุคคลเหล่ำนี้จะเป็นผู้อำนวยควำมสะดวกใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กำรเรียนรู้ 2. วัสดุ (Materials) หมำยถึง วัตถุบรรจุเน้ือหำบทเรียนหรือสำระควำมรู้ ลักษณะรูปแบบของวัสดุกำรศึกษำมีค่อนข้ำงหลำกหลำยข้ึนอยู่กับผู้สอนจะเลือกใช้ เลือกผลิตให้สอดคล้องกับบทเรียน และเหมำะกับผู้เรียน เช่น ส่ือส่ิงพิมพ์ แผ่นโปร่งใส แผ่นสไลด์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เทปบันทึกเสยี งวัสดุอเี ล็กทรอนกิ ส์ ฯลฯ 3. อำคำรสถำนท่ี (Settings) หมำยถึง อำคำรสถำนที่ สิ่งแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับทรัพยำกรคน ทรัพยำกรวัสดุและส่งผลกับกำรเรียนรู้ของผู้เรียน สถำนท่ีสำหรับกำรศึกษำ ได้แก่อำคำรเรียน และสถำนท่ีที่ออกแบบมำเพ่ือกำรเรียนกำรสอน เช่น ห้องปฏิบัติกำรประลองห้องปฏิบัติกำรคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติกำรทำงภำษำ ห้องสมุด หอประชุม รวมถึงสถำนท่ีต่ำงๆในชุมชนสำมำรถประยุกต์เพ่ือเป็นสื่อสำรเรียนกำรสอนแหล่งทรัพยำกรกำรเรียนรู้ เช่น วัด สถำนประกอบกำร โรงงำน พิพิธภณั ฑ์ ท้องฟำ้ จำลอง และสถำนท่ีสำคัญทำงประวัติศำสตร์ เป็นตน้ 4. เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ (Tools and Equipment) หมำยถงึ เครื่องมอื เครอ่ื งใช้ต่ำง ๆที่ช่วยในกำรผลิตหรือใช้ร่วมกับส่วนอื่น ๆ ในกำรเรียนกำรสอน เป็นทรัพยำกรทำงกำรเรียนรู้เพอ่ื ช่วยในกำรผลิตหรือใช้ร่วมกับทรัพยำกรอ่ืนๆ ส่วนมำกมักเป็น โสตทัศนูปกรณ์หรือเคร่ืองมือต่ำงๆ ท่ีนำมำใชป้ ระกอบหรอื อำนวยควำมสะอำดในกำรเรียนกำรสอน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉำยขำ้ มศรี ษะและเคร่อื งเลน่ วซี ดี ี ดีวีดี เป็นต้น 5. กิจกรรม (Activities) หมำยถึง เทคนิควิธีกำรพิเศษที่จัดข้ึนเพื่อผลในกำรเรียนกำรสอนในรูปแบบของกิจกรรมโดยไมม่ ีข้อกำหนดท่ตี ำยตวั ขน้ึ อยู่กบั จุดประสงคท์ ผี่ ูส้ อนตง้ั ขน้ึ กจิ กรรมทใ่ี ชใ้ นกำรเรียนกำรสอนมักจัดขึ้นเพ่ือร่วมกระทำทรัพยำกรอื่นๆ เช่น กำรอภิปรำย กำรเสวนำกลุ่มย่อย กำรแสดงบทบำทสมมุติ กำรเรียนกำรสอนโดยใช้เกมกำรสอน กำรใช้สถำนกำรณ์จำลอง กำรจัดนิทรรศกำรและกำรทศั นศกึ ษำ เปน็ ต้นบทท่ี 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอ่ื การศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ

246. บทสรปุ กำรเปล่ียนแปลงของสภำวกำรณ์โลกที่ก้ำวสู่โลกแห่งกำรเรียนรู้เทคโนโลยีนำนำประเทศต่ำงพยำยำมปรับกลยุทธ์ เพื่อยกระดับศักยภำพของสังคมด้วยกำรนำเทคโนโลยีร่วมสมัยถึงผลกระทบในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศในสังคม 4 ด้ำน คือ ด้ำนควำมรู้เทคโนโลยีสำรสนเทศช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรขยำยขอบเขตของควำมรทู้ ั้งในแนวลึกและแนวกวำ้ งใหแ้ กผ่ ู้ศึกษำ คน้ คว้ำ ดำ้ นกำรทำให้เกิดอำชพีใหม่และทุกคนจำเป็นต้องมีควำมรู้และทักษะทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ด้ำนกำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนควำมสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม รวมทั้งควำมไม่เท่ำเทียมกัน ในสังคม และด้ำนกำรอำนวยควำมสะดวกทั้งในด้ำนกำรศึกษำ กำรดำรงชีวติ ชว่ ยในกำรคดิ กำรตัดสินใจ และประหยดั เวลำ จะเห็นได้ว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร มีส่วนสัมพันธ์หรือเอื้อต่อกำรศึกษำท้ังในด้ำนกำรเรียนกำรสอน กำรวิจัย กำรบริหำร และกำรบริกำรสังคม ดังน้ันนักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำนักออกแบบกำรเรียนกำรสอน ครู อำจำรย์ ควรมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเก่ียวกับทฤษฎีกำรสื่อสำร ซ่ึงประกอบด้วย ต้นแหล่งสำร (Communication Source) ผู้เข้ำรหัส (Encoder) สำร (Message)ช่องทำง (Channel) ผู้ถอดรหัส (Decoder) และผู้รับสำร (Communication Receiver) รวมถึงส่ือกำรสอนประเภทต่ำง ๆ ท่ีมีคุณลักษณะและจุดมุ่งหมำยในกำรใชส้ ื่อท่ีแตกต่ำงกัน เพื่อออกแบบกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนให้มปี ระสทิ ธภิ ำพและบรรลุเปำ้ หมำยของกำรเรยี นตำมท่กี ำหนดไว้บทท่ี 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ุณ

257. เอกสารอา้ งอิงAnderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (Eds.). (2001). A taxonomy for learning, teaching and assessing: A revision of Bloom's Taxonomy of educational objectives: Complete edition, New York: Longman.Berlo, David K. (1960). The process of communication: an introduction to theory and practice. New York : Holt, Rinehart and Winston.Dale, Edgar. (1969). Audio-visual methods in Teaching. (3rd ed.). New York: The Dryden Press.Dewey, John. (1998) Experience and Education: The 60th Anniversary Edition . Kappa Delta Pi: West Lafayette IN.Lalley, James P. & Robert H. Miller. (2007). The Learning Pyramid: Does It Point Teachers in the Right Direction?. Education 128, No. 1: 64-79.Noble, T. (2004). Integrating the revised bloom's taxonomy with multiple intelligences: A planning tool for curriculum differentiation, Teachers College Record. (Vol. 106, pp. 193): Blackwell Publishing Limited.Rogers, E. M. (1995). Diffusion of Innovations, 4th Edition. 1995. New York: The Free Press; 1995Rogers, E. M. (2003). Diffusion of innovations. (5th ed.). New York, NY: Free PressRogers, E. M., & Shoemaker, F. (1978). Communication of innovations: A cross-cultural approach. New York: Free Press.Seel, B. B., & Richey, R. C. (1994). Instructional Technology: The Definition and Domains of the field. Washington, DC Association for Educational Communications and Technology.กรมวชิ ำกำร. (2545). คมู่ อื พฒั นำสอื่ กำรเรยี นรู้. กรงุ เทพมหำนคร: โรงพมิ พค์ ุรุสภำลำดพร้ำว.กิดำนันท์ มลทิ อง. (2548). เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำและนวตั กรรม. กรงุ เทพฯ: อรุณกำรพมิ พ.์ถนอมพร เลำหจรสั แสง. (2545.) กำรออกแบบและกำรสร้ำงเวบ็ เพื่อกำรเรยี นกำรสอน Designing e-Learning. กรงุ เทพฯ: อรุณกำรพมิ พ.์ปทปี เมธำคณุ วุฒ.ิ (2544). เทคโนโลยสำี รสนเทศเพื่อกำรบรหิ ำรสถำบนั อดุ มศึกษำ. กรงุ เทพฯ: จฬุ ำลงกรณมหำวิทยำลัยบทที่ 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อการศกึ ษา ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรณุ