หน่วยท่ี 4 หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ของต่างประเทศ นายมนัส จันทร์พวง ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐำนะครูชำนำญกำร วทิ ยำลยั ชุมชนแพร่
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยของต่างประเทศ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในยุโรป และอเมริกา - สหรัฐอเมริกา - องั กฤษ - สวีเดน - รัสเซีย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย - ญี่ป่นุ - จีน - มาเลเซีย - อิสราเอล
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ในยโุ รป และอเมรกิ า ประเทศ ปรัชญาการศกึ ษา รูปแบบ หลักสูตร 1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 1. ยดึ แนวคิดทฤษฏีของเพียเจต์ 1. ดแู ลเดก็ ในบ้าน 1. ดนตรี 2. เน้นการพัฒนาการเด็ก 2. จดั แบบครอบครัว 2. การอ่าน ท า ง ด้ า น สั ง ค ม อ า ร ม ณ์ 3. จดั ศนู ย์เดก็ 3. เลน่ นา้ เลน่ ทราย สติปัญญา ปัญญาและทักษะ 4. การเลน่ ตอ่ แท่งไม้ ทางร่างกาย 5. การเลน่ บ้าน 3. การพัฒนาท่ีนาไปสู่การ เข้ าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม รอบตวั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ประเทศสหรัฐอเมริกา มุ่งเน้นการส่งเสริม พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยด้านสังคม อารมณ์ สตปิ ัญญา และทกั ษะทางร่างกาย
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ในยุโรป และอเมรกิ า ประเทศ ปรัชญาการศกึ ษา รูปแบบ หลักสูตร 2. ประเทศอังกฤษ 1. มีรากฐานการเคล่ือนไหวใน 1. โรงเรียนบริบาล 1. การเล่นประเภทต่าง ๆ การปฏิรูปสงั คม 2. โรงเรียนสาหรับเด็กวยั 2. การออกาลงั กาย 2. ให้สิทธิพิเศษเด็กด้อย แรก 3. ทกั ษะการใช้ภาษา โอกาส 4. ดนตรี โคลง กลอน 5. การจดั ประสบการณ์ให้เด็ก ความคิดรวบ ย อ ด ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เบือ้ งต้น 6. ความสมั พนั ธ์ระหว่างอวยั วะกบั ร่างกาย 7. พฒั นาการความสมั พนั ธ์ทางสงั คม สนับสนุนให้เด็กพัฒนา การคิดสร้างสรรค์ ( Creative) การคิ ดวิ จารณญาณ (critical thinking)ภาษาเบือ้ งต้น(earlylanguage)และการ สื่อสาร (communication) ครูต้องจัดกิจกรรม ให้เดก็ สารวจ สบื สวนและแกป้ ัญหา หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ประเทศองั กฤษ มุ่งเน้นการจัดประสบการณ์ให้เดก็ เกดิ ความคดิ รวบยอดทาง วทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์เบอื้ งต้น
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ในยโุ รป และอเมรกิ า ประเทศ ปรัชญาการศึกษา รูปแบบ หลักสูตร 3. ประเทศสวเี ดน 1.1. ใช้แนวคิดของเพียเจต์, 1. สถานบริบาล 1. พฒั นาการทางสงั คม กีเซล และอีริคสนั กลางวนั อารมณ์ ร่างกาย และ 2. เน้นพฒั นาบุคลิกภาพและ 2. โรงเรียนบริบาล สติปัญญา สงั คมของเด็ก 3. สถานบริบาลแบบ 2. ทกั ษะการชว่ ยตนเอง 3. จดั สภาพแวดล้อมท่ีเอือ้ ต่อ ค ร อ บ ค รั ว ใ น เ ข ต 3. ทักษะการใช้ การส่งเสริ มทางสังคมและ เทศบาล ก ล้ า ม เ นื ้อ เ ล็ ก แ ล ะ ร่างกาย 4. สถานบริบาลในเขต กล้ามเนือ้ ใหญ่ 4. ช่วยให้เด็กค้นพบโลกของ เกษตรกรรม 4. การเรียนรู้กฎระเบียบ ตนเอง 5. ศนู ย์นนั ทนาการ 5. ความสามารถในการ สือ่ สาร หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยประเทศสวีเดน มุ่งเน้นการพฒั นาบุคลกิ ภาพและสังคมของเดก็
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ในยโุ รป และอเมรกิ า ประเทศ ปรัชญาการศึกษา รูปแบบ หลักสูตร 4. ประเทศรัสเซยี 1. การจดั การเรียนรู้ก่อนเวลา 1. โรงเรียนก่อนวยั เรียน 1. พัฒนาการทางด้าน 2. ให้เด็กเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อย่าง 2. โรงเรียนประจา ร่างกายและจติ ใจ เร็วที่สดุ 3. โรงเรียนในป่า 2. การใช้ภาษา 4. โรงเรียนสาหรับเด็ก 3. ทกั ษะทางสงั คม พิเศษ 4. ความชน่ื ชมทาง สุนทรียภาพ 5.ป ฐ ม นิ เ ท ศ เ กี่ ย ว กั บ สงิ่ แวดล้อม หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยประเทศรัสเซีย มุ่งเน้นการพัฒนาการด้าน สตปิ ัญญาเก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ในเอเซยี ประเทศ ปรัชญาการศึกษา รูปแบบ หลักสูตร 1. ประเทศญ่ีป่ ุน 1. การศกึ ษาควรเร่ิมให้เร็วที่สดุ 1. ศนู ย์เลยี ้ งเด็ก 1. สขุ ภาพอนามยั 2. สงั คมศกึ ษา 2. พัฒนาสติปัญญา ร่างกาย 2. โรงเรียนอนบุ าล 3. ธรรมชาติศกึ ษา 4. ภาษา และจิตใจให้เจริญงอกงาม 5. ดนตรี 6. ศลิ ปะ 3. พฒั นาทกั ษะทางสงั คมและ จริยธรรม 4. ป ลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย ม ค ว า ม มี ระเบียบวินยั ประชากรของประเทศญ่ีป่ ุน เป็ นผู้มีระเบยี บวนิ ัย ซ่งึ เกดิ จากการ วางรากฐานตัง้ แต่วัยเยาว์
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ในเอเซยี ประเทศ ปรัชญาการศึกษา รูปแบบ หลักสูตร 1. ดนตรี 2. ประเทศจนี 1. ปลกู ฝังอดุ มการณ์รักชาติ 1. สถานเลยี ้ งเดก็ 2. การใช้แรงงานให้ 2. การใช้แรงงานเพ่ือพฒั นา 2. โรงเรียนอนบุ าล เกิดประโยชน์ 3. ทกั ษะการใช้ภาษา ชาติ 4. ศลิ ปะ 5. ความรู้ทว่ั ไป 3. การดารงชีวิตให้สอดคล้อง กบั มวลชน หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยในประเทศจนี ยดึ หลักการ 3 อย่าง คือ เล่น เรียน และ ทางาน
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ในเอเซยี ประเทศ ปรัชญาการศกึ ษา รูปแบบ หลักสูตร 3. ประเทศ 1. การเพ่ิมอตั ราการเข้า การอบรมเลี้ยงดูเด็ก ดลุ ยพินจิ ขององค์กร มาเลเซยี เรียนของเดก็ ก่อนวยั เรียน เล็กอายุ 2-4 ปี และ หรือหน่วยงานท่ีจดั หรือ และพฒั นาคณุ ภาพระบบ การให้การศึกษาแก่ ค รู ใ ห ญ่ ใ น โ ร ง เ รี ย น การเรียนการสอน เดก็ อายุ 4-6 ปี อนบุ าลนั้นเป็นหลักเพือ่ 2. การศกึ ษาเป็นเครื่องมือ ช่วยส่งเสริมให้เด็กวัย ในการหลอ่ หลอมให้เกิด ก่อนเข้าเรียนได้พัฒนา ความเป็นอนั หนงึ่ อนั ในทุก ๆ ดา้ นและพร้อม เดยี วกนั ให้ได้ ที่จะเป็นสมาชิกท่ีดีของ สังคมมาเลเซีย หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยประเทศมาเลเซีย เพ่ือช่วยส่งเสริมให้เดก็ วยั ก่อนเข้าเรียนได้พัฒนา ในทุก ๆ ด้านและพร้อมท่จี ะเป็ นสมาชกิ ท่ดี ขี องสังคมมาเลเซีย
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ในเอเซยี ประเทศ ปรัชญาการศึกษา รูปแบบ หลักสูตร 4. ประเทศ อิสราเอล 1. โรงเรียนเป็นท่ีถ่ายโยง 1. สถานรับเลีย้ งเด็ก 1. พัฒนาทักษะ มรดกและวฒั นธรรม ก่อน เข้าเรียน พืน้ ฐาน 2. พฒั นาบุคลิกภาพและ 2. ศนู ย์เลยี ้ งเด็กก่อน 2. เพ่ือหาเร่ืองตา่ ง ๆ ศักยภาพในการเรียนรู้ของ วยั เรยี นของรัฐ 3. กระบวนการกลมุ่ เดก็ 3.สถานรับเลีย้ งเด็ก 3. เตรียมเด็กให้เป็นส่วน ในคิบบทุ ซ์ หนงึ่ ของสงั คม หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยประเทศอสิ ราเอล มุ่งส่งเสริมการพัฒนา ทักษะพนื้ ฐาน (Life Skills)
ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย เ ป็ น ม ว ล ประสบการณ์ ท่ีสถานศึกษาจัดการศึกษาให้ เด็กปฐม วัย เพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ ของการจัดการศึกษา โดยมี คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เป็ นไปตามท่ีสังคมต้ องการ และสอดคล้องกับนโยบายในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในแต่ละประเทศ ท่ีจะเลือกใช้แนวทางหลักสูตรการจัด การศึกษาปฐมวัย นามาประยุกต์ จัดการศึกษาให้ เหมาะสมกับบริบทด้านสังคม
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: