Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

Published by Wanida Jaisa, 2021-02-09 04:01:18

Description: การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

Search

Read the Text Version

9หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ สาระการเรียนร้แู กนกลาง • การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ • สาเหตแุ ละวธิ ีการกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหว่างประเทศ

?ทาไมตอ้ งมกี ารค้าระหวา่ งประเทศ

การคา้ ระหว่างประเทศไทย สถานะการค้าระหวา่ งประเทศไทย โครงสร้างสนิ ค้าส่งออกของไทย ตลาดสง่ ออกสาคญั ของไทย 1 สนิ ค้าอุตสาหกรรม 79.2% จนี 2 สินคา้ เกษตร 9.2% สหรัฐอเมริกา 3 สนิ ค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 7.2% 4 สินคา้ แร่และเช้ือเพลงิ 4.4% ญป่ี นุ่ มาเลเซยี ท่มี าข้อมลู : http://www2.ops3.moc.go.th กระทรวงพาณชิ ย์ พ.ศ. 2561 ฮอ่ งกง

การค้าระหวา่ งประเทศไทย 5 อันดับ สินค้าสง่ ออกสาคัญของไทย 1 รถยนต์และส่วนประกอบ 927.5 พันลา้ นบาท 2 คอมพวิ เตอรแ์ ละส่วนประกอบ 633.1 พนั ล้านบาท 3 อญั มณีและเครอ่ื งประดับ 383.9 พันลา้ นบาท 4 ผลติ ภัณฑย์ าง 353.4 พันล้านบาท 5 เม็ดพลาสตกิ 330.1 พนั ล้านบาท ท่ีมาข้อมลู : http://www2.ops3.moc.go.th กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2561

การค้าระหว่างประเทศไทย โครงสร้างสนิ คา้ นาเขา้ ของไทย ตลาดสง่ ออกสาคญั ของไทย 1 สนิ คา้ วัตถุดิบและก่ึง จนี สาเรจ็ รปู 40.3% ญปี่ ่นุ สหรฐั อเมริกา 2 สนิ ค้าทุน 25.8% 3 สนิ ค้าเชอ้ื เพลิง 16.6% 4 สนิ คา้ อปุ โภคบริโภค 11.1% 5 ยานพาหนะและอปุ กรณ์ขนส่ง 5.9% 6 อาวธุ ยุทธปัจจัย 0.3% ทม่ี าข้อมูล : http://www2.ops3.moc.go.th กระทรวงพาณชิ ย์

การคา้ ระหวา่ งประเทศไทย 5 อันดับ สนิ คา้ ส่งออกสาคญั ของไทย 1 นา้ มันดิบ 874.2 พันล้านบ้าน 2 เครือ่ งจักกลและสว่ นประกอบ 671.5 พนั ลา้ นบาท 3 เครือ่ งจักรไฟฟา้ และสว่ นประกอบ 622.3 พนั ลา้ นบาท 4 เคมีภณั ฑ์ 541.8 พันลา้ นบาท 5 เคร่ืองเพชรพลอย 485 พันล้านบาท ท่มี าข้อมูล : http://www2.ops3.moc.go.th กระทรวงพาณชิ ย์ พ.ศ. 2561

การกีดกันทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการคา้ คมุ้ กัน สินค้านาเขา้ ศุลกากร จดั เกบ็ ภาษีนาเขา้ -ส่งออก มาตรการภาษี มาตรการภาษี ศุลกสนิ าคก้านราเข้า ศลุ กากร สนิ ค้านาเข้า กาแพงภาษี รฐั บาลกาหนดเพ่อื คมุ้ กนั ธรุ กิจภายในประเทศ

ผลจากการกดี กันโดยใชม้ าตรการด้านภาษศี ลุ กากร การเก็บภาษีขาเข้า การเก็บภาษขี าออก ซื้อสินค้านาเข้าในราคาสูง ผู้บริโภค บริโภคสินคา้ ในราคาทถ่ี กู ลง เพม่ิ การผลติ และการจา้ งงาน ผู้ผลิตในประเทศ จาหนา่ ยสนิ คา้ ในตา่ งประเทศได้นอ้ ยลง ไดผ้ ลตอบแทนจากภาษีทจ่ี ดั เก็บเพ่มิ รัฐบาล ไดผ้ ลตอบแทนจากภาษสี ง่ ออก

มาตรการทไ่ี มใ่ ช่ ภาษีศลุ กากร มาตรการก่งึ ภาษศี ลุ กากร มาตรการจากัดปรมิ าณ กาหนดภาษกี ารนาเข้า กาหนดปรมิ าณการนาเขา้ จัดเกบ็ ภาษีเพือ่ ลดการนาเข้าและ ออกกฎหมายสงั่ หา้ มนาเข้าสนิ คา้ ไมใ่ ห้สนิ ค้าตา่ งประเทศมาแข่งขัน มาตรการควบคุมราคา มาตรการช่วยเหลือจากรัฐบาล กาหนดราคาสนิ คา้ สง่ ออก-นาเข้า อุดหนุนการผลติ ป้องกันการนาเข้าสินคา้ ราคาถกู ให้กยู้ มื เงนิ ลงทุนในอตั ราดอกเบย้ี ตา่ มาตีตลาดในประเทศ

ผลจากการกีดกนั โดยใชม้ าตรการท่ไี มใ่ ช่ภาษศี ลุ กากร มาตราการกึง่ ภาษี การควบคมุ ดา้ นราคา บรโิ ภคสินค้าในประเทศมากขน้ึ ผ้บู ริโภค บรโิ ภคสนิ คา้ ในประเทศมากข้ึน ผลิตสนิ ค้าจาหน่ายในประเทศเพิม่ ข้นึ ผู้ผลติ ในประเทศ ผลิตสนิ ค้าจาหน่ายในประเทศเพิ่มขนึ้ ไดร้ ับภาษจี ากการนาเขา้ เพ่ิมขนึ้ รฐั บาล ไดร้ ายไดจ้ ากการจัดเกบ็ ภาษี ตอบโตก้ ารอุดหนนุ มากขึน้

ผลจากการกีดกนั โดยใชม้ าตรการที่ไมใ่ ช่ภาษีศุลกากร การจากัดดา้ นปรมิ าณ การชว่ ยเหลอื โดยตรงจากรฐั บรโิ ภคสินคา้ ทมี่ รี าคาแพงข้ึน ซอ้ื สนิ ค้าได้ในราคาถูก ผู้บริโภค ต้นทนุ การผลติ ต่าจากการอดุ หนนุ ของรัฐ ผลติ สินค้าออกจาหน่ายมากขน้ึ ไมไ่ ดร้ ับผลตอบแทน แตเ่ ปน็ ผู้อุดหนุน และซือ้ สนิ คา้ จากผู้ผลติ ผผู้ ลติ ในประเทศ ไมไ่ ด้รับผลตอบแทน เพราะไม่ไดเ้ ก็บภาษเี พมิ่ รัฐบาล

การลงทนุ ระหวา่ งประเทศของไทย การลงทุนทางตรง ข้อดี ผปู้ ระกอบการเขา้ ไปผลิตสินคา้ • เกิดการจ้างงานในประเทศ ในอกี ประเทศหนึง่ • ได้ประโยชน์ตามทร่ี ัฐบาลใหส้ ิทธิพเิ ศษ การลงทุนทางตรงในไทย ข้อเสยี • ขาดดุลการค้า • อุตสาหกรรมถูกครอบงาโดยตา่ งชาติ

ลงทุนโดยการซือ้ ห้นุ ข้อดี ผลประกอบการ • ไดร้ ับเงินปันผลหรอื ดอกเบย้ี ขอ้ เสยี • เงินตราไหลออกนอกประเทศ • ถกู ครอบงาโดยต่างชาติ การลงทนุ ทางอ้อม การซือ้ หนุ้ ของตา่ งชาติ ในประเทศไทย ผ้ปู ระกอบการซอ้ื ห้นุ เพ่ือหวงั ผลกาไร โดยไมไ่ ด้เขา้ ไปผลิตสินคา้ โดยตรง

การเงินระหวา่ งประเทศของไทย กองทนุ การเงินระหว่างประเทศ (IMF) ระบบอัตรา แลกเปลี่ยน • กาหนดอัตราแลกเปล่ยี นเงนิ ตรา ระบบท่ี 1 ระบบท่ี 2 • ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แก่ประเทศสมาชิก อตั ราแลกเปล่ียนแบบคงท่ี อตั ราแลกเปล่ียนแบบลอยตวั ท่ปี ระสบปัญหาดุลการชาระเงิน รฐั บาลควบคมุ ระบบไมใ่ หเ้ ปล่ียนแปลง เปลี่ยนแปลงไดโ้ ดยท่รี ฐั บาลไม่เขา้ ไป ไปอยา่ งเสรี แทรกแซง

สรุป การลงทุนทางตรง ผู้ประกอบการเข้าไปลงทุน ในประเทศอื่น การค้าระหว่างประเทศมีการขยายตัวสูง ท้ัง การลงทุนทางอ้อม ผู้ประกอบการซ้ือหุ้นของ ด้านการส่งออกและนาเข้า มีการเปิดเสรี ธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ ทางการค้ามากข้ึน ปัจจุบันมียุทธศาสตร์ทาง การคา้ เพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ การลงทุนระหวา่ งประเทศ การคา้ ระหว่างประเทศ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีหน้าที่ให้ ความช่วยเหลือและควบคุมการแลกเปล่ียน มาตรการด้านภาษีศุลกากร และมาตรการที่ เงนิ ตราระหวา่ งประเทศ ไม่ใชภ่ าษีศลุ กากร ท่รี ฐั บาลแต่ละประเทศเรียก เก็บจากสินค้านาเข้าและสินค้าส่งออก เพื่อ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ ปกปอ้ งผูผ้ ลิตและสินค้าในประเทศ การกดี กนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook