Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าปกรายงาน_merged

Description: หน้าปกรายงาน_merged

Search

Read the Text Version

รายงาน การทดสอบการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เอกสารเลขที่ 4/2564 กลมุ่ งานวดั และประเมินผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา นราธิวาส เขต 2 เลขที่ตัง้ 38/4 หม่ทู ่ี 3 ตําบลปาเสมัส อาํ เภอสไุ หงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96120

กลุ่มงานวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา นราธิวาส เขต 2 เลขที่ต้งั 38/4 หมูท่ ่ี 3 ตาํ บลปาเสมัส อาํ เภอสุไหงโก-ลก จังหวดั นราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96120

คำนำ การทดสอบอิสลามศึกษาระดับชาติเปนกระบวนการประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษาดาน อิสลามศึกษาโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ (องคการมหาชน) ในทุกปการศึกษา สำหรับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 เปนศูนยสอบที่ดำเนินการจัดการสอบ ใหแกโรงเรียนในสังกัดที่มีการจัดการศึกษาอิสลามศึกษาสองระบบหรือแบบเขมจำนวนทั้งสิ้น 31 โรงเรยี น การรายงานผลการทดสอบอิสลามศึกษาระดบั ชาติ INET ปก ารศึกษา 2563 เลมนเี้ ปน ขอมลู สารสนเทศในภาพรวมของผลการทดสอบ และเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน อิสลามศึกษาในปการศึกษาตอไปใหมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตรอสิ ลามศึกษา พุทธศักราช 2546 และหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุมสาระการเรยี นรู 14 มาตรฐานการเรยี นรู กลุม งานวัดและประเมินผล งานจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) หวังเปน อยางย่ิงวา ขอมูลสารสนเทศนี้จะเปน ประโยชนตอผูมีสวนเกี่ยวของเพ่ือยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาอิสลามศึกษาตอไป คณะผูจัดทำ

สารบญั บทท่ี หนา บทที่ 1 บทนำ 1 ความเปน มาและความสำคัญ 1 วัตถุประสงค 2 ขอบเขตการดำเนนิ การ 2 บทท่ี 2 เอกสารท่เี กย่ี วของ 4 วัตถปุ ระสงคข องการจดั สอบ INET 4 หนว ยงานท่เี ปน ศูนยส อบ 4 Test blue print อิสลามศกึ ษาตอนตน 5 Test blue print อิสลามศกึ ษาตอนกลาง 6 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การ .......7 ปฏทิ นิ การจัดสอบ …….7 ตารางสอบ อิสลามศกึ ษาตอนตน .......7 ตารางสอบ อสิ ลามศึกษาตอนกลาง …….7 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ระดับศนู ยส อบ 8 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ระดับสนามสอบ 8 การรายงาน ......10 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขอ มลู คา สถติ ิสำหรบั ศนู ยส อบ ระดบั ตอนตน ......11 คา สถิตสิ ำหรับศูนยส อบ ระดับตอนกลาง 16 คะแนนเฉล่ียผลการสอบฯ ปการศกึ ษา 2559-2563 21 เปรียบเทยี บคะแนนระดับประเทศและระดบั เขตพ้นื ท่ี 24 เปรยี บเทยี บคะแนนรายโรงเรียน ......27 สรุปคะแนน สถานศกึ ษานำรองพ้ืนท่นี วัตกรรมการศกึ ษา 30 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรปุ อภิปรายผล 31 ขอเสนอแนะ 35 บทสง ทาย แนวปฏบิ ัตทิ ป่ี ระสบผลสำเรจ็ 36

คำถามสง ทาย ......42 ……43 เอกสารอา งอิง ......44 คณะผจู ัดทำ 45 ภาคผนวก

หนา | 1 บทที่ 1 บทนำ ความเปน มาและความสำคัญ ศาสนาอสิ ลามใหความสำคัญกับเร่ืองการศึกษาและกำหนดใหการศกึ ษาเปนหนาที่สำคัญของผูศรัทธา “การแสวงหาความรูเปน หนาที่เหนือมุสลิมทุกคน” ดังศาสดาของศาสนาไดกลาวไว ความรูตามหลักศาสนา แบง เปน 2 ประเภทคอื 1) ความรูที่เกีย่ วของกบั หลักการศาสนา ไดแ ก หลักการศรัทธา หลักการปฏิบัติศาสนา กิจ หลักมนุษยสัมพันธ หลักการใชชีวติ คู และหลักศาสนบัญญัติ รวมถึงความรูเรื่องคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ความดีงามตาง ๆ ตามที่อัล-กุรอานและอัล-หะดีษ และ 2) ความรูทั่วไปที่เกี่ยวของกับการดำเนินชีวิตซ่ึง สามารถแบงไดอีก 2 ประเภทคือ 1) ความรูภาคบังคับในรายบุคคล และ 2) ความรูภาคบังคับสวนรวม ดังที่ กลาวมาเบ้อื งตนเปน กรอบในการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู และคณุ ภาพผูเรียนเมื่อ ผา นสาระการเรยี นรูตาง ๆ อยา งเปน ระบบและมีพัฒนาการอยางตอเนอ่ื ง โดยโรงเรียนของรฐั เร่ิมมีการจัดการ เรียนสอนหลกั สูตรอิสลามศกึ ษา เมื่อป พ.ศ. 2540 กำหนดเวลาเรยี น 10 ป ในป พ.ศ.2546 และ พ.ศ. 2551 กำหนดเวลาเรียน 12 ป เพอ่ื ใหสอดคลอ งกบั หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานหรือหลกั สูตรวชิ าสามญั (อบั ดุลสุโก ดนิ อะ, 2559 อางอิงใน สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, 2563) หลักสูตรอิสลามศึกษากำหนดคณุ ภาพผูเรียนในดา นความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม เพื่อใหผูเรยี นเกดิ ความสมดลุ ในชีวติ และคำนึงถึงหลักพฒั นาการสมองและพหปุ ญ ญาใหเปน ไปตามมาตรฐานที่ กำหนดตามกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ โดยแบงเปน 3 ระดับ คือ ระดับอิสลามศึกษาตอนตน (อิบติดาอียะฮ) ระดับอิสลามศกึ ษาตอนกลาง (มตุ ะวัสสเิ ฎาะฮ) และระดับอสิ ลามศึกษาตอนปลาย (ษานะวียะฮ) โดยมาตรฐาน การเรียนรูกำหนดสาระพื้นฐานสำคัญ 4 สาระ ไดแก สาระการเรียนรูอัล-กุรอาน สาระการเรียนรูอิสลาม พ้ืนฐาน สาระการเรียนรูภาษาอาหรับ และสาระการเรียนรูภาษามลายู โดยในแตละระดับชั้นมีการกำหนด มาตรฐาน ตัวชว้ี ัด และสาระการเรยี นรูเพอ่ื เปน แนวทางใหผสู อนนำไปใชในการพฒั นาผูเรยี นใหม ีคุณภาพ และ มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคตามท่ีหลักสูตรกำหนด (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, 2563) การวัดและประเมินผลเปนตัวบงชี้คุณภาพผูเรียนทั้งในระดับชั้นเรียนและระดับชาติ ดังที่สำนัก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) ไดเห็น ความสำคัญและจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาอสิ ลามศึกษาทุกปก ารศกึ ษา โดยแบง เปน 3 ระดบั คอื ระดับอิสลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ติดาอียะฮ) มี จำนวน 3 ฉบับ พิมพดวยภาษามลายแู ละภาษาไทย ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสสเิ ฎาะฮ) มีจำนวน 4 ฉบบั พมิ พดวยภาษามลายูและภาษาไทย และระดบั อิสลามศกึ ษาตอนปลาย (ษานะวียะฮ) มจี ำนวน 4 ฉบับ รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 2 พมิ พดวยภาษาอาหรับและภาษาไทย (สำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ, 2563) ในปการศึกษา 2563 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 จัดสอบใน 2 ระดับ ดวยโรงเรียนในสังกัดจัดการ เรียนการสอนอิสลามศึกษาแบบเขม จำนวนทั้งสิ้น 31 โรงเรียน โดยการจัดการศึกษาอิสลามศึกษาตอนตน (ชั้น ป.1-ป.6) จำนวน 31 โรงเรียน และระดับตอนกลาง (ชน้ั ม.1-3) จำนวน 12 โรงเรยี น (สำนกั งานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2, 2563) วัตถปุ ระสงค 1. จดั ทำสารสนเทศรายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศึกษาระดับชาติ 2. เสนอแนวทางการยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาอสิ ลามศกึ ษาระดับสำนกั งานเขตพื้นท่ี 3. เปน ขอ มลู สำหรับผมู ีสว นเกี่ยวของดานการจดั การศึกษาอสิ ลามศึกษาเพ่อื ใชป ระโยชนใ น การมอบนโยบายและการดำเนนิ งานดา นอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง ขอบเขตการดำเนนิ การ ขอบเขตดา นเนื้อหาในการทดสอบ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 ไดจดั การทดสอบใน 2 ระดับ คือ ระดับอิสลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ติดาอียะฮ) และ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสสิเฎาะฮ) ดังที่สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ กำหนดเนื้อหาในการทดสอบจำนวน 8 วิชา ตามหลักสูตรอิสลามศึกษา แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 ซึ่งประกอบ อลั กรุ อาน-อัตตัฟซรี อลั หะดษี อลั อะกดี ะฮ อัล ฟก ฮ อตั ตารีด อัลอัคลาก ภาษาอาหรบั และภาษามลายู ขอบเขตดา นระดบั ศนู ยสอบ ศูนยสอบสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 บริหารจัดการสอบ โรงเรียนที่จัดการศึกษาอิสลามแบบเขมจำนวนทั้งสิ้น 31 โรงเรียน โดยจัดเปน 8 สนามสอบ ประกอบดวย สนามสอบโรงเรียนบานซรายอ สนามสอบโรงเรียนบานปูโปะ สนามสอบโรงเรียนบานตาบา สนามสอบ โรงเรยี นบานศาลาใหม สนามสอบโรงเรียนบานเจะ เหม สนามสอบโรงเรยี นบานกวู า (แวง) สนามสอบโรงเรียน บา นบาลูกายาองิ และสนามสอบโรงเรยี นบานสากอ ขอบเขตดานระดับสนามสอบ โรงเรียนทสี่ อบในแตล ะสนามสอบมดี งั นี้ 2) สนามสอบบานปูโปะ ระดับตอนตน โรงเรียนบา นปูโปะ ระดับตอนกลาง โรงเรียนบานปู โปะ โรงเรยี นบา นลาแล และโรงเรียนบานมโู นะ รายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 3 3) สนามสอบโรงเรียนบานซรายอ ระดับตอนตน โรงเรียนบานซรายอ โรงเรียนบานลาแล โรงเรียนบานกวาลอซีรา โรงเรียนบานตือระมิตรภาพที่ 172 และโรงเรียนบานมือบา และระดับตอนกลาง โรงเรียนบานตือระมิตรภาพที่ 172 4) สนามสอบโรงเรียนบานตาบา ระดับตอนตน โรงเรียนบานตาบา โรงเรียนบานสะปอม โรงเรยี นบา นไพรวัน และโรงเรยี นบา นโคกยาบู 5) สนามสอบโรงเรียนบานศาลาใหม ระดับตอนตน โรงเรยี นบานศาลาใหม โรงเรียนบาน เกาะสะทอ น และโรงเรียนบา นปูยู ระดับตอนกลาง โรงเรยี นบานศาลาใหม โรงเรยี นบานตาบา และโรงเรียน บา นเกาะสะทอน 6) สนามสอบโรงเรยี นบานเจะเหม ระดบั ตอนตน โรงเรยี นบานกรือซอ โรงเรียนบา นบูเกะตา และโรงเรียนบา นเจะเหม ระดบั ตอนกลาง โรงเรียนบา นบูเกะตา และโรงเรียนบานตอื มายู 7) สนามสอบโรงเรียนบา นกวู า (แวง) ระดบั ตอนตน โรงเรียนบานตือมายู โรงเรยี นบานกูวา(แวง) โรงเรียนบา นแขยง โรงเรียนบานแมดง โรงเรยี นบา นฆอเลาะทวู อ โรงเรียนบา นตอแลและโรงเรียนบานแมด ง 8) สนามสอบโรงเรยี นบานบาลกู ายาอิง ระดับตอนตน และตอนกลาง โรงเรียนบานบาลูกายาอิง 9) สนามสอบโรงเรียนบานสากอ ระดับตอนตน โรงเรียนราชภักดี โรงเรียนบานตาเซะใต โรงเรยี นบานบอเกาะ โรงเรียนบา นสากอ และโรงเรียนบา นกูวา (อำเภอสไุ หงโก-ลก) ระดบั ตอนกลาง โรงเรียน บานสากอ และโรงเรียนบา นกวู า (อำเภอสุไหงโก-ลก) ขอบเขตดานเวลา ศนู ยสอบรบั แบบทดสอบและอปุ กรณการสอบ 24 กุมภาพันธ 2564 สนามสอบจัดการทดสอบ 27 กมุ ภาพันธ 2564 ศนู ยส อบสง กระดาษคำตอบให สทศ. 1 มีนาคม 2564 ประกาศผลสอบ 25 มีนาคม 2564 รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 4 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ ง การทดสอบอิสลามศึกษาระดับชาติ โดยสถาบันทดสอบแหงชาติ (สทศ.) กำหนดแนวทางการ ดำเนนิ การจัดสอบดงั นี้ วัตถุประสงคของการทดสอบ I-NET 1.เพอ่ื ทดสอบความรูและความคิดรวบยอดของนักเรียนตามหลักสตู รอิสลามศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2546 และหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุม สาระการเรยี นรู 14 มาตรฐานการเรียนรู 2.เพือ่ นำผลการสอบไปใชในการปรบั ปรุงคณุ ภาพการเรยี นการสอนของสถานศึกษา 3.เพอื่ นำผลการทดสอบไปใชใ นวัตถปุ ระสงคอ น่ื หนวยงานตน สังกัดของนกั เรยี นทสี่ อบ I-NET ในปการศึกษา 2558 เปนการเริ่มตนจัดสอบ I-NET ใหกับนักเรียนที่กำลังศึกษาอยูในปสุดทายของ หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนตน ตอนกลาง และตอนปลาย ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคูวิชา สามญั ศนู ยตาดีกา และโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หลกั สูตร สถานศึกษาในจงั หวัด อิสลามศึกษา พุทธศักราช 2546 กรงุ เทพฯ นนทบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ กระบ่ี อสิ ลามศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน ชมุ พร ตรงั นครศรธี รรมราช พังงา พัทลงุ ภูเกต็ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระนอง สงขลา สตลู สรุ าษฎรธ านี ปต ตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา ปตตานี ยะลา นราธวิ าส รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 5 ศนู ยส อบท่ีบริหารจดั การสอบ I-NET บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบดวย 10 ศูนยสอบ คอื สพป.สงขลา เขต 3 สพป.ยะลา เขต 1,2 และ 3 สพป.ปต ตานี เขต 1,2, และ 3 สพป.นราธวิ าส เขต 1,2 และ 3 ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา ประกอบดวย 2 ศูนยสอบ คือ สพม.15 (นราธิวาส) และ สพม.16 (สงขลา) และสำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัด สช.จ. นราธิวาส รวมทัง้ สนิ้ 13 ศนู ยส อบ Test Blue Print ตอนตน สทศ.2563 รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 6 Test blue print ตอนกลาง สทศ.2563 รายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 7 บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินการ ปฏิทินปฏบิ ัติงาน ตารางสอบ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 8 มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ ระดับศูนยสอบ 1. กำกับใหผูที่เกี่ยวของปฏิบัติตามคูมือการจัดสอบ I-NET ระดับสนามสอบและกรรมการคุมสอบ อยางเครงครดั 2. แตงตั้งคณะทำงานระดับศูนยสอบ คณะกรรมการระดับสนามสอบ และตัวแทนศูนยสอบตาม คณุ สมบัตทิ ก่ี ำหนด เพอื่ กำกับดูแลการบรหิ ารการจดั สอบใหเปน ไปดวยความเรียบรอ ยและมปี ระสิทธภิ าพ 3. แตง ตั้งกรรมการคมุ สอบโดยกรรมการคมุ สอบตองไมค ุมสอบนักเรยี นตนเอง 4. รับกลองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบจาก สทศ. นำไปเกบ็ รกั ษาไวในสถานทีท่ ี่ปลอดภยั และ เก็บเปน ความลับกอ นสง ใหส นามสอบในตอนเชาวนั สอบ 5.จัดสนามสอบโดยคัดเลือกสถานศึกษาทมี่ คี วามเหมาะสมในการเปนสนามสอบ 6. ศูนยสอบตองจัดใหมกี ารประชมุ ชี้แจงสนามสอบ กอ นการจัดสอบอยา งนอย 1 ครั้ง 7. แตง ต้ังตวั แทนศูนยสอบประจำสนามสอบ จำนวน 2 คนตอสนามสอบ เพื่อกำกบั ดูแล การจัดสอบ ใหเปนไปตามแนวปฏิบัติในคูมือการจัดสอบ เพื่อใหเกิดความยุติธรรม โปรงใส และตรงตามมาตรฐานการ ทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ 8. กำกับใหตัวแทนศูนยสอบ เปนผูรบั กลองบรรจุแบบทดสอบและกลองบรรจุกระดาษคำตอบจาก ศนู ยสอบในตอนเชาวันสอบ แลว นำไปสง มอบใหห ัวหนา สนามสอบ 9. กำกับใหตัวแทนศูนยสอบเปนผูปดผนึกซองกระดาษคำตอบดวย “สติกเกอรแบบทำลายตัวเอง” เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การสอบในแตละวชิ า 10. ตัวแทนศูนยสอบตองกำกับใหสนามสอบดำเนินการบรรจซุ องกระดาษคำตอบลงกลองบรรจุของ กระดาษคำตอบเมื่อเสร็จสิ้นการสอบในแตละวิชา และลงนามยืนยันการตรวจสอบที่หนากลองบรรจุของ กระดาษคำตอบกลับ 11. กำกับใหตัวแทนศูนยสอบ นำกลองบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับและเอกสารการจัดสอบ สง มอบใหศูนยสอบหลงั จากเสรจ็ สน้ิ การสอบในแตล ะวัน ตามเวลาทีก่ ำหนด 12. ศูนยสอบตองสงกลองบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ และเอกสารการจัดสอบที่เกี่ยวของตามวัน และเวลาที่ สทศ. ไดท ำหนงั สอื แจงกำหนดการ 13. ศูนยสอบตองจัดเก็บรักษากลองกระดาษคำตอบและเอกสารการจัดสอบ ไวในสถานท่ีปลอดภัย กอ นสงมอบให สทศ. มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ระดับสนามสอบ 1. ปฏบิ ัตติ ามคูม อื การจัดสอบ I-NET ระดับสนามสอบและกรรมการคมุ สอบอยา งเครงครดั 2. ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ (องคการมหาชน) วา ดว ยแนวปฏิบัติ เกย่ี วกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ. 2557 และระเบยี บการเขา หองสอบอยางเครงครัด รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 9 3. เตรียมความพรอมในดา นสถานที่สอบ หองสอบ และมีการประชาสัมพันธก อ นการสอบ 4. คณะกรรมการระดบั สนามสอบตองเขารับการประชุมช้แี จงสนามสอบรวมกับศูนยสอบและตัวแทน ศูนยส อบอยางนอ ย 1 คร้งั กอนกำหนดการจัดสอบ 5. รับมอบกลอ งบรรจแุ บบทดสอบและกลอ งบรรจกุ ระดาษคำตอบจากตัวแทนศูนยส อบในตอนเชาวัน สอบและนำไปเกบ็ รกั ษาใหปลอดภัยกอ นเร่ิมดำเนนิ การจดั สอบตามกำหนดการ 6. หัวหนาสนามสอบเปดกลอ งบรรจุแบบทดสอบกอนเวลาสอบไมเกิน 1 ชั่วโมง ตามตารางสอบ โดย มตี วั แทนศนู ยสอบ หรอื ผูท ศ่ี นู ยสอบมอบหมายเปนสักขีพยาน และลงนามในแบบฟอรมเอกสารกำกับการเปด กลองบรรจแุ บบทดสอบและกลอ งกระดาษคำตอบ (I-NET 10) 7. กรรมการกลางตองแจกซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นช่อื ผเู ขา สอบ ใหตรงตาม วิชาในตารางสอบ หามกรรมการคุมสอบนำซองแบบทดสอบและซองกระดาษคำตอบที่ยงั ไมถึงเวลาสอบไป เก็บไวเ พอ่ื รอการสอบ 8. กอนกรรมการคุมสอบเปดซองบรรจุแบบทดสอบตองมีการตรวจสอบความเรียบรอ ยและมีตัวแทน ผเู ขา สอบ 2 คน ลงช่ือรับรองในใบเซน็ ชื่อผูเ ขา สอบ (สทศ.2) 9. หลังเสร็จสิ้นการสอบของแตละวิชา กรรมการคุมสอบตองตรวจรับ จำนวนกระดาษคำตอบให ครบถวนตามรายชื่อผูเขาสอบในใบเซ็นชื่อผูเขาสอบ (สทศ.2) ลงนามยืนยันการตรวจนับและเรียงลำดับ กระดาษคำตอบในใบเซ็นช่อื ผูเ ขาสอบ (สทศ.2) ทั้ง 2 แผน แลว นำสง ใหก รรมการกลางทนั ที 10. กรรมการกลางตองตรวจนับจำนวนกระดาษคำตอบตามรายชื่อผูเขาสอบในใบเซ็นชื่อผูเขาสอบ (สทศ.2) ท้งั 2 แผน แลวบรรจุลงในซองบรรจุกระดาษคำตอบปดซองตอหนากรรมการคมุ สอบใหเ รยี บรอย ลง นามรับรองการตรวจนับกระดาษคำตอบที่ใบปะหนาซองบรรจุกระดาษคำตอบแลวสงใหตัวแทนศูนยสอบ ดำเนนิ การปด ผนึกซองกระดาษคำตอบดว ย “สติ๊กเกอรแ บบทำลายตวั เอง”ทนั ที 11. เมื่อตัวแทนศูนยสอบปด “สติ๊กเกอรแบบทำลายตัวเอง” บนซองกระดาษคำตอบแตละวิชา เรียบรอยแลวใหก รรมการกลางดำเนนิ การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงในกลองบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ และปดผนึกกลองดวยเทปกาวที่ สทศ. จัดสงให จำนวน 3 แผนตอกลอ งตอหนาตัวแทนศูนยสอบ ลงนาม รับรองการบรรจุที่ใบปะหนากลองแลว สงใหตัวแทนศูนยสอบลงนามตรวจสอบการปดผนึกที่ใบปะหนากลอง บรรจุซองกระดาษคำตอบกลบั 12. หามบุคคลอืน่ ทีไ่ มใชก รรมการคมุ สอบประจำหองสอบ หรอื บุคคลอืน่ ทไ่ี มเก่ียวของในการสอบเขา มาภายในหอ งสอบหรอื บริเวณภายในอาคารสอบระหวา งที่มีการสอบ 13. หัวหนา สนามสอบและกรรมการกลางเดินตรวจความเรียบรอยระหวา งการสอบทกุ หองสอบ 14. หัวหนาสนามสอบ ตองกำกบั ตดิ ตามและตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบตามแนวปฏิบัติ ในคูมือการจัดสอบของ สทศ. ใหเ ปนไปดวยความเรียบรอย มคี วามโปรง ใส ยุติธรรม และตรงตามมาตรฐาน การทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 10 การรายงาน ศูนยสอบ จัดทำรายงานผลการจัดสอบและรายงานสรุปคาใชจายในระบบบริหารการจัดสอบ/สงคืน เงนิ คงเหลือจากการดำเนนิ การจัดสอบ (ถา มี) ให สทศ. ภายใน 27 เมษายน ศูนยสอบ ทำลายแบบทดสอบและรายงานให สทศ. ทราบ ภายใน 25 เมษายน (สถาบันทดสอบทาง การศึกษาแหง ชาติ, 2563) รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 11 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอ มูล คา สถติ ิสำหรับศูนยส อบแยกตามมาตรฐานการเรียนรู ศูนยส อบ สพป. นราธิวาส เขต 2 ระดบั อิสลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ตดี าอยี ะห) ปก ารศกึ ษา 2563 วชิ า: อัลกุรอาน-อตั ตัฟซรี (11) คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนยิ ม สูงสดุ ตำ่ สุด (Median) (Mode) ระดับ จำนวนผู คะแนน สว น เขา สอบ เฉล่ีย เบีย่ งเบน (Max.) (Min.) 40.00 32.00 (Mean) มาตรฐาน 40.00 32.00 (S.D) 84.00 8.00 36.00 32.00 84.00 8.00 ศูนยส อบ 867 39.12 13.38 100 0.00 รร.สามญั 867 39.12 13.38 ระดบั ประเทศ 30,066 38.54 14.07 มาตรฐาน คะแนน คา สถิตจิ ำแนกตามระดับ การเรียนรู เต็ม ศูนยสอบรวม รร.สามัญ ประเทศ มฐ. อก.1 100.00 Mean S.D. มฐ. อก.2 100.00 Mean S.D. Mean S.D. 38.69 15.85 38.33 17.74 40.82 16.03 40.82 16.03 36.57 16.60 36.57 16.60 มาตรฐานการเรียนรทู โ่ี รงเรยี นควรเรงพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนตำ่ กวา คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน อก 2 รายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 12 วิชา: อลั กุรอาน-อตั ตัฟซรี (12) สว น คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนิยม เบ่ยี งเบน สูงสดุ ตำ่ สดุ (Median) (Mode) ระดับ จำนวนผู คะแนน มาตรฐาน (Max.) เขา สอบ เฉลยี่ (S.D) (Min.) (Mean) 88.00 17.35 88.00 ศนู ยสอบ 867 45.91 100 4.00 44.00 32.00 รร.สามญั 867 45.91 17.35 4.00 44.00 32.00 ระดบั ประเทศ 30,064 44.74 0.00 44.00 32.00 18.42 มาตรฐาน คะแนน คาสถติ จิ ำแนกตามระดบั การเรียนรู เต็ม ศูนยส อบรวม รร.สามัญ ประเทศ มฐ. อห.1 100.00 Mean S.D. มฐ. อห.2 100.00 Mean S.D. Mean S.D. 42.09 18.88 47.62 22.24 44.79 19.26 44.79 19.26 47.12 20.36 47.12 20.36 มาตรฐานการเรยี นรูที่โรงเรยี นควรเรง พฒั นาเนื่องจากคะแนนเฉลยี่ ของโรงเรยี นตำ่ กวา คะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศ 1) มาตรฐาน อห 2 วิชา: อัลอากีดะฮ (13) คะแนน สว น คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนยิ ม เฉล่ยี เบี่ยงเบน สูงสดุ ตำ่ สดุ (Median) (Mode) ระดับ จำนวน (Mean) มาตรฐาน (Max.) (Min.) ผูเ ขา (S.D) สอบ 84.00 13.11 84.00 ศนู ยส อบ 867 36.96 100 4.00 36.00 36.00 รร.สามญั 867 36.96 13.11 4.00 36.00 36.00 ระดับประเทศ 30,043 37.38 0.00 36.00 32.00 14.63 มาตรฐาน คะแนน ศูนยส อบรวม คา สถิตจิ ำแนกตามระดับ ประเทศ การเรียนรู เต็ม รร.สามัญ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

มฐ. ออ.1 100.00 หนา | 13 มฐ. ออ.2 100.00 Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. 37.11 14.01 37.11 14.01 37.46 15.21 36.58 19.92 36.58 19.92 37.17 22.40 มาตรฐานการเรยี นรทู ีโ่ รงเรียนควรเรง พฒั นาเนื่องจากคะแนนเฉลีย่ ของโรงเรยี นต่ำกวาคะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ 1) มาตรฐาน ออ 1 2) มาตรฐาน ออ 2 วิชา: อัลฟก ฮ (14) คะแนน สว น คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนิยม ระดับ จำนวนผู เฉลี่ย เบยี่ งเบน สงู สุด ต่ำสุด (Median) (Mode) เขา สอบ (Mean) มาตรฐาน (Max.) (S.D) (Min.) ศูนยสอบ 867 31.62 84.00 รร.สามญั 867 31.62 12.35 84.00 0.00 32.00 36.00 ระดบั ประเทศ 29,918 31.93 88.00 0.00 32.00 36.00 12.35 0.00 28.00 24.00 13.97 มาตรฐาน คะแนน ศนู ยสอบรวม คาสถติ ิจำแนกตามระดับ ประเทศ การเรียนรู เตม็ Mean S.D. รร.สามญั Mean S.D. 32.26 13.92 32.46 15.13 มฐ. อฟ.1 100.00 30.26 17.64 Mean S.D. 30.79 19.28 มฐ. อฟ.2 100.00 32.26 13.92 30.26 17.64 มาตรฐานการเรียนรูทโ่ี รงเรยี นควรเรงพัฒนาเน่ืองจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกวา คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน อฟ 1 2) มาตรฐาน อฟ 2 รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 14 วิชา: อัตตารคี (15) คะแนน สวน คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนยิ ม เบ่ยี งเบน สูงสดุ ระดับ จำนวนผู เฉล่ีย มาตรฐาน (Max.) ต่ำสุด (Median) (Mode) เขา สอบ (Mean) (S.D) (Min.) 85.00 ศนู ยสอบ 867 38.43 14.14 85.00 5.00 37.50 30.00 รร.สามญั 867 38.43 90.00 5.00 37.50 30.00 ระดบั ประเทศ 30,133 37.60 14.14 0.00 35.00 30.00 13.88 มาตรฐาน คะแนน ศูนยสอบรวม คาสถิติจำแนกตามระดบั ประเทศ การเรยี นรู เต็ม Mean S.D. รร.สามัญ Mean S.D. 40.04 15.57 39.57 15.62 มฐ. อต.1 100.00 35.07 16.26 Mean S.D. 33.51 15.72 มฐ. อต.2 100.00 40.04 15.57 35.07 16.26 วชิ า: อัลอคั ลาก (16) คะแนน สว น คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนยิ ม ระดบั จำนวนผู เฉลย่ี เบยี่ งเบน สงู สดุ ตำ่ สดุ (Median) (Mode) เขา สอบ (Mean) มาตรฐาน (Max.) (Min.) (S.D) ศูนยส อบ 867 41.04 85.00 5.00 40.00 35.00 รร.สามญั 867 41.04 16.30 85.00 5.00 40.00 35.00 ระดบั ประเทศ 30,130 40.86 90.00 0.00 40.00 45.00 16.30 15.85 มาตรฐาน คะแนน ศนู ยสอบรวม คา สถิติจำแนกตามระดบั ประเทศ การเรยี นรู เตม็ รร.สามญั รายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

มฐ. อค.1 100.00 หนา | 15 มฐ. อค.2 100.00 Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. 41.18 18.70 41.18 18.70 40.87 18.26 40.84 19.71 40.84 19.71 40.83 19.42 วชิ า: ภาษามลายู (17) คะแนน สวน คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนิยม เบยี่ งเบน สงู สดุ ระดับ จำนวนผู เฉล่ยี มาตรฐาน (Max.) ตำ่ สุด (Median) (Mode) เขา สอบ (Mean) (S.D) (Min.) 100.00 ศนู ยส อบ 867 45.13 21.27 100.00 4.00 40.00 24.00 รร.สามญั 867 45.13 100.00 4.00 40.00 24.00 ระดับประเทศ 30,133 35.17 21.27 0.00 32.00 24.00 17.65 มาตรฐาน คะแนน ศนู ยส อบรวม คาสถติ ิจำแนกตามระดบั ประเทศ การเรยี นรู เต็ม Mean S.D. รร.สามญั Mean S.D. 45.13 21.27 35.17 17.65 มฐ. อม.1 100.00 Mean S.D. 45.13 21.27 วิชา: ภาษาอาหรับ (18) คะแนน สว น คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนยิ ม เฉล่ยี เบย่ี งเบน สงู สุด ตำ่ สดุ (Median) (Mode) ระดับ จำนวนผู (Mean) มาตรฐาน (Max.) (Min.) เขา สอบ (S.D) 84.00 ศูนยส อบ 867 34.34 14.89 84.00 4.00 32.00 28.00 รร.สามญั 867 34.34 92.00 4.00 32.00 28.00 ระดับประเทศ 30,048 30.65 14.89 0.00 28.00 24.00 14.33 มาตรฐาน คาสถิติจำแนกตามระดับ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

การเรยี นรู คะแนน ศนู ยสอบรวม รร.สามญั หนา | 16 เตม็ Mean S.D. Mean S.D. 34.34 14.89 34.34 14.89 ประเทศ มฐ. อร.1 100.00 Mean S.D. 30.65 14.33 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มตุ ตาวตั ซเี ดาะห) ปก ารศึกษา 2563 วิชา: อลั กรุ อาน-อตั ตัฟซรี (21) ระดับ จำนวน คะแนน สว น คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนยิ ม (Median) (Mode) ผูเขา เฉลยี่ เบย่ี งเบน สงู สุด ต่ำสดุ 40.00 32.50* สอบ (Mean) มาตรฐาน (Max.) (Min.) 40.00 32.50* (S.D) 40.00 35.00 ศูนยสอบ 262 40.34 13.66 90.00 10.00 รร.สามญั 262 40.34 13.66 90.00 10.00 ระดบั ประเทศ 21,943 41.81 15.70 100 2.50 *มคี าฐานนิยมมากกวา 1 คา มาตรฐาน คะแนน ศนู ยส อบรวม คาสถิติจำแนกตามระดับ ประเทศ การเรียนรู เตม็ Mean S.D. รร.สามัญ Mean S.D. 40.82 16.03 38.69 15.85 มฐ. อก.1 100.00 36.57 16.60 Mean S.D. 38.33 17.74 มฐ. อก.2 100.00 40.82 16.03 36.57 16.60 มาตรฐานการเรยี นรูทโ่ี รงเรียนควรเรงพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนตำ่ กวา คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน อก 1 2) มาตรฐาน อก 2 วิชา: อัลหะดีษ (22) รายงานผลการจดั การทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 17 ระดบั จำนวนผู คะแนน สวน คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนยิ ม เขา สอบ เฉลย่ี เบีย่ งเบน สงู สดุ ตำ่ สดุ (Median) (Mode) (Mean) มาตรฐาน (Max.) (Min.) (S.D) 37.50 37.50* 82.50 12.50 37.50 37.50* ศนู ยส อบ 262 41.45 15.47 42.50 30.00 82.50 12.50 รร.สามญั 262 41.45 15.47 100 0.00 ระดบั ประเทศ 21,897 44.11 17.48 *มคี า ฐานนยิ มมากกวา 1 คา มาตรฐาน คะแนน คาสถิตจิ ำแนกตามระดบั การเรียนรู เตม็ ศนู ยส อบรวม รร.สามญั ประเทศ Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. มฐ. อห.1 100.00 38.48 15.94 39.48 15.94 43.37 18.29 มฐ. อห.2 100.00 43.42 18.73 43.42 18.73 44.84 19.92 มาตรฐานการเรียนรูทีโ่ รงเรยี นควรเรงพฒั นาเน่ืองจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี นต่ำกวาคะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน อห 1 2) มาตรฐาน อห 2 วิชา: อัลอากดี ะฮ (23) คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนิยม สงู สุด ต่ำสดุ (Median) (Mode) ระดับ จำนวนผู คะแนน สวน (Max.) (Min.) เขา สอบ เฉล่ีย เบยี่ งเบน 47.50 40.00 (Mean) มาตรฐาน 85.00 12.50 47.50 40.00 (S.D) 85.00 12.50 52.50 55.00 97.50 2.50 ศนู ยสอบ 262 47.61 14.09 รร.สามญั 262 47.61 14.09 ระดบั ประเทศ 21,827 50.70 16.09 มาตรฐาน คะแนน ศนู ยส อบรวม คาสถิติจำแนกตามระดับ ประเทศ การเรยี นรู เตม็ รร.สามญั รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

มฐ. ออ.1 100.00 หนา | 18 มฐ. ออ.2 100.00 Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. 48.65 17.89 48.65 17.89 54.35 20.39 46.85 14.23 46.85 14.23 48.00 15.77 มาตรฐานการเรียนรูท่ีโรงเรียนควรเรง พัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี นตำ่ กวาคะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน ออ 1 2) มาตรฐาน ออ 2 วิชา: อลั ฟก ฮ (24) คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนิยม (Median) (Mode) ระดบั จำนวนผู คะแนน สว น สูงสดุ ตำ่ สดุ เขา สอบ เฉลย่ี เบี่ยงเบน (Max.) (Min.) 37.50 37.50* (Mean) มาตรฐาน 37.50 37.50* (S.D) 75.00 7.50 37.50 37.50 ศนู ยสอบ 262 38.75 11.52 75.00 7.50 92.50 0.00 รร.สามญั 262 38.75 11.52 ระดับประเทศ 21,826 39.40 12.88 มาตรฐาน คะแนน ศูนยส อบรวม คาสถิตจิ ำแนกตามระดับ ประเทศ การเรียนรู เต็ม Mean S.D. Mean S.D. 38.78 11.41 รร.สามญั 39.52 12.92 มฐ. อฟ.1 100.00 38.60 21.74 Mean S.D. 38.86 21.81 มฐ. อฟ.2 100.00 38.78 11.41 38.60 21.74 มาตรฐานการเรียนรทู โ่ี รงเรยี นควรเรงพฒั นาเน่ืองจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี นต่ำกวา คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ 1) มาตรฐาน อฟ 1 2) มาตรฐาน อฟ 2 รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 19 วิชา: อัตตารีค (25) คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนยิ ม สงู สดุ ตำ่ สุด (Median) (Mode) ระดับ จำนวนผู คะแนน สวน (Max.) (Min.) เขา สอบ เฉลี่ย เบีย่ งเบน 37.50 30.00 (Mean) มาตรฐาน 72.50 12.50 37.50 30.00 (S.D) 72.50 12.50 37.50 27.50 92.50 0.00 ศนู ยสอบ 262 38.72 12.49 รร.สามญั 262 38.72 12.49 ระดับประเทศ 21,952 37.45 12.58 มาตรฐาน คะแนน ศนู ยสอบรวม คาสถิตจิ ำแนกตามระดับ ประเทศ การเรียนรู เต็ม Mean S.D. รร.สามญั Mean S.D. 36.54 12.29 35.35 12.09 มฐ. อล.1 100.00 45.27 20.56 Mean S.D. 43.77 21.41 มฐ. อล.2 100.00 36.54 12.29 45.27 20.56 วิชา: อัลอัคลาก (26) คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนยิ ม สงู สุด ต่ำสุด (Median) (Mode) ระดบั จำนวนผู คะแนน สวน (Max.) (Min.) เขา สอบ เฉล่ีย เบย่ี งเบน 36.00 36.00 (Mean) มาตรฐาน 72.00 8.00 36.00 36.00 (S.D) 72.00 8.00 36.00 36.00 92.00 0.00 ศูนยสอบ 262 38.12 13.36 รร.สามญั 262 38.12 13.36 ระดบั ประเทศ 21,947 38.21 13.84 มาตรฐาน คะแนน ศูนยส อบรวม คา สถิตจิ ำแนกตามระดับ ประเทศ การเรยี นรู เตม็ Mean S.D. รร.สามญั Mean S.D. Mean S.D. รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

มฐ. อค.1 100.00 หนา | 20 มฐ. อค.2 100.00 43.40 17.61 43.40 17.61 44.14 17.53 31.40 13.65 31.40 13.65 30.66 15.50 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรยี นควรเรงพัฒนาเน่ืองจากคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนต่ำกวา คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ 1) มาตรฐาน อค 1 วชิ า: ภาษามลายู (27) คะแนน คะแนน มธั ยฐาน ฐานนิยม สงู สดุ ต่ำสุด (Median) (Mode) ระดบั จำนวนผู คะแนน สวน เขา สอบ เฉลยี่ เบีย่ งเบน (Max.) (Min.) 36.00 36.00 (Mean) มาตรฐาน 36.00 36.00 (S.D) 72.00 8.00 36.00 28.00 72.00 8.00 ศูนยสอบ 262 36.08 13.34 96.00 0.00 รร.สามญั 262 36.08 13.34 ระดับประเทศ 20,771 35.91 14.12 มาตรฐาน คะแนน ศูนยส อบรวม คา สถติ ิจำแนกตามระดบั ประเทศ การเรยี นรู เต็ม Mean S.D. รร.สามญั Mean S.D. 36.08 13.34 35.91 14.12 มฐ. อม.1 100.00 Mean S.D. 36.08 13.34 วิชา: ภาษาอาหรับ (28) คะแนน คะแนน มัธยฐาน ฐานนยิ ม (Median) (Mode) ระดบั จำนวนผู คะแนน สวน สงู สุด ตำ่ สุด เขา สอบ เฉลย่ี เบ่ยี งเบน (Max.) (Min.) 32.00 32.00 (Mean) มาตรฐาน 32.00 32.00 (S.D) 88.00 4.00 28.00 24.00 88.00 4.00 ศนู ยส อบ 262 35.51 18.09 100.00 0.00 รร.สามญั 262 35.51 18.09 ระดบั ประเทศ 21,733 30.04 13.97 มาตรฐาน คะแนน ศูนยส อบรวม คา สถิตจิ ำแนกตามระดบั ประเทศ การเรียนรู เต็ม รร.สามัญ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

มฐ. อร.1 100.00 หนา | 21 Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. 35.51 18.00 35.51 18.09 30.04 13.97 สรปุ คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า นอสิ ลามศึกษา (I-NET) ระดบั เขตพน้ื ที่ ปก ารศึกษา 2559-2563 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนตน (อบิ ตดี าอียะห) รายวชิ า 2559 2560 ปก ารศึกษา 2562 2563 32.45 37.18 2561 40.77 39.12 อลั กุรอาน-อลั ตัฟซรี 40.23 35.57 36.90 31.57 45.91 อัลหะดีษ 33.60 อัลอากดี ะฮ 38.42 40.94 40.85 36.96 อัลฟกฮ 33.79 35.24 37.45 35.45 31.62 อัตตารีค 35.71 39.85 36.43 35.96 38.43 อัลอคั ลาค 32.81 47.01 50.85 44.63 41.04 ภาษามลายู 46.90 ภาษาอาหรับ 34.82 37.71 38.38 45.13 31.60 33.96 55.50 51.75 34.34 คะแนนรวมเฉลย่ี 34.98 38.43 40.24 39.92 39.07 42.24 รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 22 หมายเหตุ : สี คือ คะแนนเฉลย่ี สงู กวาป 2562 ปก ารศึกษา 2563 คะแนนเฉลีย่ 8 รายวิชาอยูใ นระดบั 39.07 ลดลงจากปการศกึ ษา 2562 ในระดบั 0.85 สำหรบั รายวชิ าทีม่ ีคาพฒั นาเพ่มิ ขึ้นคอื วิชาอลั หะดีษ (+14.34) วชิ าอัตตารดี (+2.47) และ ภาษามลายูกลาง (+6.75) และมีนักเรียนไดคะแนนเต็มในวชิ าภาษามลายู จำนวน 4 คน คือ โรงเรียนบานมู โนะ จำนวน 1 คน และโรงเรยี นบา นลาแล จำนวน 3 คน แผนภมู แิ สดงคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดานอิสลามศกึ ษา (I-NET) ระดับเขตพนื้ ที่ ปการศกึ ษา 2559-2563 ระดับอิสลามศึกษาตอนตน (อบิ ตีดาอียะห) สรปุ คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดานอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ระดบั เขตพ้นื ที่ ปก ารศึกษา 2559-2563 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนตน (อบิ ตดี าอียะห) 60 50 40 30 20 10 0 อลั อากีดะฮ อัลฟกฮ อัตตารีค อัลอัคลาค ภาษามลายู ภาษาอาหรบั คะแนนรวมเฉล่ยี อัลกรุ อาน-อัลตฟั ซีร อัลหะดีษ ปก ารศึกษา 2559 ปก ารศึกษา 2560 ปก ารศึกษา 2561 ปก ารศกึ ษา 2562 ปการศึกษา 2563 รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 23 จากแผนภมู แิ สดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ านอสิ ลามศึกษา (I-NET) ระดบั เขตพ้นื ท่ี ปการศึกษา 2559-2563 ระดับอิสลามศึกษาตอนตน (อิบตีดาอยี ะห) พบวา รายวชิ าอัลหะดษิ อตั ตารคิ และภาษามลายู มีคะแนนเฉล่ยี ปการศึกษา 2563 สูงกวา ปการศกึ ษา 2562 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มูตาวซั ซีเฎาะห) รายวชิ า 2559 2560 ปการศกึ ษา 2562 2563 30.94 2561 34.48 40.34 อลั กรุ อาน-อัลตัฟซรี 33.75 42.84 29.83 35.11 41.45 41.26 29.36 45.45 47.61 อลั หะดษี 33.36 37.74 56.06 37.01 38.75 32.33 32.29 35.87 38.72 อัลอากดี ะฮ 38.88 51.24 42.19 42.02 38.12 45.31 48.99 36.87 36.08 อัลฟกฮ 35.08 37.57 29.92 37.84 35.51 39.90 48.26 38.08 39.57 อัตตารีค 32.08 39.61 อลั อัคลาค 34.77 ภาษามลายู 36.55 ภาษาอาหรับ 36.55 คะแนนรวมเฉลี่ย 35.13 หมายเหตุ : สี คอื คะแนนเฉล่ียสงู กวา ป 2562 ปก ารศึกษา 2563 คะแนนเฉลีย่ 8 รายวิชาอยใู นระดับ 39.57 เพ่มิ ข้ึนจากปก ารศกึ ษา 2562 ในระดับ 1.49 สำหรับรายวิชาท่มี คี าพฒั นาเพ่ิมขน้ึ คอื วิชาอัลกุรอาน-อัลตัฟซีร (+5.86) วชิ าอลั หะดษี (+6.34) วิชาอัล อากดี ะฮ (+2.16) วชิ าอัลฟก ฮ (+1.74) และวชิ าอัตตารีด (+2.85) แผนภูมิแสดงคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดานอิสลามศกึ ษา (I-NET) ระดับเขตพ้นื ที่ ปการศึกษา 2559-2563 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มูตาวซั ซีเฎาะห) รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 24 สรุปคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ านอิสลามศกึ ษา (I-NET) ระดบั เขตพ้นื ท่ี ปก ารศกึ ษา 2559-2563 ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มูตาวัซซีเฎาะห) 60 50 40 30 20 10 0 อลั อากดี ะฮ อลั ฟก ฮ อตั ตารคี อัลอคั ลาค ภาษามลายู ภาษาอาหรบั คะแนนรวมเฉล่ีย อัลกุรอาน-อลั ตัฟซีร อลั หะดษี ปก ารศกึ ษา 2560 ปก ารศึกษา 2561 ปก ารศกึ ษา 2562 ปก ารศกึ ษา 2563 ปก ารศกึ ษา 2559 จากแผนภมู แิ สดงคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับเขตพื้นท่ี ปการศกึ ษา 2559-2563 ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มตู าวซั ซเี ฎาะห) พบวา รายวิชาอัลกรุ อาน-อัลตัฟซีร อัลหะดิส อัลอากีดะฮ อัลฟกฮ และอัตตาริค มีคะแนนเฉลี่ยปการศึกษา 2563 สูงกวา ป การศกึ ษา 2562 เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ านอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ปก ารศึกษา 2653 ระหวา งระดบั ประเทศและระดับเขตพน้ื ท่ี ระดับอสิ ลามศึกษาตอนตน (อิบตดี าอียะห) คะแนนเฉลีย่ รายวชิ า ระดบั ประเทศ ระดบั เขต อลั กรุ อาน-อัลตัฟซรี 38.54 39.12 รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

อลั หะดีษ 44.74 หนา | 25 อัลอากดี ะฮ 37.38 45.91 36.96 อลั ฟก ฮ 31.93 31.62 38.43 อัตตารีค 37.60 41.04 45.13 อลั อคั ลาค 40.86 34.34 39.07 ภาษามลายู 35.17 ภาษาอาหรับ 30.65 คะแนนรวมเฉลีย่ 37.11 หมายเหตุ : สี คือ คะแนนเฉลีย่ ระดบั เขตสูงกวาระดบั ประเทศ ระดบั อิสลามศกึ ษาตอนตน มีคะแนนเฉลยี่ สงู กวาระดบั ประเทศ (+1.96) โดยมรี ายวชิ าที่มี คะแนนเฉลยี่ สูงกวา ระดับประเทศจำนวน 6 วชิ าดงั นี้ วิชาอัลกรุ อาน-อัลตัฟซรี (+0.58) วิชาอัลหะดษี (+1.17) วชิ าอัตตารีค (+0.83) วชิ าอลั อัคลาค (+0.83) วิชาภาษามลายู (+9.96) และวิชาภาษาอาหรับ (+3.69) แผนภมู ิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ านอสิ ลาม ศกึ ษา (I-NET) ปก ารศึกษา 2653 ระหวางระดบั ประเทศและระดับเขตพ้นื ท่ี ระดับอสิ ลามศึกษาตอนตน (อบิ ตดี าอียะห) รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 26 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า นอิสลามศกึ ษา (I-NET) ปการศกึ ษา 2653 ระหวางระดบั ประเทศและระดบั เขตพื้นท่ี ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ตดี าอยี ะห) 50 40 30 20 10 0 อลั อากีดะฮ อัลฟก ฮ อตั ตารคี อัลอคั ลาค ภาษามลายู ภาษาอาหรับ คะแนนรวมเฉล่ีย อัลกุรอาน-อัลตัฟซรี อัลหะดษี ระดับประเทศ ระดบั เขต จากแผนภมู แิ สดงการเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดานอสิ ลาม ศกึ ษา (I-NET) ปการศึกษา 2653 ระหวา งระดบั ประเทศและระดบั เขตพนื้ ท่ี ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ตี ดาอียะห) พบวา รายวิชาอัลกรอุ าน-อลั ตัฟซรี อัลหะดษิ อตั ตารคิ อัลอคั ลาค ภาษามลายู และภาษาอาหรบั มี คะแนนเฉล่ียระดับเขตสงู กวาระดบั ปะเทศ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มูตาวัซซเี ฎาะห) คะแนนเฉล่ยี รายวชิ า ระดบั ประเทศ ระดับเขต อัลกุรอาน-อลั ตัฟซรี 41.83 40.34 รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

อลั หะดีษ 44.11 หนา | 27 อัลอากดี ะฮ 50.70 41.45 47.61 อัลฟกฮ 39.40 38.75 38.72 อตั ตารีค 37.45 38.12 36.08 อลั อัคลาค 38.21 35.51 39.57 ภาษามลายู 35.91 ภาษาอาหรับ 30.04 คะแนนรวมเฉลี่ย 39.71 หมายเหตุ : สี คอื คะแนนเฉลีย่ ระดบั เขตสูงกวา ระดบั ประเทศ ระดบั อิสลามศกึ ษาตอนกลาง มคี ะแนนเฉลยี่ สูงกวาระดับประเทศ (-0.14) โดยมรี ายวชิ าท่มี คี ะแนน เฉล่ียสงู กวาระดับประเทศจำนวน 3 วชิ าดังนี้ วชิ าอัตตารคี (+0.17) วชิ าภาษามลายู (+0.17) และวชิ าภาษา อาหรับ (+5.47) แผนภูมิแสดงการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา นอสิ ลามศึกษา (I- NET) ปการศกึ ษา 2653 ระหวา งระดับประเทศและระดับเขตพน้ื ที่ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มตู าวัซซีเฎาะห) เปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา นอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ปก ารศกึ ษา 2653 ระหวา งระดบั ประเทศและระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มตู าวซั ซีเฎาะห) 60 50 40 30 20 10 0 อลั อากดี ะฮ อัลฟก ฮ อตั ตารคี อลั อคั ลาค ภาษามลายู ภาษาอาหรบั คะแนนรวมเฉลย่ี อัลกรุ อาน-อัลตฟั ซรี อลั หะดีษ ระดับประเทศ ระดบั เขต จากแผนภมู แิ สดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา นอิสลามศึกษา (I-NET) ปการศกึ ษา 2653 ระหวางระดับประเทศและระดับเขตพืน้ ท่ี ระดบั อสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มูตาวัซซี เฎาะห) พบวา รายวิชาอตั ตาริค ภาษามลายู และภาษาอาหรับ มีคะแนนเฉล่ยี ระดับเขตสูงกวาระดับปะเทศ รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 28 นกั เรยี นทไี่ ด 100 คะแนนเตม็ วิชาภาษามลายู ปก ารศกึ ษา 2563 1. โรงเรียนบานมโู นะ นกั เรียน เดก็ หญงิ มยั สะเราะฮ หะยดี าโอะ 2 โรงเรียนบา นลาแล นกั เรยี น เดก็ หญงิ ซอฟย ะห บินมามุ นกั เรียน เด็กหญิงบลั กิสต หะยเี จะอาแซ นกั เรียน เด็กหญิงอาฟนี เบญ็ สมยั เปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดานอสิ ลามศึกษา (I-NET) ระดบั เขตพนื้ ที่ รายโรงเรียนระดับตอนตน ปการศกึ ษา 2559-2563 โรงเรียน 2563 2562 2561 2560 2559 พัฒนา ตอเนอื่ ง 1.บา นบาลกู ายาอิง 41.24 45.62 53.25 49.55 41.62 2.บานกรอื ซอ 26.50 50.45 47.50 39.91  3.บานกวู า (แวง) 47.77 53.14 47.72 44.57 32.51 4.บานบอเกาะ 30.34 46.75 44.37 36.50  5.บานเกาะสะทอน 38.20 37.61 56.08 42.26 43.03 6.บานปยู ู 35.13 41.37 36.80 42.11 42.33  7.บา นเจะเหม 42.88 50.97 40.76 40.82 36.74 8.บา นบูเกะตา 55.64 58.32 36.77 40.76 33.80 + 9.บา นซรายอ 42.11 35.72 39.97 37.06 + 10.บา นแมดง 52.63 53.01 52.16 39.36 36.08 + 11.บานตำเสาพฒั นา 49.09 43.88 39.29 32.36  12.บานศาลาใหม 36.61 38.22 47.70 - - 39.44  โรงเรยี น 50.60 2560 2559 - 13.บานตาเซะใต 51.02 38.14 30.43  14.บานกวาลอซรี า 42.09 38.09 34.50  2563 2562 2561 - 54.46 37.33 38.19 พฒั นา 47.86 36.50 42.24 ตอเนื่อง   รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

15.บา นสากอ 29.60 32.72 35.42 37.94 30.26 หนา | 29 16.บา นสายะ 28.93 32.27 41.80 37.82 41.71 17.บานมูโนะ 32.72 34.64 33.99 37.63 33.22 + 44.09 50.89 56.44 37.42 33.12 + 18.บา นฆอเลาะทวู อ 47.93 47.25 49.94 37.17 29.42 + 44.62 50.05 58.47 37.13 27.44  19.บา นตอแล 43.25 50.84 47.99 37.11 32.87 32.10 31.80 34.23 36.92 29.77  20.บา นแขยง 38.94 37.86 36.76 36.45 36.77 37.95 33.01 33.87 35.93 35.62  21.บา นตอื มายู 35.91 37.26 37.01 35.66 37.48 34.96 34.58 34.14 33.77 33.97  22.บา นปูโปะ 41.20 37.01 41.12 33.67 25.08 23.บา นลาแล 28.76 30.30 34.20 33.33 36.13  24.บา นตอื ระฯ 36.45 35.89 33.24 32.85 35.79 25.บา นตาบา 35.61 37.73 33.74 32.84 29.53 + 26.บานโคกยาบู 31.09 29.19 32.37 32.00 34.80 + 39.07 39.92 42.24 38.43 34.82 + 27.บานกูวา(ปาดี) 37.11 39.46 41.30 41.97 35.32 + 28.ราชภักดี  29.บา นมือบา 30.บา นสะปอม + 31.บา นไพรวัน + เฉลยี่ ระดับเขตพ้ืนที่ + เฉลย่ี ระดับประเทศ + โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อิสลามศึกษาตอนตน (อิบตีดาอียะห) ปการศึกษา 2563 สงู กวาปก ารศึกษา 2562 ไดแก โรงเรียนบานเกาะ สะทอน (+0.59) โรงเรียนบา นซรายอ (+6.37) โรงเรียนบานตำเสาพฒั นา (+5.20) โรงเรียนบา นตาเซะใต (+ 17.12) โรงเรียนบานกวาลอซีรา (+11.46) โรงเรียนบานปูโปะ (+0.29) โรงเรียนบานลาแล บานตือระ มิตรภาพที่ 172 (+4.94) โรงเรียนบานโคกยาบู (+0.45) โรงเรียนบานกูวา(ปาด)ี (+4.18) โรงเรียนบานมือบา (+0.55) และโรงเรยี นบา นไพรวัน (+1.90) และโรงเรยี นบานตอแล (+0.24) โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อิสลามศกึ ษาตอนตน (อิบตีดาอยี ะห) สงู กวาระดับประเทศ (37.11) ไดแก โรงเรียนบานบาลกู ายาอิง (41.24) โรงเรียนบานกูวา (แวง) (47.77) โรงเรียนบา นเจะ เหม (42.88) โรงเรียนบานฆอเลาะทูวอ (44.09) โรงเรียน บานตอแล (47.93) โรงเรียนบานแขยง (44.62) โรงเรียนบานตือมายู (43.25) โรงเรียนบานเกาะสะทอน (38.20) โรงเรยี นบา นบเู กะตา (55.64) โรงเรยี นบา นซรายอ (42.11) โรงเรยี นบา นแมดง (52.63) โรงเรียน รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 30 บานตำเสาพฒั นา (49.09) โรงเรียนบา นลาแล (38.94) โรงเรียนบานตอื ระมติ รภาพท่ี 172 (37.95) โรงเรียน บา น กูวา (ปาดี) (41.20) โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ตีดาอียะห) รอยละ 50 ขน้ึ ไป ไดแ ก โรงเรียนบา นบเู กะตา (55.64) โรงเรยี นบานตา เซะใต (54.46) และโรงเรียนบา นแมดง (52.63) เปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา นอิสลามศึกษา (I-NET) ระดบั เขตพื้นท่ี รายโรงเรียนระดบั ตอนกลาง ปก ารศกึ ษา 2559-2563 โรงเรยี น 2563 2562 2561 2560 2559 พัฒนา ตอเนอ่ื ง 1.บานบูเกะตา 58.94 56.55 33.71 51.21 27.65 + 2.บานบาลูกายาอิง 42.36 41.83 48.42 48.04 49.35 + 3.บานศาลาใหม 39.49 38.77 43.87 - -+ 4.บานเกาะสะทอน 41.26 37.86 43.38 47.73 42.48 + 5.บา นตอื มายู 51.78 50.80 50.73 45.55 35.50  6.บานสากอ 33.40 32.72 32.81 39.98 29.22 + 7.บานตอื ระฯ 35.41 50.97 35.57 35.93 35.62  8.บานลาแล 38.08 31.08 41.54 36.38 37.84 + 9.บา นมูโนะ 35.91 32.71 38.29 35.50 34.43  10.บา นกูวา (ปาดี) 30.53 28.96 38.20 33.63 28.31  11.บา นปโู ปะ 35.61 37.73 36.40 32.42 35.69 + 12.บา นตาบา 26.70 33.01 32.38 28.61 32.92 + เฉลีย่ ระดับเขตพน้ื ท่ี 39.57 38.08 39.61 39.90 35.34 - เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 39.71 40.86 43.43 42.57 50.35 - โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มตู าวัซซเี ฎาะห) ) ปก ารศึกษา 2563 สงู กวาปการศึกษา 2562 ไดแ ก โรงเรียนบานบู เกะตา (+2.39) โรงเรยี นบา นบาลกู ายาอิง (+0.53) โรงเรยี นบา นศาลาใหม (+0.72) โรงเรยี นบานเกาะสะทอน (+3.39) โรงเรยี นบา นตอื มายู (+0.98) โรงเรยี นบา นสากอ (+0.68) โรงเรยี นบานลาแล (+6.28) โรงเรยี นบานมู โนะ (+3.19) โรงเรยี นบา นกวู า (ปาดี) (+1.57) รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 31 โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อิสลามศกึ ษาตอนกลาง (มูตาวัซซเี ฎาะห) สูงกวาระดบั ประเทศ (39.71) ไดแก โรงเรียนบา นบูเกะตา (58.94) และโรงเรียนบานตือมายู (51.78) โรงเรยี นบานบาลูกายาอิง (42.36) โรงเรียนบานเกาะสะทอน (41.26) โรงเรยี นบานตือมาย(ู 51.78) โรงเรียนที่ไดคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับ อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มตู าวซั ซเี ฎาะห) รอ ยละ 50 ข้ึนไป ไดแก โรงเรยี นบานบเู กะตา (58.94) และโรงเรียน บานตือมายู (51.78) สรปุ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับเขตพ้ืนที่ ปการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นนำรองพ้ืนท่นี วัตกรรม ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา นอสิ ลามศึกษา (I-NET) ระดบั เขตพื้นที่ ปการศึกษา 2563 โรงเรยี นนำรอ งพ้ืนที่นวัตกรรม มผี ลการทดสอบทีพ่ ัฒนาขน้ึ ในโดยมกี ารพฒั นาในแนวทางทแ่ี ตกตางกัน ดังน้ี 1. โรงเรียนบานตอื มายู มคี ะแนนเฉล่ีย ระดับอสิ ลามศึกษาตอนตน (อบิ ตดี าอียะห) เทากับ 43.25 ซึง่ สงู กวา ระดับประเทศ (37.11) และคะแนนเฉลย่ี ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มูตาวัซซเี ฎาะห) เทากับ 51.78 ซง่ึ มีคะแนนเฉล่ยี ปการศึกษา 2563 สงู กวาปการศกึ ษา 2562 สงู กวา ระดับประเทศ (39.71) และเกนิ รอยละ 50 ขึน้ ไป 2. โรงเรียนบานมโู นะ มีคะแนนเฉล่ีย ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มตู าวัซซเี ฎาะห) เทากับ 35.91 ซ่งึ มีคะแนนเฉล่ยี ปการศึกษา 2563 สูงกวา ปการศกึ ษา 2562 และนกั เรยี นระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนตน (อบิ ตี ดาอยี ะห) ทำคะแนนในสาระภาษามลายูเตม็ 100 คะแนน 3. โรงเรยี นบานสากอ มคี ะแนนเฉล่ยี ระดบั อสิ ลามศกึ ษาตอนกลาง (มูตาวซั ซเี ฎาะห) เทากับ 33.40 ซง่ึ มีคะแนนเฉลย่ี ปการศึกษา 2563 สงู กวา ปการศึกษา 2562 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ เสนอแนะ สรปุ ผลและอภปิ รายผล รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 32 ผลการดำเนินการทดสอบความรูและความคิดรวบยอดของนักเรียนตามหลักสูตรอิสลามศึกษา พุทธศักราช 2546 และหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุม สาระการเรียนรู 14 มาตรฐานการเรียนรู ในระดับศูนยส อบมดี งั นี้ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนตน(อบิ ตดี าอียะห) นกั เรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี เขาสอบจำนวน 867 คน คาเฉลยี่ ระดบั ประเทศของ 8 กลมุ สาระ การเรยี นรู อยูที่ระดบั 37.11 สวนคาเฉล่ยี ระดับศูนยสอบสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 อยูที่ระดับ 39.07 (+1.96) โดยมีรายวิชาที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาระดับประเทศจำนวน 6 วิชาดังน้ี วิชาอัลกุรอาน-อัลตัฟซีร (+0.58) วิชาอัลหะดีษ (+1.17) วิชาอัตตารีค (+0.83) วิชาอัลอัคลาค (+0.18) วิชา ภาษามลายู (+9.96) และวิชาภาษาอาหรับ (+3.69) สำหรับวชิ าทม่ี คี า เฉลย่ี ตำ่ กวาระดบั ประเทศ มี 2 วิชาดงั น้ี อลั อากีดะฮ (-0.42) และอลั ฟกฮ (-0.31) ในภาครวมของศนู ยส อบ สพป. นราธวิ าส เขต 2 มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1) วิชาอลั กุรอาน-อตั ตฟั ซีร คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศคือ 38.54 คะแนนเฉลยี่ ระดบั ศูนยส อบ รอยละ 39.12 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 14.07 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 13.38 ระดับศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 84.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 8.00 สำหรับ ระดับประเทศคาคะแนนสูงสุดรอ ยละ 100 และคะแนนต่ำสดุ รอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูท่โี รงเรียนควร เรงพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียนตำ่ กวา คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ คือ มาตรฐาน อก2 2) วิชาอลั หะดษี คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศคือ 44.74 คะแนนเฉลีย่ ระดบั ศนู ยสอบรอยละ 45.91 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 18.42 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 17.35 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 88.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 4.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 100 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เนอ่ื งจากคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี นตำ่ กวา คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คอื มาตรฐาน อห2 3) วชิ าอลั อากีดะฮ คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศคอื 37.38 คะแนนเฉลีย่ ระดับศนู ยสอบรอยละ 36.96 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 14.63 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 13.11 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 84.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 4.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 100 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เน่อื งจากคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี นต่ำกวา คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ คือ มาตรฐาน ออ1 และ ออ2 4) วิชาอลั ฟก ฮ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศคือ 31.93 คะแนนเฉล่ียระดบั ศนู ยส อบรอยละ 31.62 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 13.97 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 12.35 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 84.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 สำหรับระดับประเทศคา รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 33 คะแนนสูงสดุ รอ ยละ 88 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรยี นรทู ่โี รงเรยี นควรเรงพฒั นาเน่อื งจาก คะแนนเฉล่ียของโรงเรยี นต่ำกวาคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ คือ มาตรฐาน อฟ1 และ อฟ2 5) วิชาอตั ตารคี คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศคอื 37.60 คะแนนเฉล่ยี ระดบั ศนู ยส อบรอ ยละ 38.43 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 13.88 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 14.14 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 85.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 5.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอ ยละ 90 และคะแนนต่ำสดุ รอ ยละ 0.00 6) วชิ าอลั อคั ลาก คะแนนเฉล่ียระดับประเทศคือ 40.86 คะแนนเฉลยี่ ระดับศูนยส อบรอยละ 41.04 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 15.85 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 16.30 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 85.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 5.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสงู สดุ รอ ยละ 90 และคะแนนต่ำสดุ รอยละ 0.00 7) วชิ าภาษามลายู คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศคอื 35.17 คะแนนเฉลยี่ ระดับศนู ยส อบรอยละ 45.13 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 17.65 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 21.27 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 100.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 4.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสงู สุดรอยละ 100 และคะแนนตำ่ สุดรอ ยละ 0.00 8) วชิ าภาษาอาหรบั คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศคือ 30.65 คะแนนเฉลยี่ ระดบั ศูนยส อบรอ ยละ 34.34 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 14.33 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 14.89 ระดับศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 84.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 4.00 สำหรับ ระดบั ประเทศคา คะแนนสงู สดุ รอยละ 92 และคะแนนตำ่ สุดรอ ยละ 0.00 ภาพรวมคาคะแนนเฉลี่ยของศูนยส อบที่สงู กวาระดับประเทศท้ังสิ้นมีจำนวน 4 วิชา คือ วิชาอัตตารคี วชิ าอัลอัคลาก วิชาภาษามลายูและวิชาภาษาอาหรับ สำหรับคาคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำกวา ระดับประเทศทั้งสิ้นมี จำนวน 4 วชิ า คือ วชิ าอัลกรุ อาน-อัตตัฟซรี วิชาอลั หะดีษ วชิ าอัลอากีดะฮ และวิชาอัลฟก ฮ ระดบั อิสลามศกึ ษาตอนกลาง (มูตาวัซซีเฎาะห) นกั เรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่ เขา สอบจำนวน 262 คน คาเฉลยี่ ระดบั ประเทศของ 8 กลุมสาระ การเรียนรู อยูที่ระดับ 37.11 คาเฉลี่ยระดับประเทศของ 8 กลุมสาระการเรียนรู อยูที่ระดับ 39.71 สวน คาเฉลี่ยระดับศนู ยสอบสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 อยูท ่ีระดบั 39.57 (-0.14) โดยมีรายวิชาที่มคี ะแนนเฉลี่ยสูงกวาระดับประเทศจำนวน 3 วิชาดังนี้ วิชาอัตตารีค (+0.17) วิชาภาษามลายู (+0.17) และวชิ าภาษาอาหรับ (+5.47) สำหรบั วิชาทม่ี คี า เฉลี่ยตำ่ กวา ระดับประเทศ มี 5 วชิ าดังน้ี อัลกุรอาน- อัลตัฟซีร (-1.49) วิชาอัลหะดีษ (-2.66) วิชาอัลอากีดะฮ (-3.09) วิชาอัลฟกฮ (-0.65) และวิชาอัลอัคลาค (- 0.09)ในภาครวมของศูนยสอบ สพป. นราธิวาส เขต 2 มีรายละเอยี ดดังนี้ 1) วิชาอลั กรุ อาน-อตั ตฟั ซีร คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศคอื 41.83 คะแนนเฉลีย่ ระดบั ศูนยส อบ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 34 รอยละ 40.34 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 15.70 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดบั ศูนยสอบ คือ 13.66 ระดับศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 90.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 10.00 สำหรับ ระดบั ประเทศคาคะแนนสงู สุดรอยละ 100 และคะแนนตำ่ สดุ รอยละ 2.50 มาตรฐานการเรียนรูท่ีโรงเรียนควร เรง พัฒนาเน่อื งจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียนต่ำกวา คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คือ มาตรฐาน อก1 และ อก 2 2) วชิ าอลั หะดีษ คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศคือ 44.11 คะแนนเฉลี่ยระดบั ศูนยสอบรอ ยละ 41.45 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คอื 17.48 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 15.47 ระดับ ศูนยส อบนกั เรยี นที่มีคาคะแนนสงู สดุ รอ ยละ 82.50.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 12.50 สำหรับระดบั ประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 100 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เนอ่ื งจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียนต่ำกวาคะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ คอื มาตรฐาน อห1 และ อห2 3) วชิ าอลั อากดี ะฮ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศคอื 50.70 คะแนนเฉลยี่ ระดับศนู ยส อบรอยละ 47.61 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 16.09 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 14.09 ระดับ ศูนยส อบนักเรยี นที่มีคาคะแนนสงู สุดรอยละ 85.00.และคะแนนตำ่ สุดรอยละ 12.50 สำหรบั ระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 97.50 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 2.50 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เน่อื งจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี นตำ่ กวาคะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ คอื มาตรฐาน ออ1 และ ออ2 4) วชิ าอลั ฟก ฮ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศคือ 39.40 คะแนนเฉลย่ี ระดับศนู ยส อบรอ ยละ 38.75 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 12.88 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 11.52 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 75.00.และคะแนนต่ำสดุ รอยละ 7.50 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 92.50 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เน่อื งจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี นตำ่ กวาคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ คือ มาตรฐาน อฟ1 และ อฟ2 5) วิชาอตั ตารคี คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศคอื 37.45 คะแนนเฉลย่ี ระดับศูนยส อบรอ ยละ 38.72 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 12.58 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 12.49 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 72.50.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสงู สดุ รอยละ 92.50 และคะแนนตำ่ สุดรอ ยละ 0.00 6) วิชาอลั อคั ลาก คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศคือ 38.21 คะแนนเฉล่ียระดบั ศูนยส อบรอ ยละ 38.12 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 13.84 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 13.36 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 72.00.และคะแนนต่ำสดุ รอยละ 8.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอยละ 92.00 และคะแนนต่ำสุดรอยละ 0.00 มาตรฐานการเรียนรูที่โรงเรียนควรเรงพัฒนา เนอ่ื งจากคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียนต่ำกวาคะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ คือ มาตรฐาน อค1 7) วชิ าภาษามลายู คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศคอื 35.91 คะแนนเฉล่ยี ระดับศูนยส อบรอ ยละ 36.08 รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 35 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 14.12 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 13.34 ระดับ ศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 72.00.และคะแนนต่ำสดุ รอยละ 8.00 สำหรับระดับประเทศคา คะแนนสูงสุดรอ ยละ 96.00 และคะแนนตำ่ สุดรอ ยละ 0.00 8) วิชาภาษาอาหรบั คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศคอื 30.04 คะแนนเฉลยี่ ระดบั ศนู ยสอบรอยละ 35.51 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานระดับประเทศ คือ 13.97 สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับศูนยสอบ คือ 18.09 ระดับศูนยสอบนักเรียนที่มีคาคะแนนสูงสุดรอยละ 88.00.และคะแนนต่ำสุดรอยละ 4.00 สำหรับ ระดบั ประเทศคา คะแนนสูงสุดรอ ยละ 100 และคะแนนตำ่ สดุ รอยละ 0.00 ภาพรวมคาคะแนนเฉลี่ยของศูนยสอบที่สูงกวา ระดับประเทศทัง้ สิ้นมจี ำนวน 3 วิชา คือ 3 วิชาดังนี้ วิชาอัตตารีค วิชาภาษามลายู และวิชาภาษาอาหรับ สำหรับคาคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำกวาระดับประเทศทั้งสิ้นมี จำนวน 5 วชิ า คอื อลั กรุ อาน-อลั ตฟั ซรี วชิ าอัลหะดษี วิชาอลั อากดี ะฮ วิชาอลั ฟก ฮ และวชิ าอลั อคั ลาค คา พฒั นาระดับสถานศกึ ษา ระหวางปการศึกษา 2562-2563 มดี งั น้ี ระดบั อสิ ลามศกึ ษาตอนตน (อิบตีดาอียะห) โรงเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยทัง้ 8 สาระวิชาที่มคี ะแนนสูงขึ้น 3 ปการศึกษาตอเน่ือง มีจำนวน 12 โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนบานเกาะสะทอน โรงเรียนบานซรายอ โรงเรียนบานตำเสาพัฒนา โรงเรียน บานตาเซะใต โรงเรียนบานกวาลอซีรา โรงเรียนบา นปูโปะ โรงเรียนบานลาแล โรงเรียนบา นตือระ โรงเรียน บานโคกยาบู และโรงเรียนบา นกวู า (อ.สุไหงปาด)ี ซึง่ เปนโรงเรียนดปี ระจำคณุ ภาพจำนวน 4 คอื โรงเรียนบาน เกาะสะทอ น โรงเรียนบา นซรายอ โรงเรียนบา นลาแล และโรงเรยี นบา นไพรวนั โรงเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยทั้ง 8 สาระวิชาที่มีคะแนนในระดับ 50 คะแนนขึ้นไป จำนวน โรงเรยี นคือ 3 โรงเรียน คือ โรงเรยี นบานบเู กะตา โรงเรียนบานแมด ง และโรงเรียนบานตาเซะใหม ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มตู าวัซซเี ฎาะห) โรงเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลยี่ ทั้ง 8 สาระวิชาที่มคี ะแนนสูงขึ้น 3 ปการศึกษาตอเนื่อง มีจำนวน 12 โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนบานบูเกะตา โรงเรียนบานบาลูกายาอิง โรงเรียนบานศาลาใหม โรงเรียน บานตอื มายู โรงเรียนบานสากอ โรงเรียนบานลาแล โรงเรียนบานมูโนะ และโรงเรียนบานกูวา (อ.สุไหงปาดี) ซึ่งเปนโรงเรียนดีประจำคณุ ภาพจำนวน 6 คือ โรงเรียนบานบูเกะตา โรงเรียนบานบาลูกายาอิง โรงเรียนบา น ศาลาใหม โรงเรียนบานตือมายู โรงเรียนบา นลาแล และโรงเรียนบานมูโนะ และที่เปนโรงเรียนนำรองพื้นท่ี นวัตกรรมทางการศึกษา คือ โรงเรียนบานตอื มายู โรงเรยี นบา นสากอ และโรงเรียนบา นมูโนะ โรงเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยทั้ง 8 สาระวิชาที่มีคะแนนในระดับ 50 คะแนนข้ึนไป จำนวน 2 โรงเรียนคือ โรงเรยี นบา นบูเกะตา และโรงเรียนบานตือมายู ขอ เสนอแนะ รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 36 แนวทางการยกระดับคุณภาพการทดสอบ INET เชงิ ระบบ ในระดับศนู ยส อบ Context บรบิ ท : Input (ครู บรหิ ารจดั การ งบประมาณ สารสนเทศ เชน การวเิ คราะหผลการสอบ การวางแผน ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิดานอิสลามศกึ ษา ดวยการใชม าตรฐานทแ่ี ตล ะสถานศึกษามผี ลคะแนนเฉลี่ยตำ่ กวา ระดับประเทศ ) : Process (งานวิชาการ การพฒั นาครู การสนับสนุนจากทุกภาคสวน ระบบนิเทศตดิ ตามภายในและ ภายนอกสถานศกึ ษา) : Output (การจดั การเรยี นรทู ีม่ ปี ระสิทธภิ าพ/คุณภาพครผู สู อน/ความรวมมอื จากทกุ ภาคสวน) : Impact (นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธส์ิ งู ข้ึนและจรยิ ธรรมคณุ ธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ ) FEEDBACK ขอมูลยอนกลบั บทสงทาย รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 37 ตวั อยา งแนวปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จ โรงเรียนท่ีมีนกั เรยี นได 100 คะแนนในวิชามลายู ในปการศึกษา 2563 จำนวน 3 คน โรงเรยี นบา นลาแล 1.กระบวนการจดั การเรยี นการสอนอสิ ลามศกึ ษา 1. การบริหารจัดการโรงเรยี นบานลาใชหลักการ PDCA โดยใชก ระบวนการ I Care U Model ใน การขับเคลื่อนการจัดการเรยี นการสอนดงั นี้ I care U หมายถึง ความหวงใยของคณุ ครไู ปสนู กั เรียนไดดงั น้ี I หมายถึง Interpret เขาใจนักเรียนในความแตกตางระหวางบุคคล ครตู อ งรจู ักนักเรียนเปนรายบคุ คล C หมายถงึ Care หว งใยนักเรียนและเอาใจใสน ักเรยี นทุกคน A หมายถงึ Access เขา ถงึ ตวั นกั เรียนและรจู ักสภาพความเปน อยขู องครอบครัวนักเรยี นแตละคน R หมายถงึ Reliable เช่อื ใจในตัวนักเรยี นวาทกุ คนพฒั นาได E หมายถงึ Encourage สนบั สนนุ สง เสริมนักเรยี นที่เรยี นดีและเอาใจใสในนักเรียนพิเศษเรียนรว มทกุ คน U หมายถงึ Unity สรา งความเปนหน่งึ ในตวั นกั เรียนใหมีความรกั ความสามัคคีในหมคู ณะ ดังนั้น ในกระบวนการการเรียนการสอนของคณะครูไดรับนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียน โดย การมีสวนรว มทุกข้ันตอน เริม่ จากมีการประชุมของคณะครใู นกลมุ สาระอาทติ ยล ะครัง้ ประชุมครูทั้งโรงเรยี น รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 38 เดือนละครั้ง ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ซง่ึ เปน องคคณะทีใ่ หก ารสนบั สนุน ควบคุมดูแลการ ดำเนนิ งานโรงเรยี นและประชมุ ผูปกครองในแตล ะหองเรยี นโดยที่ผปู กครองเครอื ขายเปนผขู บั เคลื่อน ฉะน้ัน การดำเนนิ งานของโรงเรยี น มสี ว นรว มทกุ ฝา ยในการขบั เคลื่อน คณะครผู ูสอนอสิ ลามไดจัดกระบวนการเรียนการสอนตามนโยบายของโรงเรยี น โดยการดำเนนิ งานตาม ขั้นตอนใหเ ปนรปู ธรรม ดงั น้ี 1. วิเคราะหหลกั สูตรเพอื่ กำหนดสาระและชวั่ โมงการสอน 2. จดั ทำแผนการสอนตามตวั ชว้ี ัดที่เนนนักเรียนเปนสำคญั 3. ดำเนนิ การสอนโดยใชวธิ กี าร Active learning ท่ีมีกิจกรรม หลากหลาย 4. วดั ผลและประเมนิ ผล ดว ยวิธีการทห่ี ลากหลายตามสภาพจรงิ 5. นำผลบันทกึ หลงั สอน สงเสรมิ และแกปญ หานักเรยี นเปนรายบคุ คล กระบวนการเรียนการสอนของโรงเรียนจะเปด โอกาสใหน ักเรียนมีสว นรวมในการวางแผนในการเรียน เน้อื หาสาระทต่ี ัวเองพึงพอใจสง ผลใหน กั เรยี นมคี วามสนใจและต้งั ใจเรยี น สงผลใหผลสัมฤทธ์ิในการเรยี นดีขน้ึ 2. ปจ จัยความรวมมือจากชมุ ชน การบริหารจดั การของโรงเรยี น โดยใหผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ทุกภาคสวน เขามามสี ว น รวมในการบรหิ ารจดั การของโรงเรยี น เร่ิมจากแตงตงั้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ผูปกครองเครอื ขาย ผปู กครองและชมุ ชน เขา มามสี ว นรว มในการดำเนนิ งานกิจกรรมของโรงเรยี น ผูนำศาสนา คอื โตะอีหมา ม เปน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานของโรงเรียน เปนผูบ ริหารโรงเรียนตาดีกาบานลาแล ดังน้ันการเรียน การสอน ของอิสลามศึกษามีการประสานงานอยูตลอดเวลา ทั้ง 8 สาระ ใหไปทิศทางเดียวกัน และทาง โรงเรยี นใหเ สริมหลักสูตรการสอนกีรออาตี การอานยาซีน และกจิ กรรมตางๆท่ีทางศาสนาไดกำหนดใหผ ูที่นำ ถือศาสนาอิสลามพึงปฏิบัติ เปนผลที่ทำให ความพึงพอใจใหกับผูปกครองและชุนชนเปนอยางมาก ทำให โรงเรยี น ไดร ับความรว มมอื ในการดำเนินงานของโรงเรียนเปน ไปดวยดีตลอดมา 3.แนวทางสูความสำเรจ็ การดำเนินงานของโรงเรยี นบานลาแลไดร ับความรวมมือจากผูม ีสวนไดสว นเสีย (Stakeholder) ทุก ฝายดวยดีตลอดมาทำใหการขับเคลื่อนในการจัดการเรียนการสอนมีผลสมั ฤทธิ์ที่ดีขึ้นที่เห็นไดจ ากการสอบ I-net ปก ารศกึ ษา2563 จำนวนนักเรยี น 3คนท่ไี ดค ะแนนเตม็ 100คะแนนในสาระวชิ าภาษามลายูและมคี ะแนน คาเฉลี่ย 8 สาระเพิ่มขึ้นกวาปที่มา จากผลการดำเนินงาน ครูผูส อนอิสลามทุกคนไดทุมเทในการสอนอยาง เตม็ ที่ ซึง่ มาจากนโยบายการบริหารจัดการของโรงเรยี นโดยผูบริหารใหการสนบั สนนุ อำนวยความสะดวกและ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 39 เปนกำลงั ใจใหคุณครไู ดขับเคลื่อนอยางเต็มศักยภาพ ฝายวิชาการไดอำนวยตารางเวลาใหกับครผู ูสอนในการ เสรมิ นักเรยี นกอนทจ่ี ะสอบทกุ คร้ัง ทำใหผ ลในการดำเนินงานสำเรจ็ สมั ฤทธิผลดังที่เปน อยู โรงเรียนท่ีมีนกั เรยี นได1 00 คะแนนในวชิ ามลายู ในปก ารศกึ ษา 2563 จำนวน 1 คน โรงเรียนบา นมโู นะ 1. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนอสิ ลามศึกษาในโรงเรียน ใชวิธีการจัดการเรียนรูโดยยึดหลักการหรือรูปแบบของอุซตาสฮัจยีดะฮฺลัน ซาลิม ซัรกาซี (Ustaz Dahlan Salim Zarkasyi) โดยใชว ิธีการจัดการเรียนรู Kelakasi Individu (Kelompak Perseorangan) เปน กระบวนการจดั การเรียนรูการอานอัลกรุ อานผสมผสานกับการจัดเรียนรเู ชงิ รุก (Active Learning) ในรายวิชา อสิ ลามศกึ ษา ดังน้ี 1. ข้ันรับรู (10 นาท)ี ครู : ชี้แจงวัตถปุ ระสงค/สนทนาเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชาเพื่อสรา งการรับรู เปด ใจดวยดุอาอฺ อา นดอุ าอกฺ อนเรียนพรอ มอานซเู ราะฮฺอัล-ฟาตีฮะห เพ่อื ขอความบารอกตั ิ ‫أَل ﱠل ُه ﱠم ا ْفتَ ْح َع َل ْي َنا ِح ْك َمتَ َك َوا ْن ُش ْر َعلَ ْينَا ِم ْن َخ َزا ِئ ِن َر َ◌ ْح َمتِ َك َيا أَ ْر َح َم ال ﱠرا ِح ِم ْي َن‬ จัดกิจกรรม ขยับกาย ขยายสมอง (Brain Gym) เพื่อสรา งวินัยและความกระตือรือรนในการ เรยี นรูของนกั เรยี น และกระตนุ ใหน ักเรยี นมคี วามซอ่ื สัตยใ นการทำแบบทดสอบดว ยตนเอง นักเรียน : รับฟงคำชี้แจง ทำความเขาใจ ตอบคำถาม ปฏิบัติกิจกรรม ทำแบบทดสอบกอน เรียนดว ยความซือ่ สตั ย 2. ข้นั เชื่อมโยง (k4) นกั เรียน : รวบรวมความรูท ไ่ี ดจากการศึกษาลงในแผนภาพความคดิ ใหเสร็จตรงตามเวลาที่ กำหนด ครู : ชน่ื ชม/กระตุน ใหนกั เรียนในกลุมมีน้ำใจ มจี ิตอาสา มคี วามสามคั คีชว ยเหลือซ่ึงกนั และมี ความซ่อื สตั ยไ มล อกช้นิ งานกลุมอื่น 3. ข้ันประยกุ ตใ ช (k5-6) ครู : กระตุน ใหน ักเรียนมคี วามสามัคคชี วยเหลือซงึ่ กันและกนั รว มสรางชน้ิ งาน/นวตั กรรมให ประสบความสำเรจ็ และรวมกนั สรุปองคค วามรูใหม นกั เรียน : นกั เรียนสรา งช้ินงานช้นิ งาน/นวตั กรรม ประเมนิ จดุ ดี จดุ ดอ ย นำเสนอและสรปุ องคความรูใหม ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นดว ยความซ่ือสตั ย 2. ปจจยั ความรวมมอื จากชมุ ชน รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 40 2.1 ดานการเลี้ยงดูตามวิถอี ิสลาม เพ่อื สงเสรมิ สุขภาวะและโภชนาการท่เี หมาะสมกบั พัฒนาการ การสนบั สนุน และสง เสรมิ ศักยภาพในดา นการเรียนรู 2.2 ดา นการจดั การเรยี นรูในบานบรู ณาการอิสลาม โดยการจัดเวลาหรือตารางประจำวนั สำหรับ การทบทวนบทเรยี นของนักเรียน 2.3 ดานการรว มมือกับโรงเรยี น โดยการสือ่ สารกบั โรงเรียนผา นทางชองทางตา งๆ เก่ียวกบั พฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน และพฒั นาการการเรียนรเู พอ่ื ใหครูกับผูป กครองเขา ใจระดบั การเรียนรหู รือ การพฒั นาของเดก็ เพ่อื นำไปสูการพฒั นาท่ีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ 2.4 ดา นการรวมมอื กบั ชมุ ชน การรวมมอื กับชมุ ชนเพ่ือสง เสริมการเรียนรู โดยการส่ือสารและ สรา งความสมั พนั ธกบั ชมุ ชนเพ่อื ใหผูปกครองสามารถมีสว นรว มในการสนับสนนุ การกำหนดนโยบาย และ วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอิสลามศึกษาไดตรงตามความตองการของชุมชม 3. แนวทางสคู วามสำเรจ็ 3.1 สถานศึกษามีการกำหนดเปาหมายทีช่ ัดเจน พรอมท้ังบุคลากรมุงไปสูเปาหมายเดียวกันใน การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอิสลามศึกษา และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานอิสลาม ศึกษา (I-NET) สูงข้นึ 3.2 ใชวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA ในการปฏิบตั งิ านดานอิสลามศกึ ษา และมีขอมูลใน การพัฒนาที่ไดมาจากการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอิสลามศึกษาและ I-NET ของโรงเรียนโดยการมี สว นรว มของผเู ก่ยี วของทกุ ฝา ย 3.3 ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี นมกี ารทำงานเปน ทมี และมสี วนรว ม โดยรว มคิด รวมประสาน รว ม ทำจนทำใหก ารเรียนการสอนอสิ ลามศกึ ษาสำเรจ็ บรรลวุ ัตถุประสงคแ ละมคี ุณภาพ 3.4 ผูปกครอง ชุมชน ภาคีเครือขายและหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนใหความรวมมือและ สนับสนนุ กิจกรรมจัดการเรียนการสอนอสิ ลามศกึ ษาเปนอยา งดี โรงเรียนบานบาลกู ายาองิ ที่มีนกั เรยี นได 100 คะแนนในวชิ ามลายู ในปก ารศกึ ษา 2561-2562 และในปก ารศกึ ษา 2563 มีคา พฒั นาระดบั ตอนกลางสูงขึ้น ดำเนนิ การจัดกระบวนการจัดการเรยี นการสอน อสิ ลามศึกษาในโรงเรียนของรัฐดงั นี้ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 41 1. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนอสิ ลามศึกษา กระบวนการจัดการเรยี นการสอนอิสลามศกึ ษาในโรงเรียนบา นบาลูกายาองิ โดยการจดั กระบวนการ สอนได 3 รปู แบบ ดงั น้ี 1. การจดั กระบวนการเรยี นการสอนในรายวิชาตามหลัก CIPPA ดังนี้ ขนั้ ท่ี 1 การทบทวนความรเู ดมิ ครูทบทวนความรเู ดิมโดยการตง้ั คำถามนกั เรยี นโดยการพูดคยุ สนทนา การใช คำถามกระตนุ ใหเกิดการทบทวนประสบการณเ ดิมของผเู รยี น จากนั้นครเู ขยี นหัวท่ีใชส อนบนกระดานและให นกั เรยี นถกเก่ยี วกบั เรอื่ งดังกลาว ขน้ั ที่ 2 การแสวงหาความรูใหม ครูอธบิ ายเกี่ยวกับความหมายของเร่ืองท่ีใชส อน โดยครูแจกใบความรใู หน ักเรยี น ศกึ ษา จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเตมิ ขัน้ ท่ี 3 การทำความเขาใจขอมลู /ความรใู หม ครูใหน ักเรียนแบงกลมุ จากนน้ั นักเรยี นศึกษาใบความรู เพื่อดำเนินจัดทำใบงานตอไป ข้ันท่ี 4 การแลกเปลยี่ นความรคู วามเขา ใจภายในกลมุ เมอ่ื นักเรยี นทำงานเสร็จแลวใหนกั เรยี นทำความเขาใจ แลกเปลี่ยนหรือตรวจความ ถูกตองภายในกลุม ขน้ั ที่ 5 การสรุป นกั เรยี นชวยกนั สรปุ ขอ มูลทไ่ี ดศึกษาจากใบความรู ขั้นที่ 6 การนำเสนอผลงาน ตัวแทนของแตละกลมุ ออกนำเสนอผลงานหนาชนั้ เรยี น จากน้ันใหน กั เรียนทุกคน ชว ยกันตรวจสอบความถกู ตอง ขั้นที่ 7 การประยุกตใชค วามรู ครูมอบหมายงานใหนักเรยี นทำเปน การบา นและทดสอบเก็บคะแนน 2. การนำวิถีอิสลามใชในการจัดกิจกรรมตา ง ๆ ในโรงเรียน เชน กิจกรรมทักทายในวิถีอิสลาม การปฏิบัติศาสนกิจ ดุอาอและซิกรุลอฮประจำวัน การละหมาดดุฮา การอานและทองยาซีนในคาบแรก ของวันศุกร เปดรุงอรุณดวยอัลกุรอาน ติดตามการถือศีลอดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 3 เมาลิดสัมพนั ธ คา ยคณุ ธรรมจริยธรรม คาย I-NET งานกรี ออาตี (หลกั ธรรม นำสขุ สู TQL) 3. นักเรียนนำความรูท่ไี ดร บั ไปประยกุ ตใชในชีวติ ประจำวันได 2. ปจ จยั ความรว มมือจากชุมชน 2.1 ดา นการดูแลนกั เรยี นดว ยวิถอี ิสลาม 2.2 ดานการจัดการเรียนการสอนดว ยหลกั สูตรอสิ ลามศึกษาแบบเขม รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปการศกึ ษา 2563

หนา | 42 2.3 ดานการบริหารจัดการ โรงเรยี นสงเสริมสนับสนุนงบประมาณเพื่อใหกิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนอิสลามศึกษาเปนไปแผนปฏิบัติการ 2.4 ดานการรวมมือกบั ชุมชน เชน อานคตุ บะหวันศุกร รวมงานพิธกี รรมทางศาสนาประเพณี และวฒั นธรรมของชมุ ชนอยา งสมำ่ เสมอ 3. แนวทางสูความสำเร็จ 3.1 โรงเรียนบานบาลูกายาอิง มีการกำหนดเปาหมายที่ชัดเจน คือ มีหลักสูตร วิเคราะห หลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู สื่อการสอน และมีการบรรจุโครงการ/กิจกรรมบรรจุในแผนปฏิบัติการ ประจำป ซ่งึ บคุ ลากรทกุ ทา นมีความมงุ ม่ันในการทำงานเพ่ือสเู ปา หมายและทศิ ทางเดยี วกัน 3.2 โรงเรียนบานบาลูกายาอิง มีการบริหารงานดานอิสลามศึกษาโดยใชกระบวนการ PDCA และมขี อ มูลในการพัฒนากิจกรรมตาง ๆ ทำใหบุคลากรมีสวนรวมในการขบั เคล่อื น 3.3 บุคลากรโรงเรียนบานบาลูกายาอิงมีการทำงานเปนทีม จึงสงผลใหการจัดการศึกษาอิสลาม ในโรงเรยี นของรฐั ปจ จุบนั ประสบความสำเร็จ 3.4 โรงเรยี นบานบาลูกายาอิงเปดโอกาสใหผ ูปกครองและชุมชนมสี วนรวมในการจัดกิจกรรมตาง ๆ สง ผลใหผ ูป กครองและชุมชนมีความเชื่อมั่นตอการบรหิ ารงานของโรงเรียน ทำใหผ ปู กครองและชุมชน สง บตุ รหลานเขามาเรยี นในโรงเรยี นบานบาลูกายาองิ เพ่มิ ขน้ึ ทุกป โรงเรยี นบา นเจะ เหม นกั เรยี นมีคะแนนเต็มวชิ าภาษามลายูในปการศึกษา 2562 และเปนตัวแทน โรงเรียนทเี่ ปน สนามสอบตลอดมาจนถงึ ปก ารศึกษา 2563 ดำเนนิ การจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนอสิ ลามศึกษาในโรงเรียนของรัฐดังนี้ 1. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนอิสลามศกึ ษา 1.1 การเรยี นการสอนเนนการปฎบิ ตั จิ ริง คขู นานกับแนวปฏิบตั ิในชวี ิตประจำวนั ของผเู รยี น เชน การอาบนำ้ ละหมาดการขอดุอาวใ นแตล ะกิจวตั รระหวา งวนั เปน ตน 1.2 จัดกิจกรรมอบรมขลดั เกลาพฤติกรรมผูเรยี นตามหลกั ของศาสนารวมกับชมุ ชน เชน การเชิญ โตะ อีหมานมาบรรยายธรรม สงผเู รียนเรยี นตาดกี าประจำหมูบาน การละหมาดวนั ศุกร เปนตน 1.3 ใชส ่ือ ICT สง เสรมิ การเรียนรูข องผเู รียน 1.4 กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนารวมกับชุมชน ผูเรียนไดนำความรูดานวิชาการสูการปฏบิ ัติได อยา งยั่งยนื เชน กจิ กรรมละศลี อด กจิ กรรมงานเมาลดิ กจิ กรรมละหมาดฮายดั เปน ตน 2. ปจ จยั ความรว มมือจากชุมชน 1. การรวมกันสรางสรรคเยาวชนผา นกิจกรรมในชุมชนดานศาสนา การเรียนอัลกุรอานชวงเวลา ค่ำของเยาวชนโดยโตะ ครใู นหมบู า น รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 43 2. ผูป กครองใหความรวมมือกับทางโรงเรียนในการรวมกันพัฒนาผูเรียนทั้งดานวิชาสามัญและ วิชาศาสนา 3. คณะกรรมการสถานศกึ ษารว มกำกบั ติดตาม การจัดการเรียนการสอนอยา งตอ เนอื่ ง 3.แนวทางสูความสำเร็จ 1.ครผู ูสอนมีความต้งั ใจและเสียสละเวลาในการอบรมผูเ รียนใหม ผี ลสัมฤทธแ์ิ ละพฤติกรรมอันพ่ึง ประสงคตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 2.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอิสลาม ศกึ ษาและศึกษานเิ ทศกรวมนิเทศการจัดการเรยี นการสอนอยางเปนกลั ยาณมิตร 3.ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา รวมขับเคล่ือนกบั คณะครู บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนแบบมีสว น รว มในการรวมวางแผนงาน กำหนดปฏทิ ินการนเิ ทศ สะทอนผลการปฏิบัติงาน สรปุ และรายงานผล การเปน สนามสอบของโรงเรียนทั้งสองระดับ คือ ระดับตอนตนและตอนกลาง เปนเรือ่ งที่ดีในการ สงเสริมการจดั การเรียนการสอนอิสลามศึกษาใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการจัดสอบในระดับชาติ อีกทัง้ เปน การเสริมแรงใหครูผูสอน นักเรียน และชุมชน ตระหนักถึงการประเมินวัดระดับความรูความสามารถดาน อสิ ลามศกึ ษาที่เปน รากฐานการดำเนนิ ชวี ิตของคนในทองถ่ินสามจังหวัดชายแดนภาคใต นอกจากดานวิชาการ ยงั เปนการปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรมใหกับผเู รียน และสนองความตอ งการของชุมชน คำถามสงทา ย เมื่อทานศึกษาแนวทางยกระดับคุณภาพการทดสอบในระดับศูนยสอบ และแนวทางการขับเคลื่อน ของโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จ ในฐานะทานเปนผูบรหิ ารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานเิ ทศก ครู วชิ าการ ครูผูสอนวิชาอสิ ลามศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของในการจัดการศึกษาอิสลามศกึ ษา ทานมีแนวคิดและ วธิ กี ารยกระดับคุณภาพการศกึ ษาดานอสิ ลามศกึ ษาอยา งไร เอกสารอางองิ รายงานผลการจัดการทดสอบอสิ ลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 44 สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ (องคก รมหาชน). 2563. คมู อื การจัดสอบการทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาตดิ านอิสลามศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สทศ. สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2. 2563. รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลาม ศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563. สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. 2563. รายงานการวิจยั คำพ้นื ฐาน “ภาษาอาหรับ” ระดบั อสิ ลาม ศกึ ษาตอนตน (อิบติคาอยี ะฮ) ช้นั ปท ่ี 1-3. กรงุ เทพฯ : หา งหุนสว นจำกัด โรงพิมพอ ักษรไทย (นสพ ฟาเมืองไทย) รายงานการวิจยั คำพน้ื ฐาน “ภาษามลายู” ระดับอิสลามศึกษาตอนตน (อบิ ตคิ าอียะฮ) ชัน้ ปท่ี 1- 3. กรุงเทพฯ : หางหนุ สวนจำกดั โรงพิมพอ ักษรไทย (นสพ ฟา เมืองไทย) คณะผจู ดั ทำ รายงานผลการจัดการทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563

หนา | 45 ที่ปรกึ ษา ผอู ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส ๒ รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส ๒ นายสพุ จน มณรี ตั นโชติ รองผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส ๒ นายวิรัตน กะตะศลิ า รองผูอำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส ๒ นายกิติกร ศริ ินกิ ร นางลกั ขณา เสริมสขุ ผอู ำนวยการกลมุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ นายลาภวัต บุญธรรม คณะผจู ดั ทำ นางสาวอำไพพร นาคแกว หวั หนางานวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ประธาน กรรมการ นางรดา ธรรมพนู พสิ ัย ศึกษานเิ ทศก กรรมการ กรรมการ นางวราภรณ แกวสขี าว ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ กรรมการ นางศรสี ดุ า รัตนพล ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ กรรมการ นางสาวธิตมิ า เรืองสกลุ ศึกษานเิ ทศก กรรมการ กรรมการ นางพมิ พรรณ อนนั ทเสนา ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ กรรมการ นางสาวพาขวญั จันทรแ กวแร ศึกษานเิ ทศก กรรมการ นายอาลาวี สะมะแอ ศกึ ษานเิ ทศก นางสาวฟาดีละห ศรทั ธาสภุ คั กุล ศกึ ษานิเทศก นางฮาซานะห บินมะอุง ศกึ ษานเิ ทศก นางสาวณชนก ยอมเต็ม เจา พนกั งานธรุ การปฏบิ ตั กิ าร นางสาวฐิตยิ า โบพรหม พนักงานราชการ นางสาวจรรยา กรรมจดั พนักงานราชการ บรรณาธกิ ารกจิ นางฮาซานะห บินมะองุ ศกึ ษานเิ ทศก สพป.นราธวิ าส เขต ๒ ออกแบบปกและรูปเลม นางสาวฟาดีละห ศรัทธาสภุ คั กลุ ศกึ ษานเิ ทศก สพป.นราธิวาส เขต ๒ รายงานผลการจดั การทดสอบอิสลามศกึ ษาระดบั ชาติ (INET) ปก ารศกึ ษา 2563