โครงงานเรื่อง โคมไฟดักยงุ ด้วยแสงสีม่วง จัดทาโดย นางสาว อภิญญา ปาปะทัง เลขท่ี 23 ช้ันม. 6/1 นางสาว ขศิรินทร์ พุทธา เลขที่ 25 ช้ันม. 6/1 นางสาว นลินรัตน์ มะโนรัตน์ เลขที่ 26 ช้ันม. 6/1 นางสาว สุพิชญา พ่ึงพรหม เลขที่ 27 ช้ันม. 6/1 เสนอ คุณครู ธญั ญารัตน์ ปิ งวัง โรงเรียนป่ าแดดวิทยาคม สานกั งานเขตพื้นท่มี ธั ยมศึกษาเขต 36
เรื่อง โคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีมว่ ง โดย นางสาว อภญิ ญา ปาปะทงั นางสาว ขศิรินทร์ พุทธา นางสาว นลินรตั น์ มะโนรตั น์ นางสาว สุพิชญา พ่งึ พรหม ครูทีป่ รึกษา 1. คุณครู ธญั ญารัตน์ ปิ งวงั บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง โคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีมว่ ง วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษากสรโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ย แสงสีม่วงสามารถดกั ยงุ ไดจ้ ริงไหมและเพอื่ นาหลอดมาประยกุ ตเ์ ป็นโคมไฟดกั ยงุ โดยการนา กระดาษสีม่วงมาตดิ กบั หลอดไฟและประประดิษฐ์โครงตกแต่งเพอ่ื ใหเ้ กิดความสวยงาม กติ ติกรรมประกาศ การจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์เร่ืองโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีม่วง ในคร้ังน้ีสาเร็จลลุ ่วงได้ ดว้ ยดีโดยไดร้ บั การช่วยเหลอื และใหค้ าแนะนาจากคุณครูที่ปรึกษาโครงงานและเพื่อนๆหลายๆ คนในโรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม จงั หวดั เชียงรายซ่ึงคณะผจู้ ดั ทาขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ีดว้ ย ขอขอบพระคณุ ครูอจั ฉรา อาจคา ทีใ่ ห้คาปรึกษาโครงงานของเราทีใ่ ห้การอนุเคราะหค์ าปรึกษา และแนะนาแนวทางในการทาโครงงาน การแกไ้ ขปัญหาต่างๆในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ในคร้งั น้ี
บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าเเละความสาคญั ในปัจจุบนั วสั ดทุ ี่ใชท้ ากิจกรรมตา่ งๆของมนุษยม์ มี ากข้ึนเร่ือยๆ และวสั ดสุ ามารถจดั หา ไดง้ า่ ยจึงนามาแปรรูปเป็นส่ิงของเคร่ืองใช้ ซ่ึงใชส้ อยเพื่อให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด และสามารถ นามาประกอบเป็นอาชีพเพื่อสร้างรายไดแ้ กค่ รอบครัว ยงุ เป็นพาหะนาโรคตา่ ง ๆ ท่เี ป็นอนั ตราย ตอ่ มนุษย์ เช่น โรคไขเ้ ลือดออก โรคไขม้ าลาเรีย เป็นตน้ จึงไดม้ ผี ูค้ ดิ คน้ ส่ิงทีส่ ามารถช่วยในการ กาจดั และป้องกนั เช่น ครีมทางกนั ยงุ ยาฉีดกนั ยงุ เป็นตน้ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีอาจจะเกิดอนั ตรายตอ่ ผบู้ ริโภคเม่อื ใชใ้ นปริมาณทีม่ ากเกินไปอนั เนื่องมาจากส่ิงเหล่าน้ีอาจจะมสี ารเคมเี ป็นส่วนผสม อยู่ ซ่ึงอาจทาใหผ้ บู้ ริโภคเกิดอาการแพไ้ ดใ้ นเวลาต่อมา วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ศกึ ษาโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีมว่ งสามารถใชด้ กั ยงุ ได้ 2. เพือ่ ศกึ ษาวา่ หลอดไฟสามารถประยกุ ตเ์ ป็นโคมไฟดกั ยงุ ได้ 3. เพอื่ ศกึ ษาวา่ โคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีม่วงดกั ยงุ ไดจ้ ริง สมตฐิ าน 1.แสงสีม่วงสามารถดกั ยงุ ไดด้ กี วา่ สีอ่ืนๆ 2.แสงสีม่วงดกั ยงุ ไดม้ ากและใชเ้ วลานอ้ ย 3.เวลาในการดกั ยงุ แสงสีม่วงมปี ระสิทธิภาพดีกวา่ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า การดาเนนิ งาน 1. ปรึกษาหารือในการหาหวั ขอ้ เร่ืองโครงงานทจี่ ะทา 2. วางรูปเเบบการทาโครงงาน 3. หาเเหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เพ่ือพจิ ารณาความเหมาะสมของโครงงาน 4. ทาหนา้ ทต่ี ามโครงงาน 5. ตรวจความเรียบร้อยทกุ อยา่ ง 6. นาเสนอ
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. คนทีไ่ ดม้ าศกึ ษาทราบวธิ ีการทาโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีมว่ ง 2. สามารถนาหลอดไฟมาประยกุ ตเ์ ป็นโคมไฟดกั ยงุ 3. สามารถนาความรู้ไปต่อยอดไดอ้ กี ในเวลาต่อไป
บทที่ 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง หลอดไฟฟ้า พุทธศกั ราช 2443 มีการคิดคน้ หลอดไฟแบบไส้ คร้ังแรกข้ึนในโลกโดย เซอร์ โจเซฟ สวอน ได้นาแนวคิด จากนักวิทยาศาสตร์ มาพัฒนาต่อ จนสร้างหลอดไฟไดส้ าเร็จแต่ไม่ได้ พฒั นา ระบบไฟฟ้าข้ึนทาให้คนท่ีซ้ือหลอดไฟ ของ สวอน ตอ้ งหาซ้ือเครื่องปั่นไฟ ก่อให้เกิด ความยุ่งยากในการใช้งานมาก ต่อมา ทาง ทอมสั เอดิสัน ไดส้ ามารถสร้างหลอดไฟแบบไส้ ข้นึ มาไดบ้ า้ ง และนอกจากน้นั ทอมสั เอดิสัน ยงั ไดพ้ ฒั นาระบบไฟฟ้า ข้ึนมา ควบคกู่ บั หลอดไฟ และแจกจ่ายไฟ ไปยงั บา้ นเรือนต่าง ๆ ทาให้ หลอดไฟของเขาไดร้ ับความนิยม มากกว่า หลอด ของ ทางสวอน จนในท่สี ุด คนทว่ั ไป เกิดความเขา้ ใจกนั ว่า เอดิสัน คอื ผคู้ ดิ คน้ หลอดไฟ เป็นคน แรกของโลก หลอดไฟ ของเอดิสนั ทาจากแท่งคาร์บอน ในปี พุทธศกั ราช 2453 ไดม้ ีการ คิดคน้ ไสห้ ลอดทีท่ าจากทงั สเตน ข้นึ ในโลก เนื่องจากหลอดไฟ ของ เอดิสัน ทาจาก คาร์บอน จึงมีอายุการใชส้ ้ัน เพียง 13 ชวั่ โมงและจาก ปัญหาน้ี ต่อมา วลิ เล่ียม เดวิส ไดค้ ดิ คน้ ไส้หลอด ทีท่ ามาจาก ทงั สเตน ซ่ึงสามารถ ทนความร้อน ไดส้ ูงถึง 3,419 องศาเซลเซียสในขณะที่ไส้หลอด มีอุณหภูมิสูง 2,456 องศาเซลเซียส ทาให้ ปัญหาไส้หลอด ขาดง่ายหมดไป แต่ปัญหาท่ีตามมาอีกก็คือเม่ือไส้ทงั สเตนร้อน จะมีอานุภาค บางส่วนหลุดลอกไป เกาะกบั ผวิ หลอดไฟ ทาให้หลงั จากใชง้ านไปไดร้ ะยะหน่ึง ประสิทธิภาพ การส่ องแสงของหลอดไฟก็จะลดลง จากปั ญหาเรื่ องแสงไฟท่ีลดลง ทาให้บรรดา นกั วทิ ยาศาสตร์ ตา่ งก็พยายามคน้ ควา้ หาแนวทางการพฒั นาหลอดไฟกนั ตอ่ ไป พุทธศกั ราช 2477 ได้มีการ คิดค้น หลอดนีออน เกิดข้ึนในโลก โดย จอร์จ คลอสิค หลักการ ทางานคอื บรรจุไอปรอทเขา้ ไปในหลอดและฉาบผิวหลอดแกว้ ดา้ นใน ดว้ ยฟอสฟอรัส หรือสาร เรืองแสงเมื่อปลอ่ ยกระแสไฟฟ้าเขา้ ไป ไอปรอทจะถูกกระตนุ้ และแผ่พลงั งานออกมาในรูปของ รังสีท่มี คี วามยาวคลนื่ 254 นาโนเมตรออกมา ซ่ึงเป็นความยาวคล่ืน ทส่ี ายตามองไม่เห็นและเป็น อนั ตราย รังสีท่ีไอปรอทแผ่ออกมาจะกระทบกบั สารเร่ืองแสงที่ผนังหลอด สารเรืองแรงจะดูด
ซบั รงั สีทเี่ ป็นอนั ตรายเอาไวแ้ ละตวั มนั เองจะแผ่พลงั งานในรูป ของคล่นื ท่ีมคี วามถี่ ท่ีสายตาคน มองเห็นได้ออกมาแทน ท่ีเรียกว่าแสงขาวอุ่น เรียกหลอดพวกน้ีว่า หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent) ซ่ึงมกั ถูกเรียกในอกี ชื่อว่า หลอดนีออน ซ่ึงในการใช้งานจริงๆ ตอ้ งมีอุปกรณ์อนื่ ๆ ช่วยคือ สตาร์ทเตอร์ (starter) และบาลาสท์ (Ballast) พทุ ธศกั ราช 2503 ไดม้ ีการ คิดคน้ หลอดเมทลั ฮาไลด์ ข้ึนมาไดช้ ่วงน้ี เทคโนโลยีไดแ้ บ่งรูปแบ การพฒั นาหลอดไฟ ออกเป็น 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1.ใช้หลกั การทาให้เกิดความร้อนจนเปล่งแสงไดแ้ ก่ หลอดไส้เอดิสัน, หลอดไส้ทงั สเตน, และ หลอดฮาโลเจน 2.ใช้หลกั การปล่อยประจุในก๊าซหลอดความดนั สูง HID, หลอดเมทลั ฮาไลด์, หลอดโซเดียม ความดนั สูง หลอดความดนั ต่า หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดโซเดียมความดนั ต่าหลอดเมทลั ฮาไลด์ เป็ น หลอดไฟท่ีประสิทธิภาพ การให้แสงสว่างสูงทว่ามีอัตราการใช้พลังงานสูง ต้ังแต่ 100 ถึง 3,500 วตั ต์ อายุ การใชง้ านปานกลาง คือ 8,000 ถึง 10,000 ชวั่ โมง เหมาะกบั งานติดต้งั หลอดใน ที่สูงต้งั แต่ 6 เมตร ข้ึนไป การจุดติดหลอดไฟ จะตอ้ งรอเวลาการ สตาร์ท ประมาณ 3 ถึง 5 นาที แสงสวา่ งสูงสุดรอ 15 นาทีที่ผ่านมา หลอดเมทลั ไดร้ บั ความนิยมกนั อยา่ งแพร่หลายในโรงงาน อุตสาหกรรม แต่ในปัจจุบนั ภาวะวิกฤตทางพลงั งาน ส่งผลให้ค่าไฟฟ้าสูงข้ึนข้ึน จึงส่งผลให้ หลาย ๆ โรงงานปรับเปล่ียนระบบไฟฟ้าจากการใชห้ ลอดไฟประเภทเมทลั ฮาไลดเ์ ป็ นการใช้ หลอดไฟประเภทอ่ืน ๆ เช่นหลอด LED ในปัจจุบนั น้ีมีหลอดไฟให้เราเลือกใชอ้ ยู่มากมายหลายประเภท มีท้งั หลอดไฟที่ให้ความสว่าง แตกต่างกัน หรือว่าเป็นหลอดท่ีมีความสว่างเท่ากนั แต่เป็ นคนละประเภท ซ่ึงประสิทธิผลยอ่ ม แตกต่างกนั ดงั น้ันก่อนการเลือกตดิ ต้งั หลอดไฟ ภายในบา้ นของเราน้ัน ควรศึกษาและทาความ
เขา้ ใจหลอดไฟประเภทต่างๆ ในทอ้ งตลาดว่ามีลกั ษณะและประเภท การใชง้ านอย่างไร เพ่ือให้ ไดป้ ระสิทธิภาพสูงสุด และยงั ช่วยประหยดั พลงั งานอกี ดว้ ย แสง เป็นพลงั งานรงั สี ( Radiation Energy ) ทีต่ ารับรู้และมปี ฏกิ ิริยาตอบสนองดว้ ย กระบวนการ วิเคราะหแ์ ยกแยะของสมอง ตาสามารถวเิ คราะหพ์ ลงั งานแสงโดยการรบั รู้วตั ถุ สมั พนั ธ์กบั ตาแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง ความเขม้ ของแสง และความยาวคลนื่ ทมี่ องเห็นได้ สี อลกั ษณะความเขม้ ของแสงที่ปรากฏแกส่ ายตาใหเ้ ห็นเป็นสี โดยผา่ นกระบวนการรบั รู้ ดว้ ยตา มองจะรบั ขอ้ มลู จากตา โดยท่ตี าไดผ้ า่ นกระบวนการวิเคราะหข์ อ้ มูลพลงั งานแสงมาแลว้ ผา่ นประสาท สัมผสั การมองเห็น ผา่ นศูนยส์ บั เปลย่ี นในสมองไปสู่ศนู ยก์ ารมองเห็นภาพ การ สร้างภาพหรือการมองเห็นกค็ อื การท่ีขอ้ มลู ไดผ้ ่านการวเิ คราะห์แยกแยะให้เรารบั รูถ้ งึ สรรพส่ิง รอบตวั การตรวจวดั คลืน่ แสงเร่ิมข้นึ ใน คริสตศ์ ตวรรษที่ 19 ในปี 1928 ไรท์ ( W.D.Wright ) และ กิลด์ ( J.Guild ) ประสบความสาเร็จในการตรวจวดั คลน่ื แสงคร้ังสาคญั และไดร้ บั การรบั รองจาก Commission Internationale de l ‘Eclairage หรือ CIE ในปี 1931 โดยถอื วา่ เป็นการตรวจวดั มาตรฐานสามเหล่ียมสี CIE เป็นภาพแสดง รูปสามเหลี่ยมเกือกมา้ นาเสนอไวใ้ นปี 1931 โดย การวิเคราะห์สีจากแสงสเปคตรัม สัมพนั ธก์ บั ความยาวคลน่ื แสง แสดงถึงแสงสีขาวทา่ มกลาง
แสงสเปคตรัมรอบรูปเกือกมา้ โคง้ รูปเกือกมา้ แสดงความยาวคลน่ื จาก 400- 700 mu สามเหลี่ยมสี CIEสร้างข้นึ ตามระบบความสัมพนั ธ์พิกดั X และ Y คาร์เตเชียน ในทางคณิตศาสตร์จากมุมตรง ขา้ ม 3 มุมของรูปเกือกมา้ คือสีน้าเงินม่วงเขม้ ประมาณ 400 mu สีเขียวประมาณ 520 mu และสี แดงประมาณ 700 mu คือสีจากแสง ท่ีจะนามาผสมกนั และกอ่ ให้เกิดสีตา่ ง ๆ ข้นึ แสงสีแดงมี ความยาวคลื่นสูงสุด แตม่ ีความถ่ีคลืน่ ต่าสุด จะหกั เหไดน้ อ้ ยทสี่ ุดและแสงสีมว่ งจะมคี วามยาว คลืน่ นอ้ ยสุด แตม่ ีความถี่คลน่ื สูงสุด และหกั เหไดม้ ากที่สุด โครงสร้างของสามเหลี่ยมสี CIE น้ี มไิ ดข้ ้นึ อยกู่ บั ทฤษฎีใดทฤษฎีหน่ึง แตเ่ กิดจากการทดลอง คน้ ควา้ ทาง วิทยาศาสตร์ ระบบการพมิ พอ์ ตุ สาหกรรม การถา่ ยภาพ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ ไดใ้ ช้ โครงสร้างสีน้ีเป็นหลกั ในระบบการพมิ พไ์ ดใ้ ชส้ ีจากดา้ น 3 ดา้ นของรูปเกือกมา้ คอื สีเหลอื ง ฟ้า สีม่วงแดง และสีดาเป็นหลกั ส่วน ในการถา่ ยภาพ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ จอคอมพวิ เตอร์ ใชส้ ีจาก มมุ ท้งั สาม คอื แดง เขยี ว น้าเงิน เป็นหลกั ในราวปี ค.ศ. 1666 เซอร์ ไอแซค นิวตนั ไดแ้ สดงให้เห็นวา่ สีคอื ส่วนหน่ึงในธรรมชาตขิ อง แสงอาทิตย์ โดยใหล้ าแสงส่องผา่ นแท่งแกว้ ปริซึม แสงจะหกั เห เพราะแท่งแกว้ ปริซึมความ หนาแน่นมากกวา่ อากาศเม่อื ลาแสงหกั เหผา่ นปริซึมจะปรากฏแถบสีสเปคตรมั ( Spectrum) หรือ
ท่ีเรียกว่า สีรุ้ง (Rainbow) คือ สีมว่ ง คราม น้าเงิน เขยี ว เหลือง แสด แดง เมือ่ แสงตกกระทบ โมเลกลุ ของสสาร พลงั งานบางส่วนจะดดู กลนื สีจาก แสงบางส่วน และสะทอ้ นสีบางสีให้ ปรากฏเห็นได้ พ้นื ผวิ วตั ถทุ เี่ ราเห็นเป็นสีแดง เพราะ วตั ถุดูดกลืนแสงสี อืน่ ไว้ สะทอ้ นเฉพาะ แสงสีแดงออกมา วตั ถุสีขาวจะสะทอ้ นแสงสีทกุ สี และวตั ถุสีดา จะดดู กลนื ทุกสี จากทฤษฎีการการหกั เหของแสงของ ของนิวตนั และจากสามเหล่ยี มสี CIE พบว่า แสงสีเป็น พลงั งานเพยี ง ชนิดเดียวที่ปรากฎสี จากดา้ นท้งั 3 ดา้ นของรูปสามเหลี่ยมสี CIE นกั วิทยาศาสตร์ ไดก้ าหนดแมส่ ีของแสงไว้ 3 สี คอื สีแดง ( Red) สีเขยี ว (Green) และสีน้าเงิน ( Blue) แสงท้งั สามสี เมอ่ื นามาฉายส่องรวมกนั จะทาใหเ้ กิด สีตา่ ง ๆ ข้ึนมา คือ แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง ( Yellow ) แสงสีแดง + แสงสีน้าเงิน = แสงสีแดงมาเจนตา ( Magenta) แสงสีน้าเงิน + แสงสีเขยี ว = แสงสีฟ้าไซแอน ( Cyan ) และถา้ แสงสีท้งั สามสีฉายรวมกนั จะไดแ้ สงสีขาว หรือ ไมม่ สี ี เราสามารถสงั เกตแมส่ ีของแสง ไดจ้ ากโทรทศั น์สี หรือจอคอมพวิ เตอร์สี โดยใชแ้ ว่นขยายส่องดหู นา้ จอจะเห็นเป็นแถบสีแสง สวา่ ง3 สี คือ แดง เขยี ว และน้าเงิน นอกจากน้ีเราจะสังเกตเห็นว่า เคร่ืองหมายของ สถานีโทรทศั นส์ ีหลาย ๆ ช่อง จะใชแ้ ม่สีของแสง ดว้ ยเช่นกนั ทฤษฎีของแสงสีน้ี เป็นระบบสีท่ี เรียกวา่ RGB ( Red – Green – Blue ) เราสามารถนาไปใชใ้ นการ ถา่ ยทาภาพยนตร์ บนั ทึกภาพ วิดีโอ การสร้างภาพ เพื่อแสดงทางคอมพิวเตอร์ การจดั ไฟแสงสีในการแสดง การจดั ฉากเวที เป็ นตน้
แสงสีท่ีเป็นแม่สี คือ สีแดง น้าเงิน เขียว จะเรียกวา่ สีพ้ืนฐานบวก ( Additive primary colors ) คือ เกิดจาก การหกั เหของแสงสีขาว ส่วนสีใหมท่ เ่ี กิดจากการผสมกนั ของแม่สีของแสงท้งั สามสี จะเรียกวา่ สีพ้ืนฐานลบ (Subtractive primary colors ) คอื สีฟ้าไซแอน (Cyan) สีแดงมาเจนตา้ (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) ท้งั สามสีเป็นแมส่ ีแมใ่ ชใ้ นระบบการพมิ พอ์ อฟเซท หรือท่ี เรียกว่า ระบบสี CMYK โดยทมี่ สี ีดา (Black) เพมิ่ เขา้ มา
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ โครงงานและการดาเนินงาน จากการท่ีผูจ้ ดั ทาโครงงานไดศ้ กึ ษาและคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ในการทาสิ่งประดิษฐ์โคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีมว่ ง ไดม้ ขี ้นั ตอนและวิธีการดาเนินงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1 อุปกรณ์ 3.1.1 หลอดไฟ 3.1.2 กระดาษสีมว่ ง 3.1.3โครงเหลก็ ดดั 3.1.4 สายไฟ 3.1.5 ลกู โป่ ง 3.1.6 ดา้ ยสีขาว 3.2 ข้นั เตรียม 3.2.1 เตรียมหลอดไฟ สายไฟ กระดาษสีม่วง ลูกโป่ ง ดา้ ยสีขาว โครงเหลก็ ดดั มาให้พรอ้ ม 3.2.2 จดั เตรียมสถานที่ ทีจ่ ะทาให้เรียบร้อย 3.3 ข้นั ตอนการทดลอง 3.3.1 นาลกู โป่ งมาเป่ าลมแลว้ พนั ดว้ ยดา้ ยสีขาวรอบๆลกู โป่ งแลว้ แทงลูกโปร่งใหแ้ ตก 3.3.2 นาหลอดไฟมาทราบแลว้ ทาการเจอะรูใหใ้ ส่หลอดไฟได้ 3.3.3 นากระดาษสีม่วงมาตดิ ครอบหลอดไฟแลว้ นาไปใส่ในโครงทที่ าไว้ 3.3.4 นาเหล็กดดั มาตดิ กบั โครงท่ีทาและตอ่ สายไฟทดลองใชง้ านโคมไฟ
บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการทดลองมีดังน้ี เวลาท่ใี ชใ้ นการทดลอง ผลการทดลอง 10 วนิ าที เร่ิมมียงุ ผลการทดลองสีมว่ ง 15 วินาที คร้ังที่ 20 วนิ าที เร่ิมมยี งุ มากข้นึ 1 เริ่มมยี งุ มากข้ึนเร่ือย 2 3 เวลาทีใ่ ชใ้ นการทดลอง ผลการทดลอง 10 วินาที ไมม่ ยี งุ ผลการทดลองเขยี ว 15 วนิ าที ไม่มียงุ คร้ังที่ 20 วนิ าที เร่ิมมียงุ 1 2 3
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุป จากการทาโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีม่วง ผจู้ ดั ทาโครงการไดร้ บั ความรู้และประสบ ผลสาเร็จดงั น้ี 1. รู้จกั ข้นั ตอนในการทาโคมไฟดกั ยงุ ดว้ ยแสงสีม่วง 2. แสงสีม่วงสามารถดกั ยงุ ไดด้ ีกว่าสีอน่ื 3. สามารถนาส่ิงของใกลต้ วั มาทาให้เกิดมูลค่า
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: