การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาหรับการจัดการเรยี นรู้ ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดตอ่ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ รายวชิ าพื้นฐาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 โดย นางสมฤทัย แจง้ สว่าง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นศรีสุขวทิ ยา ตาบลดอนชมพู อาเภอโนนสงู จงั หวัดนครราชสีมา สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครราชสมี า
คานา เอกสารการวิเคราะห์ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาหรบั การจดั การเรียนรู้ ปีการศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณแ์ พร่ ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ รายวิชาพ้ืนฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพ่ือวิเคราะห์ตัวช้ีวัดและสาระ การเรียนรู้แกนกลางให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยทาการวิเคราะห์ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางที่ตอ้ งรู้และควรรู้ เน่อื งจาก ในปกี ารศกึ ษา 2564 เกดิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทาให้มีการหยุดเรียนและจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ดังน้ัน เพื่อให้ สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามหลักสูตรฯ ทางสานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้แจ้งแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ี เน้นตัวช้ีวัดต้องรู้ และ บูรณาการตัวชี้วัดควรรู้กับกิจกรรมภาคปฏิบัติหรือภาระงานองนักเรียน ตามหนังสือท่ี ศธ 04010/ว 1228 เร่ือง ซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับแนวปฏิบัติการนับเวลาเรียน การสอนชดเชย การ จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปีการศึกษา 2564 และการอนุมัติจบการศึกษาภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563( หลงั วันท่ี 15 พฤษภาคม 2564) ลงวนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 (ขอ้ 3. การจัดการเรยี นร้ตู ามหลักสูตร) ทางผู้จดั ทา หวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ เอกสารเล่มนี้ จะมีประโยน์ต่อการจัดการเรยี นการสอน เกดิ ผลดีต่อ ผ้เู รียนและเปน็ ประโยชน์ตอ่ เพื่อนครทู า่ นอ่ืน ๆ ไดน้ าไปปรบั ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเอง ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียนศรีสุขวิทยา กลุ่มงานบริหารวิชาการ และหัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่ไดต้ ิดตาม สนับสนนุ และใหค้ าแนะนากาลงั ใจ ในการจัดทาหลักสูตรฉบับ นใ้ี หส้ าเร็จลุล่วงดว้ ยดี สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ สมฤทยั แจง้ สว่าง
สารบัญ หน้า คานา สารบัญ 1. ความนา 1 2. วสิ ยั ทัศนข์ องกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1 3. เปา้ หมายของวทิ ยาศาสตร์ 1 4. เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ 2 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 4 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 5 7. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 5 8. คุณภาพผเู้ รียน 9 9. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 13 10. ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลางต้องรู้และควรรู้ 16 รายวชิ าพ้ืนฐาน : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 11. การวิเคราะหต์ วั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางต้องรแู้ ละควรรู้ 30 รายวชิ าพื้นฐาน : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 10. คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ า 36 11. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 40 12. เกณฑ์การจบการศกึ ษา 41 ภาคผนวก - หนงั สอื ท่ี ศธ 04010/ว 1228 เรือ่ ง ซักซอ้ มความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏบิ ตั ิการนับเวลาเรียน การ สอนชดเชย การจัดการเรียนร้ตู ามหลักสูตรปีการศึกษา 2564 และการอนุมัตจิ บการศึกษาภาค เรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563(หลงั วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2564) ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 - โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นศรีสุขวทิ ยา พุทธศักราช 2561 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ความนา ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ สาระโลก ดาราศาสตร์และ อวกาศ ซ่ึงองค์ประกอบของหลักสูตรทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้นั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ให้มี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน ต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ไดก้ าหนดตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพ่ือให้สามารถ นาความรู้น้ีไปใช้ในการดารงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลาดับความยากง่าย ของเน้ือหาแต่ละสาระในแต่ละระดับช้ันให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรูท้ ี่สง่ เสริมให้ผ้เู รียนพัฒนาความคิด ทงั้ ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสรา้ งสรรค์ คดิ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ มที กั ษะที่ สาคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลายและ ประจกั ษพ์ ยานทีต่ รวจสอบได้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสุขวิทยา พุทธศักราช 2561 น้ี จัดทาข้ึนโดยยึด กรอบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซึ่งมีการปรบั ปรงุ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ให้มีความสอดคลอ้ งและเช่อื มโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกันและระหวา่ ง สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับ คณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ียังได้ปรับปรุงเพ่ือให้มีความทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของ วิทยาการต่างๆ และทดั เทยี มกับนานาชาติ วสิ ยั ทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสุขวิทยา มุ่งม่ันพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถเต็ม ศักยภาพ นาความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและ การศึกษา มเี หตผุ ล มีเจตคติทีด่ ตี อ่ วทิ ยาศาสตร์ พัฒนาการคดิ อย่างเปน็ ระบบและสร้างสรรค์ เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากท่ีสุด เพ่ือให้ได้ทั้ง กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลที่ได้มาจัดระบบเป็น หลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จงึ มเี ป้าหมายที่สาคญั ดงั นี้ 1. เพ่ือให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎทีเ่ ปน็ พื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวชิ าวทิ ยาศาสตร์และขอ้ จากดั ในการศึกษาวชิ าวิทยาศาสตร์ 3. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะท่ีสาคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางเทคโนโลยี
2 4. เพื่อใหต้ ระหนักถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งวชิ าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และสภาพแวดล้อมใน เชิงท่มี อี ทิ ธิพลและผลกระทบซึง่ กนั และกนั 5. เพื่อนาความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการ ดารงชีวิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะใน การสอื่ สาร และความสามารถในการตดั สินใจ 7. เพ่ือให้เป็นผทู้ ม่ี ีจิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยา่ งสรา้ งสรรค์ เรียนร้อู ะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และ แก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริง อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชั้นโดยกาหนดสาระสาคญั ดงั นี้ ✧ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ เรียนรูเ้ ก่ยี วกบั ชวี ติ ในส่ิงแวดลอ้ ม องคป์ ระกอบของสิ่งมชี วี ิต การดารงชวี ติ ของ มนุษยแ์ ละสัตว์ การดารงชวี ติ ของพชื พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ ✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคล่ือนท่ี พลงั งาน และคลื่น ✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ ส่งิ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ● วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนและเป็น ระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแก้ปัญหาที่ พบในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
3 วิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมจดั ทาขึ้นสาหรับผู้เรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ที่จาเป็นต้องเรียนเนื้อหาในสาระชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และโลกดาราศาสตร์และอวกาศ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญและ เพียงพอสาหรับการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ในด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาท่ีใช้ วิทยาศาสตร์เป็นฐาน เช่น แพทย์ ทันตแพทย์ สัตวแพทย์เทคโนโลยีชีวภาพ เทคนิคการแพทย์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรมฯลฯ โดยมีผลการเรียนรูที่ครอบคลุมด้านเนื้อหา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 รวมท้ังจิตวิทยาศาสตร์ท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องมี วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมน้ี ได้มีการปรับปรุงเพื่อใหม้ ี เนื้อหาที่ทัดเทียมกับนานาชาติเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา รวมท้ังเช่ือมโยงความรู้สู่การ นาไปใช้ในชวี ติ จรงิ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1. ลดความซา้ ซ้อนของเนื้อหาระหว่างตัวชี้วัดในรายวชิ าพ้นื ฐานและผลการเรยี นรู้ รายวชิ าเพิม่ เตมิ เพื่อให้ ผเู้ รยี นไดม้ เี วลาสาหรบั การเรยี นรู้และทาปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ิมขึ้น 2. ลดความซ้าซ้อนของเนอื้ หาระหวา่ งสาระชวี วิทยา เคมี ฟิสิกส์ และโลกดาราศาสตร์และอวกาศ โดยมี การพิจารณาเนือ้ หาทมี่ คี วามซ้าซอ้ นกนั แล้วจัดใหเ้ รยี นทีส่ าระใดสาระหน่ึง เชน่ - เร่ืองสารชีวโมเลกุล เดิมเรียนท้ังในสาระชีววิทยาและเคมีได้พิจารณาแล้วจัด ให้เรียนในสาระชีววิทยา - เรือ่ งปิโตรเลยี มเดิมเรียนท้ังในสาระเคมีและโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ไดพ้ ิจารณาแลว้ จัดให้เรียนใน สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ - เรอื่ งกฎของบอยล์ กฎของชารล์ ไอโซโทปกัมมันตรังสี ได้พิจารณาแล้วจัดให้เรียนในสาระเคมี และ เรื่องพลงั งานนิวเคลยี รจ์ ดั ให้เรยี นในสาระฟสิ ิกส์ เนอื่ งจากเดิมเน้อื หาเหลา่ นี้ ทับซ้อนกันในสาระเคมีและฟิสิกส์ - เรอื่ งการทดลองของทอมสนั และการทดลองของมลิ ลแิ กน เดิมเรียนท้ังในสาระเคมีและฟิสิกส์ ได้ พจิ ารณาแลว้ จัดใหเ้ รยี นในสาระเคมี 3. ลดความซ้าซอ้ นกนั ระหวา่ งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เช่น - เรอ่ื งระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมในสาระชีววิทยา ไดป้ รบั ให้สาระการเรยี นรู้ เน้อื หาและกจิ กรรม มีความ แตกตา่ งกันตามความเหมาะสมของระดับผเู้ รียน - เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ การเกิดลม การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิของโลก พายุและมรสุม ได้มีการปรับให้ สาระการเรียนรู้ เนื้อหา และกิจกรรม เรียนต่อเน่ืองกันจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปสู่ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย เพือ่ ไมใ่ ห้ซอ้ นทบั กัน 4. ลดทอนเนอื้ หาทย่ี าก เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ ของผู้เรยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 5. มีการเพิ่มเนื้อหาด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัย สอดคล้องต่อการดารงชวี ิตในปจั จุบันและอนาคตมากข้นึ เช่น เร่ืองเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอท่ีมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมใน สาระชีววิทยา เรื่องทักษะและความปลอดภัยใน ปฏิบัติการเคมี นวัตกรรมและการแก้ปัญหา ท่ีเน้นการบูรณาการในสาระเคมี เร่ืองเทคโนโลยีด้านพลังงานและ ส่ิงแวดล้อม การสื่อสารด้วยสัญญาณดิจิทัลที่เหมาะสมกับสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัลในปัจจุบันรวม ทั้งเนื้อหา เกี่ยวกับการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค เพื่อความสอดคล้องกับความก้าวหน้าของวิชาฟิสิกส์ในปัจจุบัน วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมน้ี ถึงแม้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดให้ผู้เรียนได้เรียนตามความเหมาะสมและตามจุดเน้นของ สถานศึกษา แต่ในแนวทางปฏิบัติสถานศึกษาควรจัดให้ผู้เรียนได้เรียนทุกสาระ เพ่ือให้มีความรู้เพียงพอในการ นาไปใช้เพ่ือการศกึ ษาต่อโดยเฉพาะอย่างย่ิงเน้ือหาของวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ที่สถานศึกษามักมองขา้ ม ความสาคัญของการเรียนสาระนี้ ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา รวมทั้งศาสตร์อ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือมาช่วยในการอธิบายและเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆในธรรมชาติท้ังการ เปลย่ี นแปลงบนผวิ โลก การเปลย่ี นแปลงภายในโลก และการเปลีย่ นแปลงทางลมฟา้ อากาศ ซ่งึ กระบวนการ
4 เปลี่ยนแปลงทั้งหมดดังกล่าว ลว้ นส่งผลซึง่ กนั และกัน รวมทง้ั สงิ่ มชี วี ิตด้วย และทส่ี าคัญคือความรู้ในวชิ าน้ีสามารถ นาไปใช้ในการศึกษาต่อเพื่อประกอบอาชีพในหลายๆ ด้าน เช่น อาชีพท่ีเกี่ยวกับวัสดุศาสตร์ การเดินเรือ การบิน การเกษตร การศึกษาประวัตศิ าสตร์ วิศวกร อุตสาหกรรมน้ามันเหมือง นักธรณีวิทยา นักอุตุนิยมวิทยา นักดารา ศาสตร์ นักบินอวกาศ ดังนัน้ พืน้ ฐานความรทู้ างวชิ าโลก ดาราศาสตร์และอวกาศจะช่วยเปดิ โอกาสทางดา้ นอาชีพท่ี หลากหลายให้กับผเู้ รียนเพราะในอนาคตข้างหน้า นอกจากมนุษย์จะตอ้ งมีความเข้าใจเกยี่ วกบั โลกทต่ี ัวเองอาศัยอยู่ แล้วยังต้องพัฒนาตนเองเพ่ือศึกษาข้อมูลต่างๆที่อยู่นอกโลกเพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นกลับมาพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดี ขึ้น เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตรเ์ พ่มิ เติม วิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม ผูเ้ รียนจะไดเ้ รยี นรสู้ าระสาคญั ดงั น้ี 1. ชีววิทยาเรียนรู้เก่ียวกับการศึกษาชีววิทยาสารท่ีเป็นองค์ประกอบของส่ิงมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและการถ่ายทอดวิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพโครงสร้างและการทางานของส่วนต่างๆ ใน พชื ดอกระบบและการทางานในอวัยวะตา่ งๆ ของสตั ว์ และมนุษย์ และสิ่งมชี วี ติ และสิ่งแวดล้อม 2. เคมี เรยี นรูเ้ กี่ยวกับ ปริมาณสาร องค์ประกอบและสมบตั ิของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร ทักษะ และการแก้ปญั หาทางเคมี 3. ฟสิ ิกส์ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาตแิ ละการคน้ พบทางฟิสิกส์ แรงและการเคล่อื นท่แี ละพลังงาน 4. โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับโลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ข้อมูล ทางธรณีวิทยาและการนาไปใช้ประโยชน์ การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของโลก การเปล่ียนแปลงลักษณะลมฟ้า อากาศกับการดารงชีวิตของมนษุ ย์ โลกในเอกภพและดาราศาสตรก์ บั มนษุ ย์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นศรสี ขุ วทิ ยา พทุ ธศักราช 2561ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุ่งให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธกี ารสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพือ่ นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ การตัดสินใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตดั สนิ ใจทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ข้ึนต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัว ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผล กระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่
5 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านตา่ งๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ แก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถ อยูร่ ว่ มกบั ผู้อืน่ ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงไมม่ ีชีวติ กบั ส่งิ มีชีวติ และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาแ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ แกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทงั้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทัง้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวฒั นาการของส่งิ มีชีวติ รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ี แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์
6 สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะ ท่ีสง่ ผลต่อสง่ิ มีชวี ิต และการ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก และ บนผิวโลก ธรณีพิบัตภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทง้ั ผล ตอ่ สิ่งมีชวี ิตและสงิ่ แวดล้อม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชวี ิตในสังคมทมี่ กี ารเปล่ียนแปลง อย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์ อื่นๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรอื พัฒนางานอยา่ งมคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการ ออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชวี ติ จรงิ อย่างเป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม
7 สาระวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม สาระชวี วิทยา 1. เขา้ ใจธรรมชาติของสง่ิ มีชีวติ การศึกษาชวี วทิ ยาและวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์สารทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบของ สงิ่ มชี วี ิตปฏิกิรยิ าเคมีในเซลล์ของสงิ่ มชี วี ติ กล้องจลุ ทรรศน์ โครงสร้างและ หน้าท่ีของเซลล์ การลาเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์ 2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมสมบัติ และหน้าที่ของสาร พันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮารด์วี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ความหลากหลาย ทางชีวภาพกาเนิดของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ และอนุกรมวธิ าน รวมทัง้ นาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 3. เข้าใจส่วนประกอบของพชื การแลกเปล่ียนแกส๊ และคายนา้ ของพืช การลาเลียง ของพืชการสังเคราะห์ ด้วยแสงการสืบพันธข์ุ องพืชดอกและการเจริญเตบิ โตและการตอบสนอของพืช รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 4. เขา้ ใจการย่อยอาหารของสตั ว์และมนษุ ยร์ วมท้งั การหายใจและการแลกเปล่ยี นแกส๊ การลาเลยี งสารและการหมุนเวยี นเลอื ดภมู ิคมุ้ กนั ของรา่ งกาย การขับถ่ายการรับรู้และการตอบสนองการเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพและพฤติกรรมของสัตว์รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 5. เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวยี น สารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนที่ของสิง่ มีชวี ิตในระบบนเิ วศประชากรและรูปแบบการเพ่ิมของ ประชากรทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการ แกไ้ ขปัญหา สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมี และสมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊สประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. เข้าใจการเขยีนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี สมดลุ ในปฏกิ ิริยาเคมี สมบตั ิและปฏิกิรยิ าของกรด-เบส ปฏิกิริยารดี อกซ์และเซลลเ์ คมี ไฟฟา้ รวมทั้งการนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ 3. เขา้ ใจหลกั การทาปฏิบตั ิการเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปล่ียนหน่วยการคานวณปริมาณ ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ใน ชวี ติ ประจาวันและการแก้ปัญหาทางเคมี สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนท่ีแนวตรงแรงและกฎการเคลื่อนที่ ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากลแรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และ กฎการอนรุ ักษ์โมเมนตมั การเคลอ่ื นทแี่ นวโคง้ รวมทง้ั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 2. เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการได้ยินปรากฏการณ์ท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั เสียงแสงและการเห็น ปรากฏการณ์ทเี่ ก่ียวข้องกบั แสงรวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
8 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลูอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักยไ์ ฟฟา้ ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟ้าและกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟา้ การเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า สนามแมเ่ หล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าการเหนี่ยวนา แม่เหล็กไฟฟ้า และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้า กระแสสลบั คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและการสอ่ื สาร รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ และมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบร์นลู ลี กฎของแกส๊ ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊สอดุ มคติและพลังงานในระบทฤษฎีอะตอม ของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะ ของคลื่นและอนุภาคกัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยา นิวเคลยี ร์ พลงั งานนิวเคลียร์ ฟสิ กิ ส์ อนุภาครวมท้ังนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1. เข้าใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมการศึกษา ลาดบั ช้นั หนิ ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใชป้ ระโยชน์ 2. เข้าใจสมดุลพลงังานของโลก การหมนุเวียนของอากาศบนโลก การหมนุเวียนของน้า ในมหาสมุทร การเกดิ เมฆ การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกและผลตอ่ สิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม รวมท้งั การพยากรณอ์ ากาศ 3. เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพกาแล็กซดี าวฤกษแ์ ละระบบ สรุ ิยะ ความสัมพนั ธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาตาแหน่ง ดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสุริยะ รวมทงั้ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ
9 คณุ ภาพผ้เู รยี น จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบท่ีสาคัญของเซลล์ส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทางานของระบบ ต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ การดารงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือ โครโมโซม และตวั อยา่ งโรคทเี่ กดิ จากการเปลี่ยนแปลงทางพันธกุ รรม ประโยชน์และผลกระทบของสงิ่ มชี ีวติ ดดั แปร พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการถ่ายทอดพลังงานใน สิง่ มชี วี ติ ❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบัติ ทางกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวัสดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ และวสั ดุผสม ❖ เข้าใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรงแรงท่ีปรากฏใน ชีวิตประจาวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน ไฟฟา้ และหลกั การเบอื้ งต้นของวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่างๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและทศั น อปุ กรณ์ ❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์ การ เกิดข้างข้ึนข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้าข้ึนน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และ ความกา้ วหน้าของโครงการสารวจอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของช้ันบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์และการใชป้ ระโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะ โครงสรา้ งภายในโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง ทางธรณีวทิ ยาบนผิวโลก ลกั ษณะชั้นหนา้ ตัดดิน กระบวนการเกิด ดิน แหล่งนา้ ผวิ ดนิ แหลง่ นา้ ใตด้ ิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณีพบิ ตั ิภัย ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้างผลงานสาหรับการแก้ปัญหาในชวี ิตประจาวันหรอื การประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทัง้ คานึงถงึ ทรพั ย์สินทางปัญญา ❖ นาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตาม วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือช่วยใน การแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอยา่ งรเู้ ท่าทนั และรับผดิ ชอบต่อสงั คม
10 ❖ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาท่ีเช่ือมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีการ กาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสามารถนาไปสู่การสารวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม เลือกใช้เคร่ืองมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเท่ียงตรงและ ปลอดภยั ❖ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคลอ้ งของข้อมูลทีไ่ ด้จากการสารวจตรวจสอบจากพยานหลกั ฐาน โดย ใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและส่ือสารความคิด ความรู้ จากผล การสารวจตรวจสอบหลากหลายรปู แบบ หรอื ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรค์ เก่ียวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ ศึกษ า ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน และยอมรับการ เปลย่ี นแปลงความร้ทู ีค่ น้ พบ เมอ่ื มขี ้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขน้ึ หรือโตแ้ ย้งจากเดิม ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจาวันใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตรต์ ่อ สิ่งแวดลอ้ มและตอ่ บริบทอ่ืนๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรอื สร้างชิ้นงานตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และ ความหลากหลายทางชวี ภาพ จบช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ❖ เข้าใจการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันในร่างกาย ของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโนชน์จากสารต่างๆ ที่พืชสร้างข้ึน การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการที่ทาให้เกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความสาคัญและผลของเทคโนโลยที างดีเอ็นเอตอ่ มนุษย์ สงิ่ มีชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบ นิเวศ ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อม ❖ เข้าใจชนดิ ของอนภุ าคสาคัญทีเ่ ป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัตบิ างประการของธาตุ การ จัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรง ยึดเหน่ียว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี และการเขยี นสมการเคมี ❖ เข้าใจปริมาณท่ีเก่ียวกับการเคลือ่ นท่ี ความสัมพันธร์ ะหว่างแรง มวลและความเรง่ ผลของความเรง่ ทมี่ ี ต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่างๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟ้า และแรงภายในนวิ เคลียส ❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็น พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเล้ียวเบนและการรวมคล่ืน การได้ยิน ปรากฏการณท์ เี่ กี่ยวข้องกบั เสยี ง สกี ับการมองเห็นสี คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และประโยชนข์ องคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า
11 ❖ เข้าใจการแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีท่ี สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝา้ ระวัง และการปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัย ❖ เขา้ ใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลสิ ทม่ี ีต่อการหมุนเวียนของ อากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของ อากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ที่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาคัญจากแผนที่ อากาศ และข้อมลู สารสนเทศ ❖ เข้าใจการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ขิ องเอกภพ หลกั ฐานทีส่ นบั สนุน ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและ การสร้างพลังงาน ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติ มาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการ เปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้ือต่อการดารงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลท่ีมีต่อโลก รวมทั้งการสารวจ อวกาศและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ❖ ระบุปัญหา ต้ังคาถามท่ีจะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ สบื ค้นขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ตัง้ สมมตฐิ านทเี่ ป็นไปไดห้ ลายแนวทาง ตดั สินใจเลอื กตรวจสอบสมมติฐานทเ่ี ปน็ ไปได้ ❖ ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ท่ีแสดงให้ เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลมุ และเชื่อถือได้ สร้าง สมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพ่ือนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสารวจ ตรวจสอบตามสมมตฐิ านทกี่ าหนดไวไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม มีหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์ รวมท้ังวิธกี ารใน การสารวจตรวจสอบอย่างถกู ตอ้ งทั้งในเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ และบันทกึ ผลการสารวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ ❖ วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ สรปุ เพ่ือตรวจสอบกับสมมติฐาน ที่ต้ังไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จัดกระทาข้อมูลและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจโดยมีหลักฐานอ้างอิงหรือมีทฤษฎรี องรับ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้ เคร่ืองมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการ เปลย่ี นแปลงได้ ❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางานร่วมกับ ผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตผุ ลประกอบเก่ียวกับผลของการพัฒนาและการ ใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างมีคุณธรรมตอ่ สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน ❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่างๆ และการ พัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และ สงิ่ แวดล้อม
12 ❖ ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ความร้แู ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดารงชวี ิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืน ชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานท่ีเป็นผลมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพ่มิ เติม ทาโครงงานหรือสรา้ งช้ินงานตามความสนใจ ❖ แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของ ทอ้ งถนิ่ ❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวติ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ้ ม ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบสรา้ งหรือพัฒนาผลงาน สาหรับแก้ปญั หาท่ีมผี ลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมอื ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทัง้ คานึงถงึ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ❖ ใช้ความรู้ทางด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สือ่ ดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร เพ่ือรวบรวม ข้อมูลในชีวติ จริงจากแหลง่ ตา่ งๆ และความรู้จากศาสตรอ์ ื่น มาประยกุ ต์ใช้ สร้างความรใู้ หม่ เข้าใจการเปลย่ี นแปลง ของเทคโนโลยที ี่มีผลตอ่ การดาเนินชวี ติ อาชพี สังคม วฒั นธรรม และใช้อยา่ งปลอดภัย มจี รยิ ธรรม
13 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4
14 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ แก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ัด ว 1.1 ม.4/1 สบื ค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพนั ธ์ของสภาพทางภูมศิ าสตรบ์ นโลกกับความหลากหลาย ของไบโอม และยกตัวอยา่ งไบโอมชนดิ ต่าง ๆ ว 1.1 ม.4/2 สบื ค้นข้อมลู อภิปราย สาเหตุ และยกตวั อยา่ งการเปล่ยี นแปลงแทนท่ีของระบบนเิ วศ ว 1.1 ม.4/3 สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายและยกตวั อย่างเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพ และทางชวี ภาพท่มี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรสง่ิ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ ว 1.1 ม.4/4 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเก่ียวกับปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งนาเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทง้ั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.4/1 อธิบายโครงสรา้ งและสมบัตขิ องเย่ือหุ้มเซลล์ทสี่ มั พนั ธก์ บั การลาเลียงสาร และเปรยี บเทียบ การลาเลยี งสารผ่านเยอ่ื ห้มุ เซลลแ์ บบต่าง ๆ ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของน้าและสารในเลอื ดโดยการทางานของไต ว 1.2 ม.4/3 อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทางานของไตและปอด ว 1.2 ม.4/4 อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของอุณหภมู ภิ ายในรา่ งกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนงั และกล้ามเน้ือโครงรา่ ง ว 1.2 ม.4/5 อธิบายและเขยี นแผนผังเก่ยี วกับการตอบสนองของรา่ งกายแบบไมจ่ าเพาะ และแบบจาเพาะ ตอ่ สง่ิ แปลกปลอมของร่างกาย ว 1.2 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบ ภมู คิ ุ้มกนั ว 1.2 ม.4/7 อธิบายภาวะภูมิคมุ้ กันบกพรอ่ งท่มี สี าเหตมุ าจากเชื้อ HIV ว 1.2 ม.4/8 ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหารท่พี ืชสงั เคราะห์ได้ ว 1.2 ม.4/9 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างเก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ท่ีพืชบาง ชนิดสรา้ งข้ึน ว 1.2 ม.4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอภิปรายเก่ียวกบั ปัจจยั ภายนอกที่มผี ลต่อการเจรญิ เติบโต ของพชื
15 ว 1.2 ม.4/11 สบื คน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชท่ีมนษุ ย์สังเคราะห์ขึน้ และยกตัวอย่าง การนามาประยุกตใ์ ชท้ างดา้ นการเกษตรของพืช ว 1.2 ม.4/12 สังเกต และอธิบายการตอบสนองของพชื ต่อสิง่ เรา้ ในรปู แบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการดารงชวี ติ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี วี ิต รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ัด อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งยีน การสงั เคราะห์โปรตีน และลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ว 1.3 ม.4/1 อธบิ ายหลักการถา่ ยทอดลักษณะท่ีถูกควบคุมด้วยยีนที่อย่บู นโครโมโซมเพศและมลั ติเปิลแอล ว 1.3 ม.4/2 ลลี อธบิ ายผลทเ่ี กดิ จากการเปลย่ี นแปลงลาดับนวิ คลโี อไทด์ในดเี อน็ เอตอ่ การแสดงลกั ษณะของ ว 1.3 ม.4/3 ส่ิงมชี วี ติ สบื คน้ ขอ้ มลู และยกตวั อยา่ งการนามวิ เทชันไปใชป้ ระโยชน์ ว 1.3 ม.4/4 สบื คน้ ข้อมลู และอภปิ รายผลของเทคโนโลยที างดีเอน็ เอท่ีมตี ่อมนุษย์และสิง่ แวดลอ้ ม ว 1.3 ม.4/5 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตซึ่งเป็นผลมาจาก ว 1.3 ม.4/6 วิวฒั นาการ
16 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ รายวิชาพนื้ ฐาน ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ช้ัน ที่ รหัสตัวชี้วดั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 1 ว 1.1 ม.4/1 ว 1.1 ม.4/2 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ธิ บ า ย บริเวณของโลกแต่ละบริเวณมีสภาพ 2 ว 1.1 ม.4/3 ความสัมพันธ์ของสภาพทาง ทางภมูศิาสตร์ที่แตกต่างกัน แบ่งออก 3 ว 1.1 ม.4/4 4 ภู มิ ศ า ส ต ร์ บ น โ ล ก กั บ ค ว า ม ได้เป็นหลายเขตตามสภาพภูมิอากาศ หลากหลายของไบโอม และ และปริมาณน้าฝน ทาให้มีระบบนิเวศ ยกตัวอยา่ งไบโอมชนิดตา่ ง ๆ ท่ี ห ล า ก ห ล า ย ซ่ึ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ความหลากหลายของไบโอม สืบค้นข้อมูล อภิปราย สาเหตุ การเปล่ียนแปลงของระบบนิเวศเกิดขึ้น และยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง ได้ตลอดเวลาท้ังการเปลี่ยนแปลงท่ี แทนทข่ี องระบบนิเวศ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจาก การกระทาของมนษุ ย์ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ท น ท่ี เ ป็ น ก า ร เปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้น อย่างช้า ๆ เป็นเวลานาน ซึ่งเป็นผลจาก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทาง กายภาพและทางชีวภาพ ส่งผลให้ระบบ นิเวศ เปล่ียนแปลงไปสู่สมดุลจนเกิด สังคมสมบูรณไ์ ด้ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ า ย แ ล ะ การเปล่ียนแปลงขององค์ประกอบใน ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ระบบนิเวศ ทั้งทางกายภาพและทาง เปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบ ชีวภาพมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด ทางกายภาพและทางชีวภาพท่ีมี ของประชากร ผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ ประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดย เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบท่มี ี ปราศจากความระมัดระวัง และมีการ ต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ พฒั นาเทคโนโลยใี หม่ ๆ เพอ่ื ช่วยอานวย สิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังนาเสนอ ความสะดวกต่าง ๆ แก่มนุษย์ ส่งผลต่อ แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา และส่งิ แวดล้อม สิ่งแวดลอ้ ม ปัญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมบางปัญหาส่งผลกระทบใน ระดบั ท้องถ่ิน บางปัญหากส็ ง่ ผลกระทบ ในระดับประเทศ และบางปัญหาส่ง ผลกระทบในระดบั โลก
17 ชน้ั ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 การลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การกาจัดของเสียที่เป็นสาเหตุของปัญหา สิ่งแวดล้อม และการวางแผนจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่ดี เป็นตัวอย่างของ แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการลดปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้น เพอ่ื ใหเ้ กิดการใชป้ ระโยชน์ทีย่ ่งั ยืน 5 ว 1.2 ม.4/1 อธบิ ายโครงสร้างและสมบัติ เย่ือหุ้มเซลล์มีโครงสร้างเป็นเย่ือหุ้มสองชั้น ของเย่ือห้มุ เซลล์ที่สัมพนั ธ์กับ ที่มีลิพิดเป็นองค์ประกอบ และมีโปรตีน การลาเลียงสาร และ แทรกอยู่ เปรยี บเทียบการลาเลียงสาร สารท่ีละลายได้ในลิพิดและสารที่มีขนาด ผ่านเยือ่ หมุ้ เซลล์แบบตา่ ง ๆ เล็กสามารถแพร่ผา่ นเย่ือหุ้มเซลล์ได้โดยตรง สว่ นสารขนาดเลก็ ที่มีประจุต้องลาเลียงผ่าน โปรตีนท่ีแทรกอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมี 2 แ บ บ คื อ ก า ร แ พ ร่ แ บ บ ฟ า ซิ ลิ เ ท ต และแอกทีฟทรานสปอร์ต ในกรณีสาร ขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะลาเลียงเข้า โดยกระบวนการเอนโดไซโทซิสหรือลาเลียง ออกโดยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ 6 ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคุมดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในเลือด ของน้าและสารในเลือดโดยการ เกดิ จากการทางานของไต ซงึ่ เป็นอวัยวะใน ทางานของไต ระบบขับถ่ายที่มีความสาคัญในการกาจัด ของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ รวมทั้งน้าและสารที่มีปริมาณเกินความ ต้องการของร่างกาย 7 ว 1.2 ม.4/3 อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด ของกรด-เบสของเลือดโดยการ เกิดจากการทางานของไตท่ีทาหน้าที่ขับ ทางานของไตและปอด หรือดูดกลับไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจน คาร์บอเนตไอออน และแอมโมเนียม ไอออน และการทางานของปอดทท่ี าหน้าท่ี กาจัดคาร์บอนไดออกไซด์ 8 ว 1.2 ม.4/4 อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพ การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายใน ของอุณหภมู ภิ ายในรา่ งกายโดย ร่างกายเกิดจากการทางานของระบบ ระบบหมนุ เวียนเลือด ผวิ หนงั หมุนเวียนเลือดที่ควบคุมปริมาณเลือดไปที่ และกลา้ มเน้ือโครงร่าง ผิวหนัง การทางานของต่อมเหงื่อ และ กล้ามเน้ือโครงร่าง ซึ่งส่งผลถึงปริมาณ ความร้อนที่ถูกเก็บหรือระบายออกจาก ร่างกาย
18 ชั้น ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.4 9 ว 1.2 ม.4/5 อธิบายและเขียนแผนผัง เม่ือเชือ้ โรคหรือสิง่ แปลกปลอมอื่นเข้าสู่เนื้อเยื่อ 10 ว 1.2 ม.4/6 11 ว 1.2 ม.4/7 เกี่ยวกับการตอบสนองของ ในร่างกาย ร่างกายจะมีกลไกในการต่อต้าน 12 ว 1.2 ม.4/8 13 ว 1.2 ม.4/9 ร่างกายแบบไม่จาเพาะ หรือทาลายส่ิงแปลกปลอมทั้งแบบไม่จาเพาะ แ ล ะ แ บ บ จ า เ พ า ะ ต่ อ และแบบจาเพาะ สงิ่ แปลกปลอมของรา่ งกาย เซลล์เม็ดเลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์จะมีกลไกใน การต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่ จาเพาะ กลไกในการต่อต้านหรือทาลายส่ิงแปลกปลอม แบบจาเพาะเป็นการทางานของเซลล์เม็ดเลือด ขาวลิมโฟไซต์ชนิดบีและชนิดที ซึ่งเซลล์เม็ด เลือดขาวทั้งสองชนิด จะมีตัวรับแอนติเจน ทาให้เซลล์ทั้งสองสามารถตอบสนองแบบ จาเพาะต่อแอนติเจนน้นั ๆ ได้ เซลลบ์ ีทาหน้าทส่ี รา้ งแอนตบิ อดี ซ่งึ ชว่ ยในการ จับส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ เพ่ือทาลายต่อไปโดย ระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์ทีทาหน้าท่ีหลากหลาย เช่น กระตุ้นการทางานของเซลล์บีและเซลล์ที ชนิดอื่น ทาลายเซลล์ที่ติดไวรัสและเซลล์ท่ี ผดิ ปกติอืน่ ๆ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ บางกรณีร่างกายอาจเกิดความผิดปกติของ ยกตัวอย่างโรคหรอื อาการท่ี ระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อ เกิดจากความผิดปกติของ แอนติเจนบางชนิดอย่างรุนแรงมากเกินไป ระบบภูมิค้มุ กัน หรือร่างกายมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อแอนติเจน ของตนเอง อาจทาให้ร่างกายเกิดอาการ ผดิ ปกตไิ ด้ อ ธิ บ า ย ภ า ว ะ ภู มิ คุ้ ม กั น บุคคลท่ีได้รับเลือดหรือสารคัดหล่ังที่มีเชื้อ HIV บกพร่องที่มีสาเหตุมาจาก ซ่ึงสามารถทาลายเซลล์ที ทาให้ภูมิคุ้มกัน เช้ือ HIV บกพรอ่ งและติดเช้ือตา่ งๆได้งา่ ยข้นึ ทดสอบ และบอกชนิดของ กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง เปน็ จุดเริ่มต้น สารอาหารที่พืชสังเคราะห์ ของการสร้างน้าตาลในพืช พืชเปล่ียนนา้ ตาลไป ได้ เ ป็ น ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ ส า ร อื่ น ๆ เ ช่ น สืบค้นข้อมูล อภิปราย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ที่จาเป็นต่อการ และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการ ดารงชวี ิตของพชื และสัตว์ ใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ มนุษย์สามารถนาสารต่าง ๆ ที่พืชบางชนิด สร้างขึ้นไปใช้ประโชน์ เช่น ใช้เป็นยาหรือ ทพี่ ืชบางชนดิ สร้างขึน้ สมุนไพรในการรักษาโรคบางชนดิ ใช้ในการไล่ แมลง กาจัดศัตรูพืชและสัตว์ ใช้ในการยับยั้ง ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง แ บ ค ที เ รี ย แ ล ะ ใ ช้ เ ป็ น วตั ถุดิบในอตุ สาหกรรม
19 ชั้น ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 14 ว 1.2 ม.4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และอธิบายเก่ียวกับปัจจัย เช่น แสง น้า ธาตุอาหารคารบ์ อนไดออกไซด์ ภ า ย น อ ก ท่ี มี ผ ล ต่ อ ก า ร และออกซเิ จน ปัจจยั ภายใน เช่น ฮอร์โมน เจริญเติบโตของพชื พืช ซ่ึงพืชมีการสังเคราะห์ข้ึน เพื่อควบคุม 15 ว 1.2 ม.4/11 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ส า ร การเจริญเตบิ โตในชว่ งชีวติ ตา่ ง ๆ ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช มนุษย์มีการสังเคราะห์สารควบคุมการ ท่ีมนุษย์สังเคราะห์ข้ึน และ เจริญเติบโตของพืชโดยเลียนแบบฮอร์โมน ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก า ร น า ม า พืช เพื่อนามาใช้ควบคุมการเจริญเติบโต ประยุกต์ใช้ทางด้านการเกษตร และเพ่มิ ผลผลติ ของพืช ของพชื 16 ว 1.2 ม.4/12 สั ง เ ก ต แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแบ่งตาม ตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าใน คามสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า ได้แก่ รูปแบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการ แบบทีม่ ีทิศทางสัมพันธ์กบั ทิศทางของส่ิงเร้า ดารงชีวิต เช่น ดอกทานตะวันหันเข้าหาแสง ปลาย รากเจริญเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลกและ แบบท่ีไม่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่ง เร้า เช่น การหุบและบานของดอก หรือ การหบุ และกางของใบพชื บางชนดิ การตอบสนองต่อส่ิงเร้าของพืชบางอย่าง ส่งผลต่อการเจริญเติบโต เช่น การเจริญ ในทิศทางเข้าหาหรือตรงข้ามกับแรงโน้ม ถ่วงของโลก การเจริญในทิศทางเข้าหา หรือตรงข้ามกับแสง และการตอบสนองต่อ การสัมผัสส่ิงเร้า 17 ว 1.3 ม.4/1 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ มีโครงสร้างประกอบด้วย นิวคลี ยนี การสังเคราะหโ์ ปรตีน และ โอไทด์มาเรียงต่อกัน โดยยีนเป็นช่วงของ ลกั ษณะทางพันธกุ รรม สายดีเอ็นเอที่มีลาดับนิวคลีโอไทด์ท่ีกาหนด ลักษณะของโปรตีนท่ีสังเคราะห์ขึ้น ซึ่ง ส่งผลให้เกิดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมตา่ ง ๆ 18 ว 1.3 ม.4/2 อ ธิ บ า ย ห ลั ก ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลักษณะบางลักษณะมีโอกาสพบในเพศชาย ลักษณะท่ีถูกควบคุมด้วยยีนที่ และเพศหญิงไม่เท่ากัน เช่น ตาบอดสี อยู่บนโครโมโซมเพศและมัลติ ฮีโมฟีเลีย ซ่ึงควบคุมโดยยีนบนโครโมโซม เปิลแอลลลี เพศ บางลักษณะมีการควบคุมโดยยีน แบบมัลติเปิลแอลลีล เช่น หมู่เลือดระบบ ABO ซึ่ ง ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พันธุกรรมดังกล่าวจัดเป็นส่วนขยายของ พันธุศาสตรเ์ มนเดล
20 ชั้น ที่ รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 19 ว 1.3 ม.4/3 ว 1.3 ม.4/4 อ ธิ บ า ย ผ ล ท่ี เ กิ ด จ า ก ก า ร มิวเทชันที่เปลี่ยนแปลงลาดับนิวคลีโอไทด์ 20 ว 1.3 ม.4/5 21 เปลยี่ นแปลงลาดบั นิวคลีโอไทด์ หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือจานวน ว 1.3 ม.4/6 22 ในดีเอน็ เอต่อการแสดงลักษณะ โครโมโซมอาจส่งผลทาให้ลักษณะของ ของสิ่งมีชีวติ ส่ิงมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งอาจมี สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่าง ผลดหี รอื ผลเสยี การนามวิ เทชันไปใชป้ ระโยชน์ มนุษย์ใช้หลักการของการเกิดมิวเทชันใน ก า ร ชั ก น า ใ ห้ ไ ด้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ี แตกต่างจากเดิม โดยการใช้รังสีและ สารเคมตี ่าง ๆ สืบค้นข้อมูล และอภิปรายผล มนุษย์นาความรู้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอมา ของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอท่ีมี ประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ และเภสัช ตอ่ มนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อม กรรม เช่น การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรม เพื่อผลิตยาและวัคซีนด้าน การเกษตร เช่น พืชดัดแปรพันธุกรรมที่ ต้านทางโรคหรือแมลง สัตว์ดัดแปร พันธุกรรมที่มีลักษณะตามที่ต้องการ และ ด้านนิติวิทยาศาสตร์ เช่น การตรวจลาย พิมพ์ดีเอ็นเอ เพื่อหาความสัมพันธ์ทาง สายเลอื ดเพอื่ หาผกู้ ระทาผดิ การใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอในด้านต่าง ๆ ต้องคานึงถึงความปลอดภัยทางชีวภาพ ชีวจรยิ ธรรม และผลกระทบทางด้านสงั คม สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ ส่ิงมีชีวิตท่ีมีอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะที่ ยกตัวอย่างความหลากหลาย ปรากฏให้เห็นแตกต่างกันซ่ึงเป็นผลมาจาก ของส่ิงมีชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจาก ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ท า ง วิวฒั นาการ พันธุกรรมซึ่งเกิดจากมิวเทชันร่วมกับการ คัดเลอื กโดยธรรมชาติ ผลจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทาให้ส่ิงมีชีวิตท่ีมีลักษณะเหมาะสมในการ ดารงชีวิต สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ใน สง่ิ แวดล้อมนน้ั ๆ กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็น ห ลั ก ก า ร ท่ี ส า คั ญ อ ย่ า ง ห นึ่ ง ท่ี ท า ใ ห้ เ กิ ด วิวัฒนาการของสิง่ มีชีวติ
21 สรปุ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางตอ้ งรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ รายวชิ าพ้ืนฐาน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ช้นั ที่ รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 1 ว 1.1 ม.4/2 สืบค้นข้อมูล อภิปราย การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศเกิดขึ้นได้ สาเหตุ และยกตวั อย่างการ ตลอดเวลาทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขนึ้ เองตาม เปล่ียนแปลงแทนที่ของ ธรรมชาติและเกดิ จากการกระทาของมนุษย์ ระบบนเิ วศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่เป็นการเปล่ียนแปลง ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดข้ึนอย่างช้า ๆ เป็น เวลานาน ซึ่งเป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบทางกายภาพและทางชีวภาพ ส่งผลให้ระบบนิเวศ เปล่ียนแปลงไปสู่สมดลุ จน เกดิ สงั คมสมบูรณ์ได้ 2 ว 1.1 ม.4/3 สืบค้นข้อมูล อธิบายและ การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบในระบบ ยกตัวอย่างเก่ียวกับการ นิเวศท้ังทางกายภาพและทางชีวภาพมีผลต่อ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร องค์ประกอบทางกายภาพ และทางชีวภาพท่ีมีผลต่อ การเปล่ียนแปลงขนาดของ ประชากรส่ิงมีชีวิตในระบบ นเิ วศ 3 ว 1.2 ม.4/1 อธิบายโครงสร้างและสมบัติ เย่อื หุม้ เซลลม์ โี ครงสรา้ งเปน็ เยือ่ หุม้ สองช้นั ทีม่ ี ของเย่ือหุ้มเซลลท์ สี่ ัมพันธ์ ลิพดิ เป็นองคป์ ระกอบ และมีโปรตีนแทรกอยู่ กบั การลาเลยี งสาร และ สารที่ละลายได้ในลิพิดและสารท่ีมีขนาดเล็ก เปรียบเทียบการลาเลยี งสาร สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง ส่วน ผา่ นเยือ่ หุม้ เซลลแ์ บบตา่ ง ๆ สารขนาดเล็กท่ีมีประจุต้องลาเลียงผ่านโปรตีน ที่แทรกอยู่ท่ีเย่ือหุ้มเซลล์ ซึ่งมี 2แบบคือการ แพร่แบบ ฟาซิลิเทตและแอกทีฟทรานสปอร์ต ในกรณีสารขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะ ลาเลยี งเข้าโดยกระบวนการเอนโดไซโทซิสหรือ ลาเลียงออกโดยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ 4 ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในเลือดเกิด ของน้าและสารในเลือดโดย จากการทางานของไต ซึ่งเป็นอวัยวะในระบบ การทางานของไต ขับถ่ายท่ีมีความสาคัญในการกาจัดของเสียท่ีมี ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ รวมท้ังน้าและสาร ท่ีมีปริมาณเกนิ ความต้องการของร่างกาย
22 ช้นั ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 5 ว 1.2 ม.4/3 อธิบายการควบคุมดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือดเกิด ของกรด-เบสของเลือดโดย จากการทางานของไตท่ีทาหน้าที่ขับหรือดูด การทางานของไตและปอด กลับไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนต ไอออน และแอมโมเนียมไอออน และการ ท า ง า น ข อ ง ป อ ด ที่ ท า ห น้ า ที่ ก า จั ด คารบ์ อนไดออกไซด์ 6 ว 1.2 ม.4/4 อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย ของอุณหภมู ภิ ายในรา่ งกาย เกิดจากการทางานของระบบหมุนเวียนเลือดที่ โดยระบบหมุนเวยี นเลอื ด ควบคุมปริมาณเลือดไปท่ีผิวหนัง การทางาน ผวิ หนังและกล้ามเน้ือโครง ของต่อมเหง่ือ และกล้ามเนื้อโครงร่าง ซ่ึง ร่าง ส่งผลถึงปริมาณความร้อนท่ีถูกเก็บหรือระบาย ออกจากร่างกาย 7 ว 1.2 ม.4/5 อธิบายและเขียนแผนผัง เมอื่ เชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมอื่นเข้าสู่เน้ือเยื่อ เก่ียวกับการตอบสนองของ ในร่างกาย ร่างกายจะมีกลไกในการต่อต้าน ร่างกายแบบไม่จาเพาะ หรือทาลายสิ่งแปลกปลอมทั้งแบบไม่จาเพาะ แ ล ะ แ บ บ จ า เ พ า ะ ต่ อ และแบบจาเพาะ สงิ่ แปลกปลอมของรา่ งกาย เซลล์เม็ดเลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์จะมีกลไกใน การต่อต้านหรือทาลายส่ิงแปลกปลอมแบบไม่ จาเพาะ กลไกในการต่อต้านหรือทาลายส่ิงแปลกปลอม แบบจาเพาะเป็นการทางานของเซลล์เม็ดเลือด ขาวลิมโฟไซต์ชนิดบีและชนิดที ซึ่งเซลล์เม็ด เลือดขาวทั้งสองชนิด จะมีตัวรับแอนติเจน ทาให้เซลล์ทั้งสองสามารถตอบสนองแบบ จาเพาะตอ่ แอนตเิ จนน้ัน ๆ ได้ เซลล์บีทาหนา้ ท่สี รา้ งแอนตบิ อดี ซึง่ ช่วยในการ จับส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ เพื่อทาลายต่อไปโดย ระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์ทีทาหน้าท่ีหลากหลาย เช่น กระตุ้นการทางานของเซลล์บีและเซลล์ที ชนิดอ่ืน ทาลายเซลล์ท่ีติดไวรัสและเซลล์ที่ ผดิ ปกตอิ ่ืน ๆ 8 ว 1.2 ม.4/8 ทดสอบ และบอกชนิดของ กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง เปน็ จุดเร่มิ ต้น สารอาหารที่พืชสังเคราะห์ ของการสร้างนา้ ตาลในพืช พืชเปลีย่ นน้าตาลไป ได้ เ ป็ น ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ ส า ร อ่ื น ๆ เ ช่ น คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั ทีจ่ าเปน็ ตอ่ การ ดารงชีวติ ของพืชและสัตว์
23 ช้นั ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 9 ว 1.2 ม.4/10 อ อ ก แ บ บ ก า ร ท ด ล อ ง ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโต เช่น ทดลองและอธิบายเก่ียวกับ แสง น้า ธาตุอาหารคาร์บอนไดออกไซด์ และ ปัจจัยภายนอกท่ีมีผลต่อ ออกซิเจน ปัจจัยภายใน เช่น ฮอร์โมนพืช การเจริญเติบโตของพืช ซ่ึงพืชมีการสังเคราะห์ขึ้น เพื่อควบคุมการ เจริญเตบิ โตในช่วงชวี ติ ต่าง ๆ มนุษย์มีการสังเคราะห์สารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชโดยเลียนแบบฮอร์โมนพืช เพื่อนามาใช้ควบคุมการเจริญเติบโตและเพ่ิม ผลผลิตของพืช 10 ว 1.3 ม.4/1 อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ดีเอ็นเอ มีโครงสร้างประกอบด้วย นิวคลีโอ ระหว่างยีน การสังเคราะห์ ไทด์มาเรียงต่อกัน โดยยีนเป็นช่วงของสายดี โปรตีน และลักษณะทาง เอ็นเอที่มีลาดับนิวคลีโอไทด์ที่กาหนดลักษณะ พันธุกรรม ของโปรตีนที่สังเคราะห์ข้ึน ซึ่งส่งผลให้เกิด ลกั ษณะทางพันธุกรรมต่าง ๆ 11 ว 1.3 ม.4/2 อธิบายหลักการถ่ายทอด ลักษณะบางลักษณะมีโอกาสพบในเพศชาย ลักษณะทถ่ี ูกควบคุมด้วยยีน และเพศหญิงไม่เท่ากันเช่น ตาบอดสี ฮีโมฟีเลีย ที่อยู่บนโ ครโ มโ ซ ม เ พ ศ ซ่ึงควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมเพศ บาง และมัลติเปิลแอลลีล ลักษณะมีการควบคุมโดยยีนแบบมัลติเปิล แอลลีล เช่น หมู่เลือดระบบ ABO ซึ่งการ ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมดังกล่าวจัดเป็น ส่วนขยายของพนั ธุศาสตรเ์ มนเดล 12 ว 1.3 ม.4/3 อธิบายผลที่เกิดจากการ มิวเทชันท่ีเปล่ียนแปลงลาดับนิวคลีโอไทด์หรือ เปล่ียนแปลงลาดับนิวคลีโอ เปล่ียนแปลงโครงสร้างหรือจานวนโครโมโซม ไทด์ในดีเอ็นเอต่อการแสดง อ า จ ส่ ง ผ ล ท า ใ ห้ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ลักษณะของสิ่งมชี วี ิต เปล่ียนแปลงไปจากเดิม ซึ่งอาจมีผลดีหรือ ผลเสยี มนุษย์ใช้หลักการของการเกิดมิวเทชันในการ ชักนาให้ได้สิ่งมีชีวิตท่ีมีลักษณะที่แตกต่างจาก เดิม โดยการใช้รงั สีและสารเคมตี ่าง ๆ 13 ว 1.3 ม.4/5 สืบค้นข้อมูล และอภิปราย มนุษย์นาความรู้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอมา ผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็น ประยกุ ต์ใชท้ างด้านการแพทย์ และเภสชั กรรม เ อ ที่ มี ต่ อ ม นุ ษ ย์ แ ล ะ เชน่ การสรา้ งส่ิงมชี ีวิตดดั แปรพนั ธุกรรม เพื่อ สิง่ แวดล้อม ผลิตยาและวัคซีนด้านการเกษตร เช่น พืชดัด แปรพันธุกรรมที่ต้านทางโรคหรือแมลง สัตว์ ดัดแปรพันธุกรรมท่ีมีลักษณะตามท่ีต้องการ และด้านนิติวิทยาศาสตร์ เช่น การตรวจลาย พิมพ์ดีเอ็นเอ เพื่อหาความสัมพันธ์ทาง สายเลือดเพื่อหาผู้กระทาผิด
24 ช้นั ที่ รหัสตวั ช้ีวดั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 ว 1.3 ม.4/6 การใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอในด้านตา่ ง ๆ ตอ้ ง 14 คานึงถึงความปลอดภัยทางชีวภาพ ชีวจริย ธรรม และผลกระทบทางดา้ นสงั คม สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ ส่ิงมีชีวิตท่ีมีอยู่ในปัจจุบนั มีลักษณะท่ีปรากฏให้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ค ว า ม เห็นแตกต่างกันซ่ึงเป็นผลมาจากคว าม หลากหลายของส่ิงมีชีวิต หลากหลายของลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเกิด ซึ่ ง เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก จากมวิ เทชันรว่ มกบั การคดั เลอื กโดยธรรมชาติ ววิ ัฒนาการ ผลจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติทา ใ ห้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร ดารงชีวิต สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ใน สงิ่ แวดล้อมน้นั ๆ กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็น หลักการท่ีสาคัญอย่างหน่ึ งที่ ทา ใ ห้ เ กิ ด ววิ ัฒนาการของสิ่งมชี วี ิต รวมตัวช้วี ดั ต้องรู้ท้ังหมด 14 ตัวชว้ี ัด 1. ว 1.1 ม.4/2 สืบคน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย สาเหตุ และยกตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ 2. ว 1.1 ม.4/3 สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงขององค์ประกอบทาง กายภาพและทางชีวภาพท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรส่ิงมีชีวิตในระบบ นเิ วศ 3. ว 1.2 ม.4/1 อธบิ ายโครงสรา้ งและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ทีส่ ัมพนั ธ์กับการลาเลยี งสาร และเปรยี บเทียบ การลาเลยี งสารผ่านเยอื่ หุ้มเซลลแ์ บบตา่ ง ๆ 4. ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของน้าและสารในเลือดโดยการทางานของไต 5. ว 1.2 ม.4/3 อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลอื ดโดยการทางานของไตและปอด 6. ว 1.2 ม.4/4 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกลา้ มเน้ือโครงร่าง 7. ว 1.2 ม.4/5 อธิบายและเขียนแผนผังเก่ียวกับการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จาเพาะ และแบบ จาเพาะต่อส่งิ แปลกปลอมของรา่ งกาย 8. ว 1.2 ม.4/8 ทดสอบ และบอกชนดิ ของสารอาหารที่พชื สงั เคราะหไ์ ด้ 9. ว 1.2 ม.4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอภิปรายเก่ียวกับปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของพชื 10. ว 1.3 ม.4/1 อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งยีน การสังเคราะหโ์ ปรตนี และลักษณะทางพันธุกรรม 11. ว 1.3 ม.4/2 อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศและมัลติเปิล แอลลลี 12. ว 1.3 ม.4/3 อธิบายผลท่ีเกิดจากการเปลีย่ นแปลงลาดับนวิ คลีโอไทด์ในดีเอ็นเอต่อการแสดงลักษณะของ สง่ิ มีชวี ติ 13. ว 1.3 ม.4/5 สืบคน้ ข้อมลู และอภปิ รายผลของเทคโนโลยีทางดเี อ็นเอท่มี ีตอ่ มนุษย์และสิ่งแวดล้อม 14. ว 1.3 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตซ่ึงเป็นผลมาจาก ววิ ัฒนาการ
25 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางควรรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ รายวิชาพ้นื ฐาน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ช้ัน ที่ รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 1 ว 1.1 ม.4/1 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ธิ บ า ย บริเวณของโลกแต่ละบริเวณมีสภาพ ความสัมพันธ์ของสภาพทาง ทางภมูศิาสตร์ที่แตกต่างกัน แบ่งออก ภู มิ ศ า ส ต ร์ บ น โ ล ก กั บ ค ว า ม ได้เป็นหลายเขตตามสภาพภูมิอากาศ หลากหลายของไบโอม และ และปริมาณน้าฝน ทาให้มีระบบนิเวศ ยกตวั อยา่ งไบโอมชนิดต่าง ๆ ที่ ห ล า ก ห ล า ย ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ความหลากหลายของไบโอม 2 ว 1.1 ม.4/4 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ม นุ ษ ย์ ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ โ ด ย เก่ียวกับปัญหาและผลกระทบทมี่ ี ปราศจากความระมัดระวัง และมีการ ต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพ่ือช่วยอานวย ส่ิงแวดล้อม พร้อมทั้งนาเสนอ ความสะดวกต่าง ๆ แก่มนุษย์ ส่งผลต่อ แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากร การเปล่ียนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและ ธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา สง่ิ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ ม ปัญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมบางปัญหาส่งผลกระทบใน ระดับท้องถิ่น บางปัญหาก็ส่งผลกระทบ ในระดับประเทศ และบางปัญหาส่ง ผลกระทบในระดบั โลก การลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การกาจัดของเสียที่เป็นสาเหตุของปัญหา ส่ิงแวดล้อม และการวางแผนจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีดี เป็นตัวอย่างของ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการลดปัญหา สิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเพ่ือให้เกิดการใช้ ประโยชน์ที่ยัง่ ยืน 3 ว 1.2 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ บางกรณีร่างกายอาจเกิดความผิดปกติ ยกตัวอย่างโรคหรืออาการท่ีเกิด ของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ภูมิคุ้มกัน จากความผิดปกติของระบบ ตอบสนองต่อแอนติเจนบางชนิดอย่าง ภมู คิ ุ้มกนั รนุ แรงมากเกนิ ไป หรอื ร่างกายมีปฏิกิริยา ตอบสนองต่อแอนติเจนของตนเอง อาจ ทาใหร้ า่ งกายเกดิ อาการผิดปกตไิ ด้ 4 ว 1.2 ม.4/7 อธิบายภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ บุคคลท่ีได้รับเลือดหรือสารคัดหล่ังท่ีมีเช้ือ มีสาเหตมุ าจากเชอื้ HIV HIV ซ่ึงสามารถทาลายเซลล์ที ทาให้ ภูมิคุ้มกันบกพร่องและติดเช้ือต่างๆได้ง่าย ขนึ้
26 ช้นั ที่ รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4 5 ว 1.2 ม.4/9 สืบค้นข้อมูล อภิปราย กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง เปน็ จดุ เริ่มตน้ และยกตัวอย่างเก่ียวกับการ ของการสร้างน้าตาลในพืช พืชเปล่ียนน้าตาลไป ใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ เ ป็ น ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ ส า ร อื่ น ๆ เ ช่ น ที่พชื บางชนิดสร้างขน้ึ คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั ทจี่ าเปน็ ต่อการ ดารงชีวิตของพืชและสัตว์ มนุษย์สามารถนาสารต่าง ๆ ที่พืชบางชนิด สร้างข้ึนไปใช้ประโชน์ เช่น ใช้เป็นยาหรือ สมุนไพรในการรักษาโรคบางชนดิ ใช้ในการไล่ แมลง กาจัดศัตรูพืชและสัตว์ ใช้ในการยับยั้ง การเจริญเติบโตของแบคทีเรียและใช้เป็น วตั ถุดิบในอุตสาหกรรม 6 ว 1.2 ม.4/11 สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสาร ปัจจัยภายนอกท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต เช่น ควบคุมการเจริญเติบโตของ แสง น้า ธาตุอาหารคาร์บอนไดออกไซด์ และ พืชที่มนุษย์สังเคราะห์ข้ึน ออกซิเจน ปัจจัยภายใน เช่น ฮอร์โมนพืช และยกตัวอย่างการนามา ซ่ึงพืชมีการสังเคราะห์ขึ้น เพ่ือควบคุมการ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ท า ง ด้ า น เจริญเตบิ โตในช่วงชีวติ ตา่ ง ๆ การเกษตรของพชื มนุษย์มีการสังเคราะห์สารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชโดยเลียนแบบฮอร์โมนพืช เพ่ือนามาใช้ควบคุมการเจริญเติบโตและเพิ่ม ผลผลติ ของพืช 7 ว 1.2 ม.4/12 สังเกต และอธิบายการ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแบ่งตามคาม ตอบสนองของพืชต่อส่ิงเร้า สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า ได้แก่ แบบท่ีมี ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อ ทิศทางสัมพันธก์ ับทิศทางของสิ่งเรา้ เช่น ดอก การดารงชวี ติ ทานตะวันหันเข้าหาแสง ปลายรากเจริญเข้า หาแรงโน้มถ่วงของโลกและแบบที่ไม่มีทิศทาง สมั พนั ธก์ บั ทิศทางของสิง่ เรา้ เชน่ การหบุ และ บานของดอก หรือการหุบและกางของใบพืช บางชนิด การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชบางอย่างส่งผล ต่อการเจริญเติบโต เช่น การเจริญในทิศ ทางเข้าหาหรือตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก การเจริญในทิศทางเข้าหาหรือตรงข้ามกับแสง และการตอบสนองตอ่ การสัมผสั สิ่งเรา้ 8 ว 1.3 ม.4/4 สบื คน้ ขอ้ มลู และยกตวั อย่าง มิวเทชันท่ีเปล่ียนแปลงลาดับนิวคลีโอไทด์หรือ ก า ร น า มิ ว เ ท ชั น ไ ป ใ ช้ เปล่ียนแปลงโครงสร้างหรือจานวนโครโมโซม ประโยชน์ อ า จ ส่ ง ผ ล ท า ใ ห้ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซ่ึงอาจมีผลดีหรือ ผลเสยี
27 ชั้น ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.4 มนุษย์ใช้หลักการของการเกิดมิวเทชันในการ ชักนาให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะท่ีแตกต่างจาก เดมิ โดยการใช้รังสีและสารเคมตี ่าง ๆ รวมตัวช้ีวดั ควรรทู้ ัง้ หมด 8 ตวั ชวี้ ัด 1. ว 1.1 ม.4/1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลาย ของไบโอมและยกตัวอย่างไบโอมชนิดตา่ ง ๆ 2. ว 1.1 ม.4/4 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเก่ียวกับปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังนาเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและการแก้ไข ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม 3. ว 1.2 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการท่ีเกิดจากความผิดปกติของระบบ ภมู คิ ุ้มกัน 4. ว 1.2 ม.4/7 อธบิ ายภาวะภูมิคมุ้ กันบกพร่องที่มสี าเหตมุ าจากเชื้อ HIV 5. ว 1.2 ม.4/9 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างเก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชบาง ชนดิ สรา้ งขึ้น 6. ว 1.2 ม.4/11 สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ข้ึน และ ยกตวั อยา่ งการนามาประยกุ ตใ์ ชท้ างดา้ นการเกษตรของพชื 7. ว 1.2 ม.4/12 สังเกต และอธิบายการตอบสนองของพชื ต่อส่งิ เรา้ ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีมผี ลตอ่ การดารงชวี ติ 8. ว 1.3 ม.4/4 สืบค้นขอ้ มลู และยกตวั อย่างการนามวิ เทชันไปใชป้ ระโยชน์
28 สรุปสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั ตอ้ งรู้และควรรู้ (นำ้ เงิน = ตอ้ งรู้ / แดง = ควรร)ู้ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ แก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมทง้ั นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้ีวดั ว 1.1 ม.4/1 สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายความสัมพันธข์ องสภาพทางภมู ิศาสตรบ์ นโลกกับความหลากหลาย ของไบโอม และยกตวั อย่างไบโอมชนิดต่าง ๆ ว 1.1 ม.4/2 สืบค้นขอ้ มูล อภิปราย สาเหตุ และยกตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนเิ วศ ว 1.1 ม.4/3 สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายและยกตัวอย่างเก่ียวกบั การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพ และทางชีวภาพทม่ี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสง่ิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศ ว 1.1 ม.4/4 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังนาเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหาส่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ดั ว 1.2 ม.4/1 อธิบายโครงสร้างและสมบตั ิของเยื่อหุ้มเซลลท์ ส่ี มั พนั ธ์กบั การลาเลยี งสาร และเปรียบเทียบ การลาเลยี งสารผา่ นเยือ่ หุ้มเซลล์แบบต่าง ๆ ว 1.2 ม.4/2 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้าและสารในเลือดโดยการทางานของไต ว 1.2 ม.4/3 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทางานของไตและปอด ว 1.2 ม.4/4 อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวยี นเลือด ผิวหนงั และกลา้ มเนื้อโครงร่าง ว 1.2 ม.4/5 อธิบายและเขียนแผนผังเก่ียวกบั การตอบสนองของรา่ งกายแบบไมจ่ าเพาะ และแบบจาเพาะ ตอ่ ส่ิงแปลกปลอมของรา่ งกาย ว 1.2 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบ ภูมิคุม้ กนั ว 1.2 ม.4/7 อธิบายภาวะภมู คิ ้มุ กนั บกพร่องทมี่ สี าเหตมุ าจากเชื้อ HIV ว 1.2 ม.4/8 ทดสอบ และบอกชนดิ ของสารอาหารทีพ่ ืชสงั เคราะห์ได้ ว 1.2 ม.4/9 สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างเก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ท่ีพืชบาง ชนดิ สรา้ งข้ึน ว 1.2 ม.4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอภปิ รายเก่ียวกบั ปจั จยั ภายนอกทมี่ ีผลต่อการเจริญเติบโต ของพชื ว 1.2 ม.4/11 สืบค้นข้อมลู เกีย่ วกับสารควบคมุ การเจริญเติบโตของพชื ท่ีมนษุ ยส์ ังเคราะห์ขึ้นและยกตัวอย่าง การนามาประยกุ ตใ์ ชท้ างด้านการเกษตรของพชื ว 1.2 ม.4/12 สังเกต และอธบิ ายการตอบสนองของพชื ต่อสิง่ เรา้ ในรปู แบบต่าง ๆ ที่มีผลตอ่ การดารงชีวิต
29 มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ช้ีวัด ว 1.3 ม.4/1 อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งยนี การสังเคราะหโ์ ปรตีน และลกั ษณะทางพันธุกรรม ว 1.3 ม.4/2 อธิบายหลกั การถา่ ยทอดลกั ษณะที่ถกู ควบคุมดว้ ยยีนท่ีอยูบ่ นโครโมโซมเพศและมลั ตเิ ปลิ แอล ลีล ว 1.3 ม.4/3 อธิบายผลทีเ่ กิดจากการเปลยี่ นแปลงลาดบั นวิ คลีโอไทด์ในดเี อน็ เอตอ่ การแสดงลักษณะของ สิ่งมีชีวิต ว 1.3 ม.4/4 สืบคน้ ข้อมูล และยกตวั อยา่ งการนามิวเทชันไปใชป้ ระโยชน์ ว 1.3 ม.4/5 สืบคน้ ข้อมลู และอภิปรายผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอท่ีมีต่อมนุษย์และส่ิงแวดลอ้ ม ว 1.3 ม.4/6 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตซึ่งเป็นผลมาจาก วิวฒั นาการ
30 การวเิ คราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรตู้ วั ชวี้ ัด สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ รายวิชาพืน้ ฐาน ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ มาตรฐาน / ตัวช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / คุณลกั ษณะ (A) แกนกลาง ท้องถ่ิน กระบวนการ(P) - การใช้ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ วิจารณญาณ มาตรฐาน ว 1.1 - ความใจกวา้ ง - ความซือ่ สัตย์ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ - ความ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ รอบคอบ - การใช้ ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง วิจารณญาณ สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในระบบ - ความใจกว้าง - ความซ่อื สตั ย์ นิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ - การใช้ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ วิจารณญาณ - ความใจกวา้ ง ความหมายของประชากร ปัญหาและ - ความซ่อื สตั ย์ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ - การใช้ วจิ ารณญาณ และส่ิงแวดล้อม แนวทางในการ - ความใจกว้าง อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนา ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชวี้ ดั 1. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ าย 1. ความหมายและประเภทของ ไบโอมของ - สืบคน้ ขอ้ มูล ความสัมพันธข์ องสภาพทาง ไบโอม ท้องถ่ิน - อธบิ าย ภูมศิ าสตร์บนโลกกบั ความ 2. ความสมั พันธ์ของสภาพทาง - ยกตวั อย่าง หลากหลายของไบโอม และ ภูมิศาสตรบ์ นโลกกบั ความ ยกตัวอยา่ งไบโอมชนิดตา่ งๆ หลากหลายของไบโอม 3. ชนดิ ของไบโอม 2. สืบคน้ ข้อมลู อภปิ รายสาเหตุ และ การเปล่ียนแปลงแทนท่ขี อง - - สบื ค้นข้อมลู ยกตัวอย่างการเปล่ยี นแปลงแทนที่ ระบบนิเวศ - อธิบาย ของระบบนเิ วศ - ยกตวั อยา่ ง 3. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายและ การเปล่ียนแปลงของ ระบบนิเวศ - สบื คน้ ขอ้ มลู ในท้องถิ่น - อธิบาย ยกตัวอย่างเก่ยี วกับการ องค์ประกอบทางกายภาพ - ยกตวั อย่าง - เปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทาง และองคป์ ระกอบทางชวี ภาพ - สืบคน้ ข้อมลู กายภาพและทางชีวภาพที่มผี ลตอ่ ทม่ี ผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลง - อธบิ าย การเปล่ยี นแปลงขนาดของ - ยกตวั อย่าง ขนาดของประชากรส่งิ มชี ีวติ ประชากรสงิ่ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ในระบบนเิ วศ 4. สบื ค้นขอ้ มูลและอภิปรายเกย่ี วกบั 1. ปัญหาและผลกระทบที่มีตอ่ ปญั หาและผลกระทบที่มีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติและ
31 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ มาตรฐาน / ตวั ช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะ (A) ส่งิ แวดล้อม พรอ้ มทั้งนาเสนอ แกนกลาง ท้องถิน่ กระบวนการ(P) แนวทางในการอนุรักษ์ - ความซือ่ สัตย์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ข ส่งิ แวดลอ้ มในระดับประเทศ ปัญหาสง่ิ แวดล้อม และระดับโลก มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของส่ิงมีชวี ติ หนว่ ย 2. แนวทางในการอนรุ กั ษ์ พ้นื ฐานของสง่ิ มีชวี ติ การลาเลยี งสาร เขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการ ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องระบบ ต่างๆ ของสตั ว์และมนุษย์ท่ที างาน แกไ้ ขปญั หาส่งิ แวดล้อม สัมพนั ธ์กนั ความสัมพนั ธข์ อง โครงสร้างและหน้าท่ีของอวยั วะตา่ งๆ ของพชื ท่ีทางานสมั พันธ์กนั รวมทงั้ นา ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ช้ีวัด 1. โครงสร้างและสมบตั ิของเย่อื - - อธบิ าย - ความอยากรู้ 1. อธบิ ายโครงสรา้ งและสมบตั ิของ หุ้มเซลล์ท่สี มั พันธ์กบั การ ลาเลียงสาร - เปรยี บเทยี บ อยากเห็น เยอ่ื หุม้ เซลลท์ ี่สัมพันธ์กบั การ ลาเลียงสาร และเปรยี บเทยี บการ 2. การลาเลียงสารผ่านเยอ่ื หุม้ - ความใจกว้าง ลาเลียงสารผา่ นเยื่อหุ้มเซลล์แบบ เซลล์แบบต่างๆ ตา่ งๆ - ความซื่อสตั ย์ - ความ รอบคอบ - ความเชื่อมั่น ต่อหลักฐาน เชงิ ประจักษ์ 2. อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพของน้า การรักษาดุลยภาพของนา้ - - อธบิ าย - ความ และสารในเลือดโดยการทางาน และสารในเลอื ดโดยการ รอบคอบ ของไต ทางานของไต - ความเช่อื มน่ั ต่อหลักฐาน เชงิ ประจักษ์ 3. อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของ การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด- - - อธบิ าย - การใช้ กรด-เบสของเลอื ดโดยการทางาน เบสของเลือดโดยการทางาน วจิ ารณญาณ ของไตและปอด ของไตและปอด - ความ รอบคอบ 4. อธิบายการควบคุม ดุลยภาพของ การรกั ษาดุลยภาพของ - - อธิบาย - การใช้ อณุ หภมู ิภายในรา่ งกายโดยระบบ อุณหภูมิภายในร่างกายโดย วิจารณญาณ
32 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ มาตรฐาน / ตวั ช้ีวัด ความรู้ (K) ทกั ษะ / คุณลกั ษณะ (A) แกนกลาง ทอ้ งถิ่น กระบวนการ(P) - ความ หมุนเวยี นเลือด ผิวหนงั และ ระบบหมนุ เวยี ดเลือด รอบคอบ กล้ามเนอื้ โครงรา่ ง ผวิ หนังและกล้ามเน้ือโครง - การใช้ วิจารณญาณ ร่าง - ความ 5. อธิบายและเขยี นแผนผังเก่ยี วกบั กลไกในการต่อต้านหรือ - - อธบิ าย รอบคอบ การตอบสนองของร่างกายแบบไม่ ทาลายสิ่งแปลกปลอมทัง้ แบบ - เขยี นแผนผงั - การใช้ วิจารณญาณ จาเพาะ และแบบจาเพาะต่อสิ่ง ไมจ่ าเพาะและแบบจาเพาะ แปลกปลอมของร่างกาย - ความ ของรา่ งกาย รอบคอบ 6. สืบคน้ ข้อมลู อธิบาย และ 1. โรคหรืออาการทีเ่ กดิ จาก - - อธิบาย - ความใจกวา้ ง - การยอมรบั ยกตวั อย่างโรคหรืออาการทเ่ี กิดจาก ความผิดปกติของระบบ - ยกตัวอย่าง ความเหน็ ต่าง ความผิดปกติของระบบภมู คิ ุ้มกนั ภมู คิ ุ้มกัน - สบื คน้ ขอ้ มูล - ความอยากรู้ 7. อธิบายภาวะภูมิค้มุ กนั บกพร่องท่มี ี 2. ภาวะภูมิคุ้มกนั บกพร่องทมี่ ี อยากเห็น - ความเชอ่ื ม่ัน สาเหตมุ าจากเช้ือ HIV สาเหตุมาจากการตดิ เช้อื HIV ตอ่ หลกั ฐาน 8. ทดสอบ และบอกชนิดของ ชนดิ ของสารอาหารท่ีพชื - - ทดสอบ เชงิ ประจักษ์ สารอาหารที่พืชสงั เคราะห์ได้ สังเคราะห์ได้ - บอก - การใช้ วจิ ารณญาณ - ความ รอบคอบ - ความใจกวา้ ง - การยอมรบั ความเห็นตา่ ง - ความซ่อื สตั ย์ - ความมงุ่ ม่ัน อดทน - วัตถุวสิ ัย 9. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย และ การใชป้ ระโยชน์จากสาร - - สบื คน้ ข้อมูล - ความอยากรู้ ยกตวั อยา่ งเกย่ี วกบั การใช้ ตา่ งๆ ทีพ่ ชื บางชนิดสร้างขึ้น - อภิปราย ประโยชนจ์ ากสารตา่ งๆ ที่พืชบาง อยากเห็น ชนดิ สรา้ งขึ้น - ยกตัวอยา่ ง - ความเชื่อม่ัน ตอ่ หลกั ฐาน เชิงประจกั ษ์
33 สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถน่ิ มาตรฐาน / ตวั ชี้วัด ความรู้ (K) ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะ (A) 10.ออกแบบการทดลอง ทดลอง แกนกลาง ทอ้ งถ่นิ กระบวนการ(P) และอภิปรายเกย่ี วกับปัจจยั - การใช้ ภายนอกท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เติบโต ปัจจยั ภายนอกท่ีมผี ลต่อการ - - ออกแบบการ วจิ ารณญาณ ของพชื เจรญิ เตบิ โตของพืช ทดลอง - อภิปราย - ความ 11.สืบคน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกับสารควบคมุ รอบคอบ การเจริญเติบโตของพชื ที่มนุษย์ สารควบคมุ การเจริญเติบโต - - สืบคน้ ขอ้ มลู สังเคราะหข์ ึ้นและยกตัวอย่างการ - ความใจกว้าง นามาประยุกต์ใชท้ างดา้ น ของพืชทมี่ นุษย์สังเคราะห์ข้ึน - อภิปราย - การยอมรับ การเกษตรของพชื เพื่อนามาประยุกต์ใช้ทางด้าน ความเหน็ ตา่ ง 12.สังเกต และอธบิ ายการตอบสนอง - ความซื่อสัตย์ ของพืชตอ่ สิ่งเร้าในรูปแบบตา่ งๆ ท่ี การเกษตร - ความม่งุ มั่น มผี ลต่อการดารงชีวิต การตอบสนองของพืชตอ่ สงิ่ - - สงั เกต อดทน - ความอยากรู้ เร้าในรูปแบบต่างๆ ที่มผี ลตอ่ - อภปิ ราย อยากเหน็ - ความเช่ือมัน่ ต่อหลกั ฐาน เชิงประจักษ์ - การใช้ วจิ ารณญาณ - ความ รอบคอบ - ความใจกวา้ ง - การยอมรบั ความเห็นต่าง - ความซอ่ื สัตย์ - ความมุ่งมัน่ อดทน - วัตถุวสิ ยั - ความอยากรู้ อยากเห็น - ความอยากรู้ อยากเห็น การดารงชีวติ
34 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ มาตรฐาน / ตวั ชี้วัด ความรู้ (K) ทกั ษะ / คณุ ลักษณะ (A) มาตรฐาน ว 1.3 แกนกลาง ทอ้ งถ่นิ กระบวนการ(P) เข้าใจกระบวนการและความสาคัญ - การใช้ ของการถา่ ยทอดลักษณะทาง ความสัมพันธ์ระหว่างยีน - - อภิปราย วิจารณญาณ พันธุกรรม สารพันธุกรรม การ การสังเคราะห์โปรตนี และ เปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่ีมผี ลต่อ ลักษณะทางพนั ธุกรรม - ความอยากรู้ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทาง อยากเห็น ชีวภาพและววิ ฒั นาการของสงิ่ มีชวี ติ หลกั การถ่ายทอดลักษณะที่ - - อภปิ ราย รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ถกู ควบคุมด้วยยนี ท่ีอย่บู น - ความใจกวา้ ง ตวั ชวี้ ดั โครโมโซมเพศและ มลั ติเปิล - ความอยากรู้ 1. อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งยนี แอลลีล อยากเหน็ การสงั เคราะห์โปรตนี และ 1. ผลทีเ่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลง - - สบื ค้นข้อมลู - การใช้ ลักษณะทางพนั ธุกรรม รหัสพนั ธุกรรมใน DNA ตอ่ - อภปิ ราย วิจารณญาณ 2. อธิบายหลักการถ่ายทอดลกั ษณะท่ี - ความใจกว้าง ถูกควบคุมด้วยยีนท่ีอย่บู น การแสดงลกั ษณะของ - ความอยากรู้ โครโมโซมเพศและมัลติเปลิ แอลลลี สิง่ มชี วี ติ อยากเหน็ 3. อธิบายผลทเ่ี กดิ จากการ - การใช้ เปลย่ี นแปลงลาดบั นวิ คลโี อไทด์ใน 2. การนามวิ เทชนั ไปใช้ ดเี อน็ เอต่อการแสดงลักษณะของ วจิ ารณญาณ สิ่งมชี ีวิต ประโยชน์ - ความเชอ่ื ม่ัน 4. สบื คน้ ขอ้ มลู และยกตวั อยา่ งการ ผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ - - สบื คน้ ข้อมลู ตอ่ หลกฐาน นามวิ เทชันไปใช้ประโยชน์ - อภิปราย เชงิ ประจกั ษ์ ทม่ี ีตอ่ มนุษยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม - ความอยากรู้ 5. สืบค้นขอ้ มลู และอภิปรายผลของ อยากเหน็ เทคโนโลยีทางดีเอน็ เอท่ีมตี ่อมนุษย์ - การใช้ และส่งิ แวดลอ้ ม วิจารณญาณ - ความเชอื่ มนั่ ต่อหลกฐาน เชิงประจักษ์ - ความ รอบคอบ - ความซ่ือสัตย์
35 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ มาตรฐาน / ตวั ชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะ 6. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และ แกนกลาง ท้องถิน่ กระบวนการ(P) (A) ยกตัวอยา่ งความหลากหลายของ สิ่งมชี ีวิต ซง่ึ เปน็ ผลมาจาก - ความใจกว้าง วิวัฒนาการ หลากหลายของสิ่งมชี วี ติ ซึง่ - - สืบค้นขอ้ มูล - ความอยากรู้ - อภปิ ราย เปน็ ผลมาจากวิวฒั นาการ อยากเห็น - ยกตัวอย่าง - การใช้ วจิ ารณญาณ
36 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน แผนการเรยี น วทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ว31103 รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกติ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนท่ี 1 ศึกษาความหมายและประเภทของไบโอม ความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความ หลากหลายของไบโอม ชนิดของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงของ องค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสง่ิ มีชีวิตใน ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศและระดับโลก แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม โครงสรา้ งและสมบัติของเยื่อหมุ้ เซลล์ที่ สัมพันธ์กับการลาเลียงสาร การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบบต่างๆ การรักษาดุลยภาพของน้าและสารใน เลือดโดยการทางานของไต การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทางานของไตและปอด การรักษา ดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียดเลือด ผิวหนังและกล้ามเนื้อโครงร่าง กลไกในการ ตอ่ ต้านหรอื ทาลาย สิ่งแปลกปลอมทง้ั แบบไมจ่ าเพาะและแบบจาเพาะของรา่ งกาย โรคหรืออาการที่ เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องท่ีมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ HIV ชนิดของ สารอาหารท่ีพชื สังเคราะห์ได้ การใช้ประโยชน์จากสารต่างๆ ทีพ่ ืชบางชนิดสรา้ งขึ้น ปัจจัยภายนอกที่มผี ลต่อการ เจริญเติบโตของพืช สารควบคุม การเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นเพ่ือนามาประยุกต์ใช้ ทางด้านการเกษตร การตอบสนองของพืชต่อ ส่ิงเร้าในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลต่อการดา รงชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม หลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูก ควบคมุ ด้วยยนี ทอี่ ย่บู นโครโมโซมเพศและ มลั ตเิ ปลิ แอลลีล ผลทีเ่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงรหสั พนั ธุกรรมใน DNA ต่อการแสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต การนามิวเทชันไปใช้ประโยชน์ ผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์ และส่ิงแวดลอ้ ม หลากหลายของส่ิงมชี ีวติ ซึ่งเปน็ ผลมาจากววิ ัฒนาการ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การอธิบาย การสังเกต ออกแบบการทดลอง การทดลอง การยกตัวอย่าง การทดสอบ การเขียนแผนผัง การเปรียบเทยี บ การนาเสนอ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาส่ิงมีชีวิตอ่ืน เผ้าระวังและพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ ม ตัวชี้วดั ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4,ม.4/5,ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9,ม.4/10,ม.4/11,ม.4/12 ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4,ม.4/5, ม.4/6 รวมทั้งหมด 22 ตัวชว้ี ัด
37 โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ว31103 รายวชิ าวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/1 ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ สาระ/มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา คะแนน ตัวชี้วดั (ชม.) 1. ชีวติ ใน สาระที่ 1 ระบบนเิ วศมีทั้งบนบกและในนา้ หากระบบ 8 20 สงิ่ แวดล้อม ว1.1 นเิ วศเสียสมดลุ ยอ่ มกระทบต่อสงิ่ มีชวี ิตทอี่ าศัย ม.4/1 , ม.4/2 อย่ใู นระบบนเิ วศน้ัน มนษุ ยม์ ีส่วนทาให้ ม.4/3 , ม.4/4 ทรพั ยากรธรรมชาติมีปริมาณลดลงหรือ กอ่ ให้เกิดมลพษิ ดังน้ัน การใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติควรคานงึ ถงึ การใชเ้ พอื่ ให้ เกดิ ประโยชน์อย่างยงั่ ยนื 2. การลาเลียงสาร สาระที่ 1 เซลล์เป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของสิง่ มชี ีวติ 4 10 เขา้ และออก ว 1.2 ม.4/1 การศกึ ษาเซลลต์ ้องใช้กล้องจุลทรรศน์ซ่งึ มี จากเซลล์ หลายประเภท เซลล์มีการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ตลอดเวลา 3. การรักษา สาระท่ี 1 การรักษาดลุ ยภาพในร่างกายจาเป็นต้องอาศัย 8 20 ดุลยภาพของ ว 1.2 การทางานประสานร่วมกนั ตั้งแตร่ ะดบั เซลล์ ร่างกายมนษุ ย์ ม.4/2 , ม.4/3 , จนถึงระบบอวัยวะ ม.4/4 , ม.4/5 , ในร่างกายคนมีระบบภูมิคุม้ กันซ่งึ ประกอบดว้ ย ม.4/6 , ม.4/7 อวัยวะต่าง ๆ ซ่ึงเชื่อมต่อกันด้วยระบบ น้าเหลือง เม่อื ระบบภมู ิคุ้มกันเกดิ ความผิดปกติ มีผลทาใหร้ ่างกายเสยี ดุลยภาพ ซง่ึ ทาใหเ้ กดิ โรคภยั ไข้เจบ็ ตา่ ง ๆ ได้ 4. การดารงชีวิต สาระท่ี 1 พืชมโี ครงสรา้ งท่ีใชใ้ นดารงชวี ิต การสร้าง 6 15 ของพืช ว 1.2 อาหารของพชื เกิดขน้ึ ในคลอโรพลาสต์ มดี อก ม.4/8 , ม.4/9 , เปน็ อวัยวะในการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ์ ม.4/10, ม.4/11 , นักวทิ ยาศาสตร์สามารถสร้างสารเคมีสงั เคราะห์ ม.4/12 ตา่ ง ๆ ท่ีมีสมบตั ิเหมือนสารควบคุมการ เจรญิ เตบิ โตของพชื เพื่อประโยชน์ทาง การเกษตร 5. พนั ธุกรรมและ สาระที่ 1 หน่วยพนั ธุกรรมของสิง่ มชี วี ติ คือยีน ซ่ึงเปน็ 14 35 วิวัฒนาการ ว1.3 ส่วนหน่ึงของ DNA ความรูท้ างพนั ธุศาสตรส์ า ม.4/1 , ม.4/2 มาถพัฒนาไปสูเ่ ทคโนโลยที างDNA ซาก ม.4/3 , ม.4/4 ดกึ ดาบรรพ์และการเปรยี บเทียบลาดับเบสบน ม.4/5 , ม.4/6 DNA ทาใหท้ ราบสายววิ ัฒนาการของมนุษย์ รวม 40 100
38 คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน แผนการเรยี น ภาษา-สงั คม/ท่วั ไป/การงานอาชพี รหัสวิชา ว31111 รายวชิ าวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง 1.0 หนว่ ยกิต ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4/2,4/3 ภาคเรียนที่ 1 ศึกษาความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม ชนิดของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศท่ีมีผลต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากร การเปล่ียนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปัญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม การวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติ แนวทางในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ โครงสร้างและสมบตั ขิ องเยื่อหมุ้ เซลล์ การลาเลยี งสารแบบต่าง ๆ การรกั ษาดุลยภาพของน้า การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบส การรกั ษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิ กลไกในการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอม ท้ังแบบไม่จาเพาะและแบบจาเพาะ โรคหรืออาการท่ีเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่องท่ีมีสาเหตุมาจากเช้ือHIV ชนิดของสารอาหารท่ีพืชสังเคราะห์ การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆที่พืชบาง ชนดิ สรา้ งขน้ึ ปัจจยั ภายนอกทมี่ ผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช สารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพชื การตอบสนอง ของพืชต่อส่ิงเร้า ยีน การสังเคราะหโ์ ปรตนี ลักษณะทางพันธุกรรม หลักการถ่ายทอดลกั ษณะท่ีถูกควบคุมดว้ ย ยีนท่ีอยู่บนโครโมโซมเพศและมัลตเิ ปิลแอลลีล มิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ผลของเทคโนโลยีทางดเี อ็นเอท่ี มีต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม หลากหลายของส่ิงมีชีวิต กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ วิวัฒนาการของ สงิ่ มชี วี ติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การอธิบาย การสังเกต ออกแบบการทดลอง การทดลอง การยกตัวอย่าง การทดสอบ การเขียนแผนผัง การเปรียบเทยี บ การนาเสนอ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาส่ิงมีชีวิตอ่ืน เผ้าระวังและพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ ม ตวั ช้ีวดั ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4,ม.4/5,ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9,ม.4/10,ม.4/11,ม.4/12 ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4,ม.4/5, ม.4/6 รวมทั้งหมด 22 ตวั ชวี้ ัด
39 โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน แผนการเรยี น ภาษา-สังคม/ทัว่ ไป/การงานอาชีพ รหัสวิชา ว31111 รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/2-4/3 ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ สาระ/มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา คะแนน ตัวชวี้ ัด (ชม.) 1. ชีวิตใน สาระท่ี 1 ระบบนิเวศมที ้ังบนบกและในนา้ หากระบบ 8 20 สิง่ แวดล้อม ว1.1 นเิ วศเสียสมดุลย่อมกระทบต่อสง่ิ มชี ีวติ ท่อี าศัย ม.4/1 , ม.4/2 อยใู่ นระบบนเิ วศนัน้ มนษุ ยม์ ีสว่ นทาให้ ม.4/3 , ม.4/4 ทรัพยากรธรรมชาติมีปริมาณลดลงหรือ ก่อให้เกดิ มลพิษ ดังน้ัน การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติควรคานึงถงึ การใชเ้ พอ่ื ให้ เกิดประโยชน์อยา่ งยัง่ ยนื 2. การลาเลยี งสาร สาระที่ 1 เซลลเ์ ปน็ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของส่ิงมีชวี ิต 4 10 เข้าและออก ว 1.2 ม.4/1 การศกึ ษาเซลล์ต้องใชก้ ล้องจุลทรรศนซ์ ่ึงมี จากเซลล์ หลายประเภท เซลลม์ กี ารลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ ตลอดเวลา 3. การรักษา สาระที่ 1 การรักษาดุลยภาพในรา่ งกายจาเปน็ ต้องอาศยั 8 20 ดลุ ยภาพของ ว 1.2 การทางานประสานร่วมกันต้ังแต่ระดับเซลล์ รา่ งกายมนษุ ย์ ม.4/2 , ม.4/3 , จนถงึ ระบบอวยั วะ ม.4/4 , ม.4/5 , ในรา่ งกายคนมรี ะบบภูมิคมุ้ กันซง่ึ ประกอบด้วย ม.4/6 , ม.4/7 อวัยวะตา่ ง ๆ ซง่ึ เช่ือมต่อกันด้วยระบบ นา้ เหลือง เมือ่ ระบบภมู ิคุ้มกันเกดิ ความผดิ ปกติ มผี ลทาใหร้ า่ งกายเสยี ดลุ ยภาพ ซงึ่ ทาให้เกิด โรคภัยไข้เจบ็ ต่าง ๆ ได้ 4. การดารงชีวติ สาระท่ี 1 พืชมีโครงสรา้ งทใี่ ช้ในดารงชีวิต การสรา้ ง 6 15 ของพชื ว 1.2 อาหารของพืชเกดิ ข้ึนในคลอโรพลาสต์ มีดอก ม.4/8 , ม.4/9 , เปน็ อวยั วะในการสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธุ์ ม.4/10, ม.4/11 , นกั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถสร้างสารเคมีสังเคราะห์ ม.4/12 ต่าง ๆ ที่มีสมบัติเหมอื นสารควบคมุ การ เจรญิ เตบิ โตของพืชเพ่ือประโยชน์ทาง การเกษตร 5. พนั ธกุ รรมและ สาระท่ี 1 หน่วยพันธุกรรมของสิ่งมชี ีวติ คอื ยนี ซ่งึ เปน็ 14 35 ววิ ัฒนาการ ว1.3 ส่วนหนึ่งของ DNA ความรทู้ างพนั ธุศาสตรส์ า ม.4/1 , ม.4/2 มาถพฒั นาไปสเู่ ทคโนโลยีทางDNA ซาก ม.4/3 , ม.4/4 ดึกดาบรรพ์และการเปรียบเทียบลาดับเบสบน ม.4/5 , ม.4/6 DNA ทาให้ทราบสายววิ ัฒนาการของมนษุ ย์ รวม 40 100
40 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง อ ยู่ บ น ห ลั ก ก า ร พ้ื น ฐ า น ส อ ง ป ร ะ ก า ร คื อ การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะท้อนสมรรถภาพสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ ระดับชาติ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมิน เปน็ ข้อมลู และสารสนเทศทแ่ี สดงพัฒนาการ ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ ทางการเรยี นรู้ของผู้เรยี น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศกึ ษาและระดบั ชาติ มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผูส้ อนดาเนนิ การเป็นปกติและสมา่ เสมอในการจัดการเรยี นการสอน ใช้เทคนคิ การประเมนิ อย่างหลากหลาย เช่น การซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมิน เพอ่ื น ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ในกรณีทีไ่ ม่ผา่ นตัวช้วี ัดให้มีการสอนซอ่ มเสริม การประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งน้ี โดยสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ดั 2.การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินท่ีสถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตัดสินผลการเรียนของ ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน นอกจากนีเ้ พ่อื ให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาของสถานศึกษา วา่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาด้านใด รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนใน สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือ การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางกาประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษา ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผ้ปู กครองและชุมชน 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทา และดาเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือด้วยความร่วมมือ กบั หน่วยงานต้นสงั กัดในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนย้ี ังได้จากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการประเมิน ระดับสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้ผู้เรยี นทุกคนท่ีเรียน ในชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมินผลจากการประเมนิ ใชเ้ ป็น ข้อมลู ในการเทยี บคณุ ภาพการศึกษาสนระดับตา่ งๆ เพ่อื นาไปใชใ้ นการวางแผนแยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปน็ ขอ้ มูลสนบั สนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ
41 ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีจาแนกตาม สภาพปัญหาและความตอ้ งการ ไดแ้ ก่ กล่มุ ผู้เรยี นท่มี ีปัญหาด้านวินัยและพฤตกิ รรม กลุ่มผูเ้ รียนที่ปฏเิ สธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการ ประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการ พฒั นาและประสบความสาเร็จในการเรยี น สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพือ่ ให้บคุ ลากรทีเ่ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยถือปฏิบัตริ ว่ มกนั เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1. การตัดสินการให้ระดับแลการรายงานผลการเรยี น 1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรยี นของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผเู้ รียนใหพ้ ฒั นา จนเตม็ ตามศกั ยภาพ ระดับมธั ยมศึกษา (1) ตดั สินผลการเรียนเปน็ รายวชิ า ผู้เรยี นต้องมเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวชิ านัน้ ๆ (2) ผ้เู รยี นต้องได้รับการประเมนิ ทุกตัวชี้วดั และผา่ นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด (3) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า (4) ผ้เู รยี นต้องไดร้ บั การประเมินและมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนด ใน การอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน การพิจารณาเลื่อนขั้นท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อยและ สถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้ เล่ือนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นท่ี สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งน้ีให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสา มารถาของผ้เู รียนเป็นสาคัญ 1.2 การใหร้ ะดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ได้ตัวเลขแสดงระดับผล การเรยี นเป็น 8 ระดบั การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล การประเมนิ เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกิจกรรมเป็นผา่ นและไมผ่ ่าน
42 1.3 การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครอง และผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่าง น้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุ ณภาพการปฏิบัติของผู้เรี ยนท่ีสะท้ อนม มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. เกณฑก์ ารจบการศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึ กษา เปน็ 3 ระดบั คอื ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เกณฑ์การจบระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (1) ผูเ้ รียนเรยี นวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพน้ื ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด (2) ผูเ้ รยี นตอ้ งได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติม ไมน่ อ้ ยกว่า 11 หน่วยกติ (3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด (4) ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กาหนด (5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด เกณฑก์ ารจบระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย (1) ผ้เู รยี นเรียนวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพ้นื ฐาน 41 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด (2) ผ้เู รียนต้องได้หนว่ ยกิตตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 77 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติม ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต (3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด (4) ผู้เรยี นมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด (5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มี ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ ของสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา และผู้ท่ีเก่ียวข้องดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนว ปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรียนรูข้ องหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
ภาคผนวก
หนงั สือที่ ศธ 04010/ว 1228 เรื่อง ซกั ซ้อมความเขา้ ใจเกยี่ วกับแนวปฏบิ ตั ิการนบั เวลาเรียน การสอนชดเชย การจัดการเรยี นรู้ตามหลักสตู รปี การศึกษา 2564 และการอนุมัติจบการศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 (หลงั วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2564) ลงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 สแกนท่ีน่ี เพ่ืออ่านเอกสารในรูปแบบ หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์(E-BOOK) https://online.pubhtml5.com/vuqz/amqq/
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นศรีสุขวิทยา พุทธศักราช 2561 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (แผนการเรยี น วิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ / กิจกรรม เวลาเรยี น (หนว่ ยกิต) ม.1 ม.2 ม.3 รายวชิ าพื้นฐาน ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) วทิ ยาศาสตร์ 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) -วทิ ยาการคานวณ 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) -การออกแบบและเทคโนโลยี 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม - 60 (1.5) - 60 (1.5) - 60 (1.5) ประวตั ิศาสตร์ 60 (1.5) 20 (0.5) 60 (1.5) 20 (0.5) 60 (1.5) 20 (0.5) สขุ ศึกษาและพลศึกษา 20 (0.5) 40 (1.0) 20 (0.5) 40 (1.0) 20 (0.5) 40 (1.0) ศิลปะ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 (1.0) 20 (0.5) 40 (1.0) 20 (0.5) 40 (1.0) 20 (0.5) ภาษาตา่ งประเทศ 40 (1.0) 60 (1.5) 40 (1.0) 60 (1.5) 40 (1.0) 60 (1.5) รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) 60 (1.5) 440(11) 60 (1.5) 440(11) 60 (1.5) 440(11) รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 440(11) 440(11) 440(11) คอมพิวเตอร์ คณติ ศาสตร์ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) ภาษาจนี 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) หน้าที่พลเมอื ง* 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเตมิ ) 20(0.5) 20(0.5) 20(0.5) 20(0.5) 20(0.5) 20(0.5) รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน+เพม่ิ เติม) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น 560(14) 560(14) 560(14) 560(14) 560(14) 560(14) 1. แนะแนว 2. กจิ กรรมนกั เรยี น 60 60 60 60 60 60 - ลกู เสอื -เนตรนารี 20 20 20 20 20 20 - ชุมนุม 20 20 20 20 20 20 - กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 20 20 20 รวมเวลาเรียนต่อภาคเรียน 20* 20* 20* 20* 20* 20* รวมเวลาเรยี นตอ่ ปี 620 620 620 620 620 620 กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ 4H* 1,240 1,240 1,240 รวมเวลาเรยี นและกิจกรรมต่อปี 80 80 80 80 80 80 1,400 1,400 1,400 หมายเหตุ - กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” จดั แบบบรู ณาการรว่ มกับวชิ าหน้าที่พลเมือง จานวน 20 ชว่ั โมง และจัดกิจกรรมพฒั นา 4H จานวน 80 ชัว่ โมง รวมเป็น 100 ช่วั โมง/ภาคเรียน - กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 20* ช.ม. ให้นกั เรยี นทากจิ กรรมบรู ณาการนอกตารางเรยี น
Search