Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอบรมของหลักสูตรที่ 6

การอบรมของหลักสูตรที่ 6

Published by Parattha Ratthanakhot, 2022-03-15 11:55:59

Description: การอบรมของหลักสูตรที่ 6

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้ โรงเรียนชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ ก

หลักสูตรท่ี 6 : การสรา้ งสือ่ ความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ เขต ๒ ท่ี วนั ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๔ เร่ือง หลกั สูตรที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความรู้แบบปฏิสัมพนั ธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณก์ ารเรียนรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนวัดปากตรัง ด้วย นางสาวปรัษฐา รัตนคช ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นชุมชนวัดปากตรัง ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีสอนในรายวชิ า ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ได้เขา้ อบรมหลักสตู รท่ี ๖ หลกั สูตรท่ี 6 : การสร้างสื่อความรแู้ บบ ปฏิสัมพนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการประสบการณก์ ารเรียนรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) วนั เสาร์ท่ี ๒ ตุลาคม 2564 เวลา ๐๙:00 – 1๒:00 น. นนั้ บัดน้ี การอบรมดงั กลา่ วไดเ้ สรจ็ สิ้นแลว้ ขา้ พเจ้าจึงขอรายงานผลการอบรม ดงั เอกสารแนบทา้ ย จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณา ลงชอ่ื ........................................................... (นางสาวปรษั ฐา รตั นคช) ขอ้ เสนอแนะจากผู้อำนวยการโรงเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ........................................................... (นายภกั ดี วงเดช) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชุมชนวัดปากตรัง โรงเรยี นชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ ข

หลักสูตรที่ 6 : การสรา้ งสอื่ ความรู้แบบปฏสิ มั พนั ธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณ์การเรียนรู้ คำนำ เนื่องด้วยสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รว่ มกบั บรษิ ัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกดั ไดม้ กี ารจดั อบรมในโครงการพฒั นาหลักสูตร สมรรถนะครูดิจิทัล OBEC Microsoft Innovative Educator จำนวนทั้งหมด 7 หลักสูตรซึ่งประกอบได้ด้วย หลักสูตรที่ 1 : NEXT Normal Education Reimagined การบริหารจัดการการเรียนการสอน ออนไลน์ พร้อมประสบการณจ์ รงิ จากผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา หลักสูตรที่ 2 : กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการจัดประชุมออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพใน ยคุ NEXT Normal (Virtual Classroom and Meeting Guide, Steps and Best Practices in NEXT Normal) หลักสูตรท่ี 3 : มมุ มองใหม่ของการบริหารการจดั การศึกษาและการพัฒนาทกั ษะผู้เรยี นรูส้ ่กู ารเป็น พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" หลกั สูตรท่ี 4 : การสรา้ ง Blended Learning Platform for NEXT Normal Education Reimagined ดว้ ย Microsoft 365 หลักสูตรที่ 5 : การออกแบบและเลือกอุปกรณ์ Smart & Safety Virtual Classroom ด้วย Microsoft Windows หลักสูตรที่ 6 : การสร้างสื่อความรู้แบบปฏิสัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณ์การ เรียนรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) หลักสูตรที่ 7 : การจัดการสอบดิจิทัลรองรับการเรียนการสอนรูปแบบผสมผสานอย่างปลอดภัย (Secure Digital Assessment for Hybrid Learning) ข้าพเจ้าขอขอบคุณสำนักเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ รว่ มกับ บรษิ ัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด และผทู้ มี่ สี ่วนเก่ียวข้องทกุ ฝ่าย ท่ีมีส่วนร่วม ในการจัดอบรมในคร้ังนี้เพื่อให้บุคลากรทางการศกึ ษาไดน้ ำแนวทางไปต่อยอดและเป็นวิธีปฎิบัติเพือ่ เพื่อให้เกิดผล การจัดการเรียนรู้ที่ลงสู่ผู้เรียนอย่างสูงสุด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) นางสาวปรัษฐา รัตนคช โรงเรียนชมุ ชนวัดปากตรัง สพป.สฎ.เขต ๒ ค

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพนั ธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ สารบัญ หนา้ ข เรอื่ ง ค บนั ทกึ ข้อความ ง คำนำ 1 สารบญั 20 เอกสารประกอบการประชุม 21 ภาคผนวก 22 ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการเข้ารับฟัง ภาคผนวก ข ภาพเกียรติบัตร โรงเรียนชุมชนวัดปากตรัง สพป.สฎ.เขต ๒ ง

หลักสตู รที่ 6 : การสรา้ งสือ่ ความรแู้ บบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ หลักสูตรท่ี 6 : การสรา้ งสอื่ ความรู้แบบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอรม์ การจดั การประสบการณก์ ารเรยี นรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) การออกแบบการเรียนรู'เพ่ือสรา้ งประสบการณ : การเรยี นรู้สำหรบั การศกึ ษาในยคุ NEXT Normal Education Reimagined ท่ีขบั เคลือ่ นกระบวนการเรียนรู้พร้อมกบั การสร้างประสบการณ:การเรียนรู้ใหก้ ับ ผเู้ รยี นโดยใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเป็นเครอื่ งมอื สนบั สนุนการเรยี นรู้เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเป็นพลเมอื งดิจทิ ัลท่มี ีการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ มีคุณภาพชีวิตทด่ี ีและมีความสขุ ถอื เป็นความท้าทายอย่างย่ิงของการจดั การศกึ ษาในปัจจบุ ัน Hybrid Learning เปน็ แนวทีน่ ่าสนใจสำหรับการจดั การศึกษาในยุคปัจจุบนั โดยเน้นการบรู ณาการรปู แบบการ สอน ส่ือความรู้และกจิ กรรมการทห่ี ลากหลาย ภมู ิทศั น์ดิจทิ ัลของไทยในระยะเวลา 20 ปี ปฏิรูปประเทศไทยส่ดู จิ ิทลั ไทยแลนด์ ดจิ ิทลั ไทยแลนด์ (Digital Thailand) หมายถึง ประเทศไทยที่สามารถสร้างสรรค์ และใชป้ ระโยชนจ์ าก เทคโนโลยีดิจทิ ัลอย่างเตม็ ศักยภาพในการพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน นวัตกรรม ข้อมลู ทุนมนษุ ย์ และทรัพยากร อื่นใดเพือ่ ขบั เคลือ่ นการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศไปส่คู วามม่นั คง ม่ังคั่ง และยั่งยนื โดย แผนพฒั นาดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม จะมเี ป้าหมายในภาพรวม 4 ประการ ดงั ต่อไปนี้ เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของประเทศด้วยการใช้นวตั กรรมละเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เป็นเคร่อื งมอื หลกั ในการสร้างสรรคน์ วตั กรรมการผลต การบรกิ าร สรา้ งโอกาสทางสงั คมอย่างเทา่ เทยี มดว้ ยข้อมูลข่าวสารและบรกิ ารต่างๆผ่านส่ือดิจทิ ัลเพือ่ ยกระดบั คุณภาพ ชวี ิตของประชาชนเตรียมความพร้อมใหบ้ ุคลากรทุกกลมุ่ มีความร้แู ละทกั ษะทเ่ี หมาะสมตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตละ โรงเรยี นชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 1

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสอื่ ความรแู้ บบปฏสิ ัมพนั ธบ์ นแพลตฟอร์มการจดั การ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การประกอบอาชพี ในยุคดจิ ทิ ัลปฏริ ูปกระบวนทศั นก์ ารทำงานและการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัลและการใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู เพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานเกดิ ความโปร่งใส มีประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล การพัฒนาดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย มุ่งเน้นการพัฒนาระยะยาวอยา่ งยัง่ ยืน สอดคลอ้ งกับการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีแตเ่ นอื่ งจากเทคโนโลยดี จิ ิทัลมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ดงั นัน้ นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยการพฒั นาดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมฉบับนี้ จงึ กาหนดภมู ิทัศน์ ดจิ ิทัล เพ่อื กำหนดทิศทางการพฒั นาและเปา้ หมายใน 4 ระยะ เพอ่ื ใหว้ สิ ยั ทัศนแ์ ละเปา้ หมายในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ัลบรรลผุ ล นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยการพฒั นาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คมจงึ ไดก้ ำหนดกรอบยทุ ธศาสตรก์ าร พฒั นา 6 ดา้ นคอื ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดจิ ิทลั ประสทิ ธภิ าพสงู ให้ครอบคลุมทว่ั ประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ยุทธศาสตร์ท่ี 3 สร้างสงั คมคุณภาพที่ท่ัวถงึ เทา่ เทยี มด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ปรบั เปลยี่ นภาครัฐสู่การเป็นรฐั บาลดิจิทัล ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 พฒั นากำลังคนให้พรอ้ มเขา้ สู่ยุคเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ิทลั ยุทธศาสตร์ท่ี 6 สร้างความเช่อื ม่นั ในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล หลกั การออกแบบการเรียนการสอน Instructional Design โรงเรียนชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 2

หลักสตู รท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ มั พันธ์บนแพลตฟอร์มการจดั การ ประสบการณ์การเรยี นรู้ การจดั การเรียนการสอน สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร ซง่ึ มีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบเก่ียวกบั การจัดการศึกษาของประเทศ ไดก้ ำหนดแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ไว้ 5 รปู แบบด้วยกนั คือ On-site, On-air, On-demand, Online และ On-hand ท้งั น้ี ข้ึนอยู่กับการ ตดั สินใจของผูบ้ รหิ ารระดับนโยบาย ผู้บรหิ ารการศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ตลอดจนความพรอ้ ม และบรบิ ท ของแตล่ ะสถานศกึ ษา โดยประสานงานร่วมกับศนู ย์บริหารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ระดับจังหวดั (ศบค.จังหวัด) โดยคำนงึ ถงึ การเรยี นรู้ และความปลอดภัยของนักเรียนเป็นหลัก ซง่ึ จะ กล่าวถึงรายละเอียดของการจดั การเรียนการสอนรปู แบบตา่ งๆ พอสังเขป ดงั น้ี 1.On-site คอื การเปดิ ทำการเรียนการสอนตามปกติ หรือการเรยี นที่สถานศกึ ษา 2.On-air คอื การเรยี นรผู้ า่ น DLTV (Distance Learning Television) หรอื การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม โดยมูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ทง้ั การออกอากาศตามตาราง และ การเรยี นยอ้ นหลัง 3.On-demand คอื การเรียนรผู้ ่านแอพพลเิ คช่นั ต่างๆ ทีค่ รู และนักเรยี นตกลงใชร้ ว่ มกัน เชน่ Zoom Google classroom เป็นตน้ 4.Online คอื การเรียนร้โู ดยให้ครเู ป็นผู้จัดการเรียนการสอน โดยใชเ้ คร่ืองมอื จากสถานศกึ ษา กระจายไปสนู่ กั เรียนผ่านสัญญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ซง่ึ เป็นรปู แบบท่ถี กู ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนจำนวนมาก ที่สดุ 5.On-hand คอื การเรียนรู้ทบ่ี า้ นโดยครจู ดั ทำเอกสาร หรือใบงานใหก้ บั นกั เรียน ซึ่งอาจเป็นลักษณะ แบบเรยี นสำเรจ็ รปู โดยมีครูออกไปเยี่ยมบา้ นนักเรยี นเปน็ คร้ังคราว หรือใหผ้ ูป้ กครองทำหนา้ ที่เปน็ ครคู อย ช่วยเหลือ เพือ่ ให้นักเรยี นสามารถเรยี นไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง โรงเรยี นชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 3

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้ โรงเรียนชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 4

หลักสูตรท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ การจดั การเรยี นร้แู บบ TPACK Model 1. ความรดู้ ้านเทคโนโลยี (Technological Knowledge) หรือ TK หมายถึง ความรูค้ วามสามารถของผ้สู อนทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การประยุกต์ใชส้ อื่ อุปกรณด์ า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทางการศกึ ษา ทั้งในเรอ่ื งของซอร์ฟแวร์ (Software) และ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ตา่ ง ๆ รวมไปถงึ อุปกรณต์ อ่ พว่ งที่เก่ียวข้อง (Associated peripherals) เพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนท่มี ีความสอดคลอ้ งและมคี วาม เหมาะสมกบั เนอ้ื หาวชิ าและผูเ้ รยี น เช่น ผู้สอนมีความรคู้ วามเข้าใจในเรือ่ งของการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ เทคโนโลยจี ากเวบ็ 2.0 (Web 2.0 tools) ตา่ ง ๆ เชน่ Wiki, Blogs, Facebook เป็นตน้ โรงเรียนชุมชนวดั ปากตรัง สพป.สฎ.เขต ๒ 5

หลกั สตู รที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความรู้แบบปฏสิ มั พนั ธ์บนแพลตฟอรม์ การจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้ 2. ความรู้ดา้ นวิธกี ารสอน (Pedagogical Knowledge) หรอื PK หมายถงึ ความรู้ความสามารถของผู้สอนทน่ี ำมาประยุกต์ใชเ้ พอ่ื เป็นแนวทางการเรยี นการสอนใหก้ บั ผเู้ รียน หรอื ทเ่ี ก่ยี วกบั วธิ กี ารถา่ ยถอดความรไู้ ปสผู่ ู้เรียนรวมไปถึงกลยทุ ธ์ หรือกระบวนการ การปฏบิ ัติ หรอื วธิ ีการสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน ในส่วนนี้ไม่รว่ มถงึ ทฤษฎกี ารศกึ ษา (Educational theories) และวธิ ีการ ประเมนิ (Assessment methods) เช่น การเรียนการสอนโดยใชว้ ิธกี ารเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นหลัก (Problem – based Learning: PBL)วิธีการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นหลัก (Problem – based Learning: PBL) การเรียนรทู้ ีใ่ ชส้ มองเปน็ หลกั (Brain – Based Learning) วิธสี อนแบบโครงงาน (Project Method) การจัดการเรยี นรู้แบบคน้ พบ (Discovery Method) วธิ ีสอนแบบศกึ ษาดว้ ยตนเอง (Self-Study Method) เป็นตน้ 3. ความรู้ดา้ นเน้ือหา (Content Knowledge) หรอื CK หมายถึง สาระ, ข้อมูล, แนวคดิ , หลักการทเ่ี กยี่ วข้องกับเนือ้ หาวิชาการในหลักสตู รท่ตี ้องการทจ่ี ะ ถา่ ยทอดไปยังผเู้ รยี น เช่น คณิตศาสตร์, ภาษาไทย, วิทยาศาสตร์ หรือวชิ าอน่ื ๆ โรงเรยี นชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 6

หลกั สตู รท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ มั พันธบ์ นแพลตฟอรม์ การจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้ บรรณานุกรม โครงการพฒั นาหลักสูตรสมรรถนะครดู จิ ิทลั obec microsoft innovative educator. (20๒๑, ๒ ตลุ าคม). หลักสตู รที่ 6 : การสร้างสอื่ ความรแู้ บบปฏสิ มั พนั ธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณ์ การเรียนรู้. สบื ค้นวนั ท่ี ๔ ตุลาคม 2564, https://learn obec.azurewebsites.net/ สำนกั งานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (20๒๑, ๒ ตุลาคม). ภูมิทัศนด์ จิ ทิ ัลของไทย ในระยะเวลา 20 ป.ี สืบคน้ วันที่ ๔ ตุลาคม 2564, https://onde.go.th/ อนุศร หงษ์ขุนทด. (2559). แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ตามแนวคดิ TPACK Model. https://krukobblog.wordpress.com/2016/09/29/stem/กองเทคโนโลยีสารสนเทศ. (๒๕๖๓, 24 เมษายน). วิธกี ารบันทกึ วดิ ีโอการประชมุ ออนไลน์ - MUIT-Mahidol โรงเรยี นชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 7

หลกั สตู รท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรูแ้ บบปฏสิ ัมพนั ธ์บนแพลตฟอร์มการจดั การ ประสบการณ์การเรียนรู้ ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการเข้าอบรม โรงเรยี นชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 8

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณ์การเรยี นรู้ โรงเรียนชมุ ชนวัดปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 9

หลักสูตรที่ 6 : การสรา้ งสื่อความรู้แบบปฏสิ ัมพันธบ์ นแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณ์การเรียนรู้ ภาคผนวก ข เกียรติบตั รผ่านการทดสอบ โรงเรยี นชุมชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 10

หลกั สตู รที่ 6 : การสรา้ งสอ่ื ความรแู้ บบปฏสิ มั พนั ธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ หลกั สูตรท่ี 6 : การสร้างส่อื ความร้แู บบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอรม์ การ จดั การประสบการณ์การเรยี นรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) นางสาวปรษั ฐา รัตนคช โรงเรียนชมุ ชนวดั ปากตรงั สพป.สฎ.เขต ๒ 11

หลกั สูตรท่ี 6 : การสรา้ งสือ่ ความรู้แบบปฏสิ ัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจดั การ ประสบการณ์การเรียนรู้ โรงเรียนชมุ ชนวดั ปากตรัง สพป.สฎ.เขต ๒ 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook