โครงงานเรื่อง พลงั งานไฟฟ้าจากผลไม้ จดั ทาโดย นางสาว อภญิ ญา ปาปะทงั เลขท่ี 23 ช้ันม. 6/1 นางสาว ขศิรินทร์ พทุ ธา เลขท่ี 25 ช้ันม. 6/1 นางสาว นลนิ รัตน์ มะโนรัตน์ เลขที่ 26 ช้ันม. 6/1 นางสาว สุพชิ ญา พง่ึ พรหม เลขท่ี 27 ช้ันม. 6/1 เสนอ คุณครู ธัญญารัตน์ ปิ งวงั โรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม สานักงานเขตพืน้ ทมี่ ธั ยมศึกษาเขต 36
เร่ือง พลงั งานไฟฟ้าจากพืชพรรณธรรมชาติ โดย นางสาว อภญิ ญา ปาปะทัง นางสาว ขศิรินทร์ พุทธา นางสาว นลนิ รัตน์ มะโนรัตน์ นางสาว สุพชิ ญา พง่ึ พรหม ครูท่ปี รึกษา 1. คุณครู ธัญญารัตน์ ปิ งวัง โครงงานช่ือ พลงั งานไฟฟ้าจากพืชพรรณธรรมชาติ บทคัดย่อ โครงงานเร่ือง พลงั งานไฟฟ้าจากผลไม้ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่าผลไม้ทเี่ รารับประทานทุกวันน้ันมีพลงั งาน ไฟฟ้าอยู่ไหมการศึกษา การเปรียบปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ มจี ุดประสงค์เพ่ือเปรียบเทียบ ปริมาณ กระแสไฟฟ้าในผลไม้ 5 ชนิด ได้แก่ ชมพ่มู ะเหมย่ี ว มะเฟื อง ส้ม เสาวรส และ แอปเปิ้ ลเขยี ว จากน้ันวัดปริมาณ กระแสไฟฟ้ าโดยใช้ตัวนาไฟฟ้ าคือ แผ่นทองแดง และ แผ่นสังกะสี วดั ค่าไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์โดยใช้ไฟฟ้ ากระแสตรง มีค่าต่างศักย์ไฟฟ้า 2 โวลต์ จากการ ทดลองพบว่า ใช้ผลไม้ทดลองท้งั 5 ชนิด ได้แก่ ชมพู่มะเหมยี่ ว มะเฟื อง ส้ม เสาวรส และ แอปเปิ้ ลเขียว มีปริมาณค่าไฟฟ้าเฉลยี่ เท่ากบั 1.022,0.946,0.976,0.979 และ 1.007 โวลต์ ตามลาดบั จากการศึกษาการเปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้ าใน ชมพู่ มะเหมยี่ ว มะเฟื อง ส้ม เสาวรส และ แอป เปิ้ ลเขียว จึงสามารถสรุปได้ว่าผลไม้ทีม่ ีปริมาณกระแสไฟฟ้ าเรียงจากมากทส่ี ุด คือ ชมพ่มู ะเหมยี่ ว แอปเปิ้ ลเขียว เสาวรส ส้ม และมะเฟื อง ตามลาดับ เนื่องจากผลไม้ดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็ นกรด เพราะมรี สเปรีย้ ว เม่ือใส่ตวั นา ไฟฟ้า ลงบนผลไม้ กรดภายในผลไม้จะเกดิ การแตกตวั เป็ นไอออน ทาหน้าที่เป็ นสารอเิ ลก็ โทรไลต์ สามารถนา ไฟฟ้าได้ จึงทาให้เกดิ วงจรไฟฟ้า และทาให้วัดค่าปริมาณไฟฟ้าจากผลไม้ได้ กติ ตกิ รรมประกาศ การจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เร่ืองพลงั งานไฟฟ้าจากผลไม้ ในคร้ังนีส้ าเร็จลุล่วงได้ด้วยดีโดยได้รับการ ช่วยเหลือและให้คาแนะนาจากคุณครูทป่ี รึกษาโครงงานและเพื่อนๆหลายๆคนในโรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม จังหวัด เชียงรายซึ่งคณะผู้จัดทาขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วยขอขอบพระคุณครูธัญญารัตน์ ปิ งวัง ท่ีให้คาปรึกษา โครงงานของเราที่ให้การอนุเคราะห์คาปรึกษาและแนะนาแนวทางในการทาโครงงาน การแก้ไขปัญหาต่างๆใน การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในคร้ังนี้
บทที่ 1 บทนา ท่มี าเเละความสาคญั ที่มาและความสาคญั เนื่องจากปัจจุบนั เทคโนโลยไี ดพ้ ฒั นาไปอยา่ งรวดเร็ว แหล่งกาเนิดไฟฟ้าของมนุษย์ มีการพฒั นาข้ึน และมีการใช้พลงั งานทดแทนมากข้ึน เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติท่ีนามา ผลิต เริ่มมีการลดลงจากงานวิจยั พบว่า ในพืชมี กระแสไฟฟ้า ของเหลวท่ีไดจ้ ากพืชเป็นสาร อิเลก็ โทรไลตซ์ ่ึงทาหนา้ ท่ี นาไฟฟ้าได้ สารอิเล็กโทรไลต์ คือสารท่ีสามารถแตก ตวั เป็นไอออนอิสระเมื่อละลายนา้ หรือ หลอมเหลว ทาใหส้ ามารถนาไฟฟ้าไดเ้ นื่องจากโดยทวั่ ไป สารละลายน้นั จะประกอบ ไปดว้ ย ไอออนจึงมกั เรียกกนั วา่ สารละลายไอออนิก โดยปกติแลว้ อิเล็กโทรไลตจ์ ะอยใู่ นรูปของกรด และเบส ผูศ้ ึกษาพบวา่ ในผลไมม้ ีสารอิเล็กโทรไลตซ์ ่ึงสามารถนาไฟฟ้ าและเป็ นสามารถใช้ เป็ นแหล่งกาเนิดไฟฟ้ายามจาเป็ นไดผ้ ูศ้ ึกษาจึงไดท้ า การทดลอง คือนา มะเฟื อง ชมพู่ มะเหม่ียว ส้ม และเสาวรส มาทดลอง โดยนาข้วั ไฟฟ้าคือ ทองแดง และ สงั กะสีปัก กบั ผลไม้ ชนิดต่างๆ เพ่อื เปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ วตั ถุประสงค์ 1.เพอ่ื ศึกษาเปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไมไ้ ดแ้ ก่ ชมพมู่ ะเหมี่ยว มะเฟื อง เสาวรส สม้ และแอปเปิ้ ลเขียว 2.เพอ่ื ศึกษาปัญหา ผลไมแ้ ตล่ ะชนิดมีปริมาณกระแสไฟฟ้าแตกต่างกนั หรือไม่ 3.เพอ่ื ศึกษาสมมติฐาน ผลไมต้ า่ งชนิดกนั มีปริมาณกระแสไฟฟ้าแตกตา่ งกนั 4.เพื่อศึกษาตวั แปรท่ีศึกษา ตวั แปรตน้ ชมพู่มะเหมี่ยว มะเฟื อง เสาวรส ส้ม และแอปเปิ้ ลเขียว ตวั แปรตาม ปริมาณ กระแสไฟฟ้า ตวั แปรควบคุม ความลึกของแผน่ สงั กะสีและแผน่ ทองแดงที่ปักลงในผลไม้ , คา่ ศกั ยไ์ ฟฟ้าของแอมมิเตอร์ สมตฐิ าน 1.ผลไมแ้ ตล่ ะชนิดมีปริมาณกระแสไฟฟ้าแตกต่างกนั มากนอ้ ยแคไ่ หน 2.ผลละไมต้ างชนิดกนั มีพลงั งานไฟฟ้าม่ีตา่ งกนั ตวั แปลท่ศี ึกษา ตวั แปรตน้ : ชมพมู่ ะเหมี่ยว มะเฟื อง เสาวรส สม้ และแอปเปิ้ ลเขียว ตวั แปรตาม : ปริมาณกระแสไฟ ตวั แปรควบคุม : ความลึกของแผน่ สงั กะสีและแผน่ ทองแดงท่ีปักลงไปในผลไมแ้ ละ คา่ ศกั ยไ์ ฟฟ้าของแอมมิเตอร์ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ขอบเขตการศึกษา ในการวจิ ยั คร้ังน้ี ศึกษา ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ ไดแ้ ก่ ชมพมู่ ะเหมี่ยว มะเฟื อง เสาวรส สม้ และแอปเปิ้ ลเขียว
บทที่ 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง ดจิ ติ อลมลั ตมิ เิ ตอร์ Digital Multimeter เป็ นเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าชนิดหน่ึง ตวั เคร่ืองมีลกั ษณะเป็ นรูปส่ีเหล่ียมขนาดเท่าฝ่ ามือ ใช้สาหรับวดั ค่าหรือตรวจสอบ สภาพการทางานของอุปกรณ์ตา่ งๆ มีการใชง้ านกนั โดยทวั่ ไป เช่น งานอุตสาหกรรม งานรถยนต์ และงานซ่อมบารุงไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์โดยมลั ติมิเตอร์สามารถแบง่ ออกได้ 2 ประเภทหลกั ๆ คือ มลั ติมิเตอร์แบบดิจิตอล และมิลเตอร์แบบอนาล็อก ซ่ึง ท้งั สองประเภทน้ีจะมีลกั ษณะการแสดงผล มีรูปร่าง และฟังกช์ น่ั การทางานที่แตกต่างกนั แต่ลกั ษณะการใชง้ านโดยรวมแลว้ สามารถใชว้ ดั ไดท้ ้งั โวลทม์ ิเตอร์ แอมป์ มิเตอร์หรือโอห์มมิเตอร์ รวมท้งั มีคุณสมบตั ิการทางานท่ีสามารถตรวจวดั ปริมาณไฟฟ้า วดั แรงดนั ไฟฟ้าท้งั กระแสตรงและกระแสสลบั ได้ มีความละเอียดแม่นยาในการอ่านค่า แข็งแรงทนทาน มีขนาดกะทดั รัด พกพาไปใช้งานไดส้ ะดวกสบาย การเลือกใช้มลั ติมิเตอร์ควรเลือกให้เหมาะสมกบั การใช้งาน ท้งั น้ีก็เพื่อป้องกนั การวดั ค่า ผดิ พลาด และเกิดอนั ตรายต่อผใู้ ชง้ านได้ แอมมเิ ตอร์ (Ammeter) มิเตอร์วดั กระแสไฟฟ้าตรง (DC Ammeter) เป็นเครื่องวดั ไฟฟ้ากระแสตรง DC (Direct Current) ท่ีใชว้ ดั กระแสไฟฟ้าได้ หลายยา่ นการวดั เช่น วดั กระแสไฟฟ้าเป็นไมโครแอมแปร์ (Microampere) เรียกวา่ ไมโครแอมมิเตอร์ (Microammeter), ใชว้ ดั กระแสไฟฟ้าเป็นมิลลิแอมแปร์ (Milliampere) เรียกวา่ มิลลิแอมมิเตอร์ (Milliammeter), ใชว้ ดั กระแสไฟฟ้าเป็นแอมแปร์ (Ampere) เรียกวา่ แอมมิเตอร์ (Ammeter) เป็นตน้ ซ่ึงมิเตอร์วดั ไฟฟ้ากระแสตรงมีท้งั แบบเขม็ (Analog Ammeter) และมิเตอร์ วดั ไฟฟ้ากระแสตรงแบบดิจิตอล (Digital Ammeter)เป็นเครื่องมือวดั กระแสไฟฟ้า แบ่งออกได้ 2 ชนิดตามลกั ษณะของ กระแสไฟฟ้า คือ แอมมเิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Ammeter) และแอมมเิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั (Alternating Current Ammeter) ซ่ึงท้งั 2 ชนิดจะดดั แปลงจากชุดขดลวดเคลื่อนท่ีแบบดาร์สนั วาล (D’Arsonval Moving Coil) ใชส้ าหรับ วดั ปริมาณกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และกระแสไฟฟ้าสลบั (AC) เนื่องจากภายในพนั ลวดตวั นาขนาดเลก็ จึงเกิดค่าความ ตา้ นทานข้ึน เรียกวา่ ความตา้ นทานขดลวด (Moving Coil Resistance) และคา่ กระแสไฟฟ้าท่ีทาให้เขม็ ของมิเตอร์บ่ายเบนไป จนเตม็ สเกล เรียกวา่ กระแสไฟฟ้าเตม็ สเกล (Full Scale Current) ซ่ึงคา่ กระแสไฟฟ้าน้ีจะมีปริมาณนอ้ ยมากจึงไม่สามารถวดั กระแสไฟฟ้าท่ีมีปริมาณสูงได้ ทาใหต้ อ้ งมีการดดั แปลงเคร่ืองมือวดั น้ี เรียกวา่ การขยายยา่ นวดั โดยหลกั การขยายยา่ นวดั น้นั ใชห้ ลกั การของวงจรขนาน (Parallel Circuit) โดยการนาตวั ตา้ นทานช้นั ท์ (Shunt Resistor) มาต่อขนานกบั ขดลวดเคล่ือนที่ เพ่อื แบ่งปริมาณกระแสไฟฟ้าออกเป็น 2 ส่วน คือ กระแสไฟฟ้าเตม็ สเกลของขดลวดเคล่ือนที่ (Im) และกระแสไฟฟ้าซ่ึงไหล ผา่ นตวั ตา้ นทานช้นั ท์ (R Shunt) ซ่ึงจะแบ่งกระแสไฟฟ้าส่วนท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้าเตม็ สเกลของขดลวดเคลื่อนท่ีออกไป ทา ให้กระแสไฟฟ้าท้งั สองเป็นสดั ส่วนกนั อยา่ งพอดี ซ่ึงในหวั ขอ้ น้ีเราจะมาพดู ถึงการวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DC) วา่ ทาไม ตอ้ งใชต้ วั ตา้ นทานชนั ต์ (Shunt Resistor) หรือ R Shunt กนั
มะเฟื อง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ช่ือสามญั : Carambola) เป็นไมต้ น้ พ้นื เมืองของ อินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลงั กา และเป็นท่ีนิยมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวนั ออก รวมท้งั มีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกนั บราซิล เปรู กานา Guyana ซามวั ตองงา ไตห้ วนั French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชยอ์ ยทู่ ่ีฟลอริดาตอนใตแ้ ละฮาวาย ชมพ่มู ะเหมยี่ ว หรือ มะเหมี่ยว (Pomerac) จดั เป็นชมพชู่ นิดหน่ึงท่ีนิยมนาผลสุกมารับประทานสด เน่ืองจาก เน้ือผลหนา เน้ือมีความ นุ่ม มีรสเปร้ียวอมหวาน และมีกล่ินหอม นอกจากน้นั ยงั ใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ประกอบอาหาร และแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ อาทิ แยม ไวน์ และน้าผลไม้ เสาวรส (กะทกรกฝรั่ง) เป็นผลไมเ้ พอื่ สุขภาพชนิดหน่ึงที่มีตน้ กาเนิดในแถบทวีปอเมริกาใต้ ผลมีลกั ษณะกลม ผลอ่อนจะมีสีเขียว แต่ เมื่อสุกแลว้ จะมีหลายสีแลว้ แตส่ ายพนั ธุ์ คือ สีม่วง สีเหลือง สีส้ม ซ่ึงในบา้ นเราน้ีจะปลูกท้งั 3 สายพนั ธุ์ โดยในผลเสาวรสน้นั จะ มีเมลด็ จานวนมาก มีกลิ่นคลา้ ยฝรั่งสุก รสออกเปร้ียวจดั แต่บางสายพนั ธุจ์ ะมีรสออกอมหวานดว้ ย สาหรับประโยชนข์ องเสาวรสและสรรพคุณของเสาวรสน้นั กม็ ีมากมายหลายขอ้ เพราะเสาวรสอุดมไปดว้ ยวิตามินและแร่ธาตุ รวมอยหู่ ลายชนิด ซ่ึงไดแ้ ก่ วิตามินซี วติ ามินเอ วติ ามินบี 2 วติ ามินบี 3 กรดโฟลิก ธาตแุ คลเซียม ธาตเุ หล็ก ธาตุแมกนีเซียม ธาตุ ฟอสฟอรัส ธาตโุ พแทสเซียม ธาตสุ งั กะสี และคาร์โบไฮเดรต โดยยงั มีของแถมนน่ั กค็ ือใยอาหารในปริมาณสูงรวมอยดู่ ว้ ย ซ่ึง นิยมนามารับประทานเป็นผลไมส้ ด โดยเสาวรสที่ลกั ษณะดีน้นั ตอ้ งไม่เห่ียว ผวิ ตอ้ งเตง่ ตึง แตท่ ้งั น้ีห้ามรับประทานในส่วนของ ตน้ สดเดด็ ขาด เพราะมีสารพิษอนั ตราย อาจทาใหเ้ สียชีวติ ได้ รอรับประทานผลอยา่ งเดียวจะดีกวา่ ส้ม ส้ม (Orange) ผลไมย้ อดฮิตตลอดกาล จดั เป็นผลไมต้ ระกลู Citrus ให้รสชาติเปร้ียวหวาน ท่ียงั อุดมไปดว้ ยวติ ามิน ตา่ ง ๆ ซ่ึงมีประโยชน์ตอ่ ร่างกายของเรา เองแลว้ ส้มมีวติ ามินอะไรบา้ ง เช่น วติ ามินซี วติ ามินเอ (เบตาแคโรทีน) วติ ามินบี วติ ามิน ดี ธาตุแคลเซียม ธาตโุ พแทสเซียม ธาตฟุ อสฟอรัส ธาตุเหลก็ และคอลลาเจน นอกจากน้ียงั มีใยอาหารท่ีช่วยในระบบขบั ถ่ายอีก ดว้ ย สาหรับสรรพคุณของส้มในเรื่องอื่น ๆ เช่น ช่วยรักษาเลือดออกตามไรฟัน ช่วยลา้ งสารพิษในร่างกายดว้ ยสารต่อตา้ นอนุมลู อิสระสาหรับการกินสม้ น้นั สามารถกินไดท้ ุกเพศทุกวยั ไมว่ า่ จะเดก็ หรือผใู้ หญ่ก็ตาม แต่ท้งั น้ีเดก็ ตอ้ งอายมุ ากกวา่ 6 เดือนและ การใหด้ ่ืมน้าส้มน้นั ควรจะผสมน้าเปล่าไปดว้ ยในปริมาณคร่ึงต่อคร่ึง ท้งั น้ีเพอื่ ลดการระคายเคืองสาหรับเดก็ เพราะส้มน้นั จะมี รสชาติเขม้ ขน้ และการผสมน้าก็เป็นอีกวธิ ีสาคญั ท่ีทาใหเ้ ดก็ ไม่ติดกินหวานไดด้ ีอีกดว้ ย และถดั มาสาหรับผทู้ ี่เป็นโรคเบาหวาน หรือโรคไต หรือคิดวา่ กาลงั จะลดความอว้ น ควรกินดว้ ยความระมดั ระวงั เพราะส้มมีน้าตาลและโพรแทสเซียมสูง แตถ่ า้ จะกิน ควรเลือกกินเพราะวา่ สม้ มนั มีกากใยมากกวา่ คิดวา่ เป็นน้าส้มค้นั
แอปเปิ้ ลเขียว (Green Apple) เป็นผลไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ มีทรงพมุ่ ขนาดกลาง ผลเป็นผลเดี่ยว มีลกั ษณะทรงกลม หรือกลมแป้น ตรงกน้ ผล มีรอยบุ๋มลึก ผวิ เปลือกบางผวิ เรียบ ผลจะมีสีเขียว มีเน้ือแน่นฉ่าน้า สีขาวนวล มีรสชาติหวานอมเปร้ียว มีกลิ่นหอม ใน กลางผลมีห้าโพรงเรียงอยู่ ผา่ คร่ึงออกมาเป็นรูปดาว มีเมล็ดอยขู่ า้ งในโพรง มีถ่ินกาเนิดในทวีปเอเชียกลาง มีปลูกในหลาย ประเทศมีอากาศหนาวเยน็ มีปลูกหลายสายพนั ธุ์ ในประเทศไทยมีปลูกในภาคเหนือ มีคุณประโยชน์และสรรพคณุ ทางยา หลายอยา่ ง ใชน้ ามาเป็นผลไมร้ ับประทาน ใชท้ าอาหารไดห้ ลายเมนู ใชท้ าเป็นเคร่ืองดื่มตา่ งๆได้
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินโครงงานและการดาเนินงาน จากการท่ีผจู้ ดั ทาโครงงานไดศ้ ึกษาและคน้ ควา้ หาขอ้ มูลในการทาพลงั งานไฟฟ้าจากผลไม้ ไดม้ ีข้นั ตอนและวิธีการดาเนินงาน ดงั ต่อไปน้ี 3.1 อปุ กรณ์ - ปากกาดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ - แอมมิเตอร์ - แผน่ สงั กะสี - แผน่ ทองแดง 3.2 สารเคมที ใ่ี ช้ในการทดลอง - ชมพมู่ ะเหม่ียว - มะเฟื อง - เสาวรส - สม้ - แอปเปิ้ ลเขียว 3.3 ข้นั ตอนการทดลอง 1. ข้นั ตอนการเตรียมผลไม้ นาผลไมท้ ้งั สองชนิดมาลา้ งใหส้ ะอาด นาไปผ่ึงลมใหแ้ ห้งสนิท 2. การศึกษาเปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ มะเฟื อง และ เสาวรส นาแผน่ สงั กะสีและแผน่ ทองแดง มาตดั ให้ มีขนาดเทา่ กนั คือ 0.7 x 5 เซนติเมตร นาแผน่ สงั กะสีและแผน่ ทองแดงไปปักในเสาวรส 5 ผล ลึกผลละ 2 เซนติเมตร นาปากกาดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ โดยใชป้ ากกาสีแดงสมั ผสั กบั แผน่ ทองแดง และ ปากกาสีดา สมั ผสั กบั สมั ผสั กบั แผน่ สงั กะสี ทาซ้าเหมือนกนั อีกรอบแต่ เปลี่ยนเป็น ชมพมู่ ะเหมี่ยว มะเฟื อง สม้ และ แอปเปิ้ ลเขียว ตามลาดบั สงั เกตและบนั ทึกผลตวั เลขที่ข้ึนบนแอมมิเตอร์
บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการทดลองมีดงั น้ี ตารางที่ 1 ปริมาณการแสไฟฟ้าจาก มะเฟื อง คร้ังที่ ปริมาณการแสไฟฟ้าจากมะเฟื อง (โวลต์) 1 0.946 2 0.936 3 0.944 4 0.954 5 0.963 เฉลยี่ 0.946 ตารางที่ 2 ปริมาณการแสไฟฟ้าจาก เสาวรส ปริมาณการแสไฟฟ้าจากเสาวรส คร้ังที่ (โวลต์) 0.981 1 0.970 2 0.995 3 0.995 4 0.956 5 เฉลย่ี 0.979
ตารางที่ 3 ปริมาณการแสไฟฟ้าจาก ชมพมู่ ะเหม่ียว คร้ังท่ี ปริมาณการแสไฟฟ้าจากชมพ่มู ะเหมี่ยว (โวลต์) 1 1.020 2 1.021 3 1.010 4 1.033 5 1.029 เฉลย่ี 1.022 ตารางท่ี 4 ปริมาณการแสไฟฟ้าจาก สม้ ปริมาณการแสไฟฟ้าจากส้ม คร้ังที่ (โวลต์) 1 0.973 2 0.961 3 0.970 4 0.970 5 0.965 เฉลย่ี 0.967 ตารางที่ 5 ปริมาณการแสไฟฟ้าจาก แอปเปิ้ ลเขียว คร้ังท่ี ปริมาณการแสไฟฟ้าจากแอปเปิ้ลเขยี ว (โวลต์) 1 1.024 2 0.995 3 0.999 4 0.996 5 1.023 เฉลย่ี 1.007
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุป อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองเปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้ า พบวา่ ชมพมู่ ะเหม่ียว มี ปริมาณค่าไฟฟ้ า ไฟฟ้ าเฉลี่ย เท่ากบั 1.022 โวลต์ มะเฟื องมีปริมาณคา่ ไฟฟ้ าเฉล่ีย เท่ากบั 0.946 โวลต์ สม้ มี ปริมาณคา่ ไฟฟ้ าเฉล่ีย เท่ากบั 0.967 โวลต์ เสาวรส มีปริมาณคา่ ไฟฟ้ าเฉล่ีย เท่ากบั 0.979 โวลต์ โวลต์ และแอปเปิ้ ลเขียว มีปริมาณค่าไฟฟ้ าเฉล่ีย เท่ากบั 1.007 โวลต์ จากการศึกษาการ เปรียบเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้ าใน ชมพมู่ ะเหมี่ยว มะเฟื อง ส้ม เสาวรส และ แอปเปิ้ ลเขียว สามารถ สรุปผลไดว้ า่ ปริมาณกระแสไฟฟ้ าท่ีมีมากที่สุด ในผลไมค้ ือ ชมพู่มะเหม่ียว แอปเปิ้ ลเขียว เขียว เสาวรส ส้ม และมะเฟื อง ตามลาดบั ขอ้ เสนอแนะ การทาโครงงานเรื่องน้ี สามารถนากระแสไฟฟ้ า จากผลไมน้ ้ี ไปใชใ้ นการทดลองในวชิ า ฟิ สิกส์ หรือ วชิ าเคมี และ การศึกษาเรื่องน้ีอยา่ งละเอียด นา ไปตอ่ ยอดเป็นโครงงานต่อไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: