Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore basic of computer

basic of computer

Published by missyupa.j, 2020-06-24 01:02:15

Description: basic of computer

Keywords: basic of computer

Search

Read the Text Version

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมนุษย์ ฝากวิถีการดาเนินชีวิตไว้ กับระบบ คอมพิวเตอร์มากขึ้น ท้ังนี้ก็เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ ให้บริการกบั ประชาชนจานวนมากได้อย่างเพยี งพอ คอมพิวเตอร์ จึงถือเป็ นเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล และใช้งานเพ่ือคัดกรอง เฉพาะข้อมูลทต่ี ้องการมาใช้งานอย่างมปี ระสิทธิภาพ 2

คุณสมบตั ขิ องคอมพวิ เตอร์ 1. ความเป็ นอตั โนมัติ (Self-Acting) การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางาน แบบอตั โนมตั ิภายใตค้ าส่งั ที่ไดถ้ กู กาหนดไว้ 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอ้ มูล (Processing Speed) ความเร็วของการประมวลผลอาจแปรผนั ตาม ลกั ษณะเฉพาะของขอ้ มลู 3. ความเชื่อถือ (Reliable) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผล ให้มีความถูกตอ้ ง ซ่ึงความเช่ือถือนับเป็ นส่ิงที่สาคญั ท่ีสุดในการ ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์น้นั จะใหผ้ ลของการ คานวณท่ีถกู ตอ้ งเสมอ 3

คุณสมบัตขิ องคอมพวิ เตอร์ 5. เกบ็ ข้อมูลจานวนมาก (Store Massive Amounts of Information) ในปัจจุบนั จะมีท่ีเก็บขอ้ มูลสารองที่มีความจุมากกว่าหน่ึงพนั ลา้ น ตวั อกั ษร ย้ายข้อมูล (Move Information) โดยใชก้ ารติดต่อสื่อสารผา่ น 6. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้มีการเรี ยกเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมกัน ท่ัวโลกในปั จจุบันว่า ทางด่วน สารสนเทศ (Information Superhighway) 7. ทางานซ้า (Repeatability) ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนลา้ จากการ ทางานของแรงงานคน นอกจากน้ียงั ลดความผดิ พลาดต่าง ๆ ไดด้ ีกวา่ 4

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลกั ทสี่ าคญั 3 ส่วน คอื ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) 5

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ การเปรียบเทียบระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์กบั คนงานได้ดงั นี้ องค์ประกอบ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มนุษย์ ฮาร์ดแวร์ ตวั เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ร่างกาย อวยั วะต่าง ๆ ของมนุษยท์ ่ี ซอฟต์แวร์ รับข้อมูล และแสดงผล ต่างๆ ใช้ในการเคลื่อนไหวและส่ือสาร บุคลากร (จอภาพแสดงผล แป้ นคียบ์ อร์ด (ตา หู จมูก ลิ้น ผวิ กาย) ฯลฯ) จิตใจ จิตใต้สานึก เป็ นตัวสร้าง ระบบปฏิ บัติการ โปรแกรม กิ จ ก ร ร ม เ รี ย ก ว่ า โ ป ร แ ก ร ม สาเร็จรูปโปรแกรมเฉพาะงาน ธรรมชาติ ผูท้ ี่ทาหน้าท่ีประมวลผลข้อมูล ผทู้ ี่ควบคุมการทางาน ดว้ ยคอมพิวเตอร์ 6

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ท่ีมีวงจรไฟฟ้ าอยภู่ ายในเป็นส่วนใหญ่ สามารถจบั ตอ้ งได้ ประกอบด้วยส่ วนท่ีสาคัญ คือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลกั หน่วยรับขอ้ มูลหน่วยแสดงผลหน่วยเก็บขอ้ มูล สารอง 7

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะประกอบด้วยข้ันตอนการ ทางานพนื้ ฐาน ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ข้นั ตอน คอื Input Process Output 1. การรับข้อมูลเข้า (Input) หมายถึง ข้ันตอนการรับข้อมูลเข้า สู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยจะอาศัยหน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) ทาหน้าทใ่ี นการรับข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพวิ เตอร์ 8

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) Input Process Output 2. การประมวลผลข้อมูล (Process) หมายถึง ข้ันตอนการนาข้อมูลมาประมวลผล ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดยมีหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) ทาหน้าท่ี ประมวลผลข้อมูล 9

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) Input Process Output 3. การแสดงผล (Output) หมายถึง ข้ันตอนการนาข้อมูลทผี่ ่านการประมวลผล แล้วออกมาแสดงผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ทราบ โดยผ่านอุปกรณ์สาหรับการแสดงผล (Output Device) 10

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่ วนประกอบของฮาร์ ดแวร์ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์หนึ่งเคร่ือง จะประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็ น 5 ส่วน หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา หน่วยอนื่ ๆ 11

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หมายถึง หน่วยทที่ าหน้าที่รับข้อมูล คาส่ังหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพวิ เตอร์ ตลอดจนการโต้ตอบของผู้ใช้ โปรแกรมกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ รวมถึงอุปกรณ์ซ่ึงสามารถป้ อนข้อมูล คาสั่งหรือโปรแกรมเข้าสู่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้ อุปกรณ์รับข้อมูล มีดังนี้ 1) อปุ กรณ์แบบกด (Keyed Device) ไดแ้ ก่ แป้ นพมิ พ์ หรือ keyboard 12

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2) อุปกรณ์ชี้ตาแหน่งและวาดรูป (Pointing and Drawing Devices) เป็น อุปกรณ์ท่ีใชค้ วบคุมการทางานของตวั ช้ีตาแหน่ง (Pointer) เมา้ ส์ (Mouse) แผน่ สัมผสั (Touchpad) จอยสติก (Joystick) 13

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 3) ปากกาแสง (light pen) ใชส้ ัมผสั กบั จอภาพชนิดพิเศษ เพ่ือใชช้ ้ีตาแหน่ง และวาดขอ้ มลู นิยมใชก้ บั งานออกแบบ 4) ดจิ ิไตเซอร์ (Digitizer) ทาหนา้ ท่ีแปลงขอ้ มูล (อ่านพิกดั ) ท่ีเป็ นเส้นตรง เส้นโค้ง ภาพวาด ให้เป็ นสัญญาณดิจิตอล แล้วถ่ายทอดสัญญาณไปยังเครื่ อง คอมพวิ เตอร์ 14

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 5) กราฟิ กแทปเลท (Graphics Tablet) เป็นเครื่องอ่านพิกดั กราฟิ ก ทางาน ลกั ษณะเดียวกบั ดิจิไตเซอร์ ต่างกนั ที่จะมีอกั ขระและคาส่ังพิเศษสาเร็จรูปอยบู่ นแผน่ อา่ นพกิ ดั นิยมใชส้ าหรับงานออกแบบสถาปัตยกรรม 6) จอภาพสัมผสั (Touch Screen) เป็นจอภาพชนิดพิเศษที่ใหผ้ ใู้ ชง้ านใชน้ ิ้ว สมั ผสั บนจอภาพเพื่อป้ อนขอ้ มลู เขา้ สู่ระบบ 15

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 7) สมุดบันทกึ คอมพวิ เตอร์ (Digital Notebook) - เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบดว้ ยแผน่ กระดาษโนต้ หรือกระดาษท่ีใชเ้ ขียนงาน ทวั่ ไป - ซ่ึงจะตอ้ งวางอยบู่ นแผน่ อิเลก็ ทรอนิกส์ แลว้ ใชง้ านร่วมกบั ปากกาชนิด พิเศษท่ีสามารถส่งสญั ญาณท่ีเขียนบนสมุดลงไปยงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ - ผใู้ ชส้ ามารถเรียกดูแกไ้ ข หรือตกแตง่ ไดต้ ามตอ้ งการ 16

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 8) อุปกรณ์กราดภาพ (Scanning Devices) เป็ นอุปกรณ์เพื่อใชบ้ นั ทึก ขอ้ ความ ภาพวาด หรือสัญลกั ษณ์พิเศษอื่น ๆ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีหลกั การ ทางาน คือ อุปกรณ์จะทาการแปลงขอ้ มูลให้อยใู่ นรูปของสัญญาณดิจิตอลท่ีสามารถ นาไปประมวลผลและแสดงผลบนจอภาพได้ ไดแ้ ก่ สแกนเนอร์ (Scanner) - สแกนเนอร์แบบเล่ือนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) - สแกนเนอร์แบบแท่นนอน (Flatbed Scanner) - สแกนเนอร์แบบมือถือ (Handheld Scanner) 17

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด (Barcode Reader) ปัจจุบนั มีการพฒั นารหสั คิวอาร์ (QR Code) มีลกั ษณะเป็นสญั ลกั ษณ์บาร์โคด้ 2 มิติ เครื่องอ่านอกั ขระด้วยแสง (Optical Character Recognition: OCR) เคร่ืองอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical Mark Recognition: OMR) 18

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เอม็ ไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition Device: MICR) กล้องดจิ ิตอล (Digital camera) กล้องวดี โี อ 19

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) มีหนา้ ท่ีนา คาส่ังและขอ้ มูลท่ีเก็บไวใ้ นหน่วยความจามาแปลความหมายและกระทาตาม คาสั่งพ้นื ฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซ่ึงแทนดว้ ยรหสั เลขฐานสอง การทางานของคอมพิวเตอร์ ใชห้ ลกั การเก็บคาส่ังไวท้ ่ีหน่วยความจา ซีพียอู ่านคาส่ังจากหน่วยความจามาแปล ความหมายและกระทาตามเรียงกนั ไปที ละคาสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ท้งั ระบบ ตลอดจนทาการประมวลผล 20

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หัวใจของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์พซี ี คือ ชิปไมโครโปรเซสเซอร์หรือซีพียู มี ท้ังแบบประมวลผลแบบ 32 บิต และ 64 บิต ความเร็วของซีพียูมีหน่วยท่ีใช้วดั ความเร็วคือ เมกะเฮิรตซ์หรือจิกะเฮิรตซ์ แบ่งกลุ่มตามการใชง้ านไดแ้ ก่ กลุ่มที่ 1 ใชใ้ นสานกั งาน เล่นอินเทอร์เน็ต ดูหนงั ฟังเพลง 21 กลุ่มท่ี 2 เพื่อความบนั เทิง แต่งภาพ เขียนแบบ 2D ทากราฟฟิ ค แต่ไม่ ถึงกบั งาน 3D หรือใชเ้ ล่นเกมส์แบบปกติกราฟิ กไม่มาก กลุ่มท่ี 3 ทากราฟิ กงานดา้ น 3D งานตดั ต่อวดี ีโอ ภาพยนตร์ สตูดิโอ หอ้ งอดั เพลง แต่งเสียง เขียนแบบ 3D เล่นเกมส์แบบละเอียดมาก

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) มสี ่วนประกอบ ดงั นี้ 2.หน่วยคานวณและตรรกะ มีหนา้ ท่ีนาเอาขอ้ มลู ท่ีเป็นตวั เลขฐานสองมาประมวลผล ALU ทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ 1.หน่วยควบคุม ทาหน้าท่ีควบคุมการทางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่าง CU หน่วยความจา CPU ควบคุมกลไกการทางานท้งั หมดของระบบ 3. หน่วยความจาภายใน หรือรีจิสเตอร์ (Register) เป็ นหน่วยความจาทาหน้าที่พักข้อมูล MU ช่ัวคราวเพอื่ เตรียมนาประมวลผลในลาดบั ถัดใน CPU ซึ่งมลี กั ษณะ คล้ายกบั ความทรงจาในสมองของมนุษย์น่ันเอง 22

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ส่วนประกอบของซีพยี ู 23

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล หมายถึง หน่วยท่ีนาผลที่ได้ จากการประมวลผลขอ้ มูลของคอมพิวเตอร์ ออกแสดง ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้บุคคลหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ ทางานเกี่ยวขอ้ งไดเ้ ขา้ ใจ โดยผา่ นทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) หน่วยแสดงผล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ หน่วยแสดงผลชวั่ คราว (Soft Copy) และ หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) 24

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) 1) หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) จอภาพ (Monitor) - จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube: CRT) - จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) - จอแอลอีดี (Light Emitting Diode: LED) 25

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) อปุ กรณ์ฉายภาพ (Projector) อุปกรณ์เสียง (Audio Device) ประกอบด้วยลาโพง (Speaker) และการ์ด เสียง (Sound Card) 26

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) 2) หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) - เคร่ืองพมิ พ์แบบกระทบ (Impact Printer) ใช้การตอกให้คาร์บอนบน ผ้าหมกึ ตดิ บนกระดาษตามรูปแบบทต่ี ้องการ ❑ เคร่ืองพมิ พอ์ กั ษร (Character Printer) ❑ เคร่ืองพิมพบ์ รรทดั (Line Printer) 27

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) เครื่องพมิ พ์ (Printer) - เครื่องพมิ พ์แบบไม่กระทบ (Nonimpact Printer) ❑ เครื่องพิมพเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) ❑ เคร่ืองพมิ พฉ์ ีดหมึก (Inkjet Printer) ❑ เคร่ืองพิมพค์ วามร้อน (Thermal Printer) 28

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit) เคร่ืองพลอตเตอร์ (Plotter) - พลอตเตอร์แบบระนาบ (Flatbed Plotter) - พลอตเตอร์แบบทรงกระบอก (Drum Plotter) - อเิ ลก็ โตรสแตติกพลอตเตอร์ (Electrostatic Plotter) 29

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) หน่วยความจาแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ หน่วยความจาหลัก และหน่วยความจาสารอง ซ่ึงมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ทา หน้าที่เก็บข้อมูล ชุดคาส่ังหรือโปรแกรม ไวส้ าหรับให้หน่วย ควบคุมใชง้ านเพื่ออ่านคาสงั่ หรือนาขอ้ มูลออกมา หรือใชเ้ ก็บผลที่ ไดจ้ ากการคานวณ เพือ่ ใชด้ าเนินงานในลาดบั ต่อไป โดยทวั่ ไปหน่วยความจาหลกั ท่ีเป็นที่รู้จกั กนั มี 2 ประเภท คือ แรม (RAM) รอม (ROM) 30

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) แรม (Random Access Memory: RAM) - เป็ นอุปกรณ์หรือแผงวงจรที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ - หน่วยความจาแรม บางคร้ังเรียกวา่ หน่วยความจาชวั่ คราว (Volatile) 31

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) รอม (Read-Only Memory: ROM) - เป็นหน่วยความจาที่บนั ทึกคาส่ังโปรแกรมเริ่มตน้ (Start-up) ของระบบ - คุณสมบตั ิเด่นของรอมคือ ขอ้ มูลและคาส่ังจะไม่ถูกลบหายไป ถึงแมว้ า่ จะปิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์ - ขอ้ มูลส่วนใหญ่จะถกู บนั ทึกมาจากโรงงานผผู้ ลิตเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 32

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) 2 ) ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ส า ร อ ง ( Secondary Memory) หน่วยความจาสารองใชเ้ ป็ นส่วนเพ่ิมความจาให้มี ขนาดใหญ่มากข้ึน ทางานติดต่อยกู่ บั ส่วนความจาหลกั หน่วยความจาสารองมีความจุมากและมีราคาถูก แต่ เรียกหาขอ้ มลู ไดช้ า้ กวา่ ส่วนความจาหลกั 33

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk) - เป็นอุปกรณ์ท่ีสาคญั ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีหนา้ ที่ในการเกบ็ ขอ้ มูล - ฮาร์ดดิสกม์ ีความจุมากกย็ ง่ิ สามารถบนั ทึกขอ้ มลู ลงไดม้ าก ๆ - อีกท้งั ยงั เป็นพ้ืนที่สาหรับติดต้งั ระบบปฏิบตั ิการ 34

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) ออฟตคิ อลดสิ ก์ (Optical Disk) - เป็นสื่อในการเกบ็ ขอ้ มูล - โดยใชล้ าแสงเลเซอร์ในการอ่านขอ้ มูลซ่ึงทามากจากแผ่นพลาสติกที่ เคลือบดว้ ยอะลูมิเนียม และอะคลีลิค ตวั อยา่ งของออฟติคอลดิสก์ ไดแ้ ก่ ❑ ซีดีรอม (CD-ROM ) ❑ ซีดีอาร์(CD-R) ❑ ซีดีอาร์ดบั บลิว (CD-RW) ❑ ดีวดี ีรอม (DVD-ROM) ❑ ดีวดี ีอาร์ดบั บลิว (DVD-RW) ❑ ดีวีดีแรม (DVD-RAM) 35

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory) หน่วยความจาแฟลช (Flash Memory) - เป็ นหน่วยความจาขนาดเลก็ ท่ีสามารถบนั ทึกขอ้ มูลลงไปไดโ้ ดยท่ีไม่ ตอ้ งใชแ้ บตเตอรี่ - ขอ้ มลู ไม่มีการสูญหายเมื่อปิ ดสวติ ซ์ - ใชก้ ระบวนการทางไฟฟ้ าในการบนั ทึกขอ้ มูลและมีตวั ควบคุมการอ่าน และเขียน 36

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่ วนประกอบของฮาร์ ดแวร์ ส่วนประกอบอน่ื ๆ แผงวงจรหลัก (Mainboard) เป็ นหัวใจสาคญั ท่ีสุดท่ีอยู่ ภายในเคร่ือง ทาหน้าท่ีเป็ นศูนยก์ ลางทาให้อุปกรณ์ต่างๆ ทางานร่วมกนั ได้ ตวั เครื่อง (Case) เพื่อประโยชน์ในการยึดอุปกรณ์ ต่าง ๆ ให้มีความมนั่ คง กะทดั รัด เคลื่อนยา้ ยได้ ขณะเดียวกนั ก็เพ่ือ ความปลอดภยั 37

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่ วนประกอบของฮาร์ ดแวร์ ส่วนประกอบอน่ื ๆ แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) ทาหนา้ ที่แปลงไฟฟ้ า กระแสสลบั ใหเ้ ป็นกระแสตรงเพ่ือจ่ายใหก้ บั อุปกรณ์อ่ืน เครื่องสารองไฟ (Uninterrupted Power Supply : UPS) เป็ นอุปกรณ์ ทาหนา้ ท่ีสารองไฟไวใ้ ชใ้ นกรณีไฟฟ้ าดบั หรือ หากกระแสไฟฟ้ าเกินหรือขาดไป 38

องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่ วนประกอบของฮาร์ ดแวร์ ส่วนประกอบอน่ื ๆ การ์ดแสดงผล (VGA Card) เป็นอุปกรณ์ท่ีมีหนา้ ท่ีหลกั ๆ คือ จะรับสัญญาณขอ้ มูลดิจิตอลมาจากหน่วยประมวลผลกลาง แลว้ จึงทาการแปลงสญั ญาณผา่ นทางตวั แปลงสญั ญาณภาพ การ์ดเสียง ( Sound Card) เป็ นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์ ที่ถูก สร้างข้ึนมาเพื่อใชร้ ่วมกบั คอมใหแ้ สดงผลออกมาเป็นเสียง การ์ดแลน (LAN Card) เป็ นการ์ดที่ทาหนา้ ท่ีรับส่งขอ้ มูล ผ่านสายนาสัญญาณเช่นสายเคเบิลหรื อผ่านคล่ืนวิทยุจาก คอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปยงั คอมพวิ เตอร์อีกเคร่ืองหน่ึง 39

ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสงั่ ท่ีถูกเขียน ข้ึนเพื่อสั่งให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็ นเหมือนตัวเช่ือม ระหวา่ งผใู้ ชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ประเภทของซอฟตแ์ วร์ สามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 40

ซอฟต์แวร์ (Software) 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ชุดของคาสง่ั ท่ีเขียนไวเ้ ป็นคาสง่ั สาเร็จรูป 41 ใกลช้ ิดกบั คอมพวิ เตอร์มากท่ีสุด เพื่อควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความ สะดวกใหก้ บั ผใู้ ชง้ าน ซอฟตแ์ วร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จกั กนั ดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux เป็ นตน้ รวมท้งั โปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนใน ภาษาระดบั สูง นอกจากน้ีโปรแกรมท่ีใช้ในการตรวจสอบระบบ เช่น Norton’s Utilities

ซอฟต์แวร์ (Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมที่ทาให้ คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผูใ้ ชต้ อ้ งการ ไม่ว่าจะดา้ นเอกสาร บญั ชี การ จดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นตน้ สามารถจาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คอื 1. ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน 2. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปหรือซอฟต์แวร์สำหรับงำนทวั่ ปป 42

ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1. ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซ่ึงเขียนข้ึนเพื่อการทางานเฉพาะอยา่ ง เช่น โปรแกรมการ ทาบญั ชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมการทาสินคา้ คงคลงั แต่ละโปรแกรมก็มกั จะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกนั ออกไป ตามความตอ้ งการ หรือกฎเกณฑข์ องแตล่ ะหน่วยงานท่ีใช้ สามารถดดั แปลงแกไ้ ขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ โปรแกรมได้ เพอื่ ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ 43

ซอฟต์แวร์ (Software) 44 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 2. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปหรือซอฟต์แวร์สำหรับงำนทว่ั ปป เป็นซอฟตแ์ วร์ท่ีมีความนิยมใชก้ นั สูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปเป็ นซอฟต์แวร์ท่ีบริษัทพฒั นาข้ึน แล้วนาออกมา จาหน่าย เพ่ือใหผ้ ใู้ ชง้ านซ้ือไปใชไ้ ดโ้ ดยตรง ซอฟตแ์ วร์สาเร็จรูปท่ีมีจาหน่ายในทอ้ งตลาดทวั่ ไป และเป็ นท่ีนิยมของ ผใู้ ช้ ไดแ้ ก่ 1. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word Processing Software) 2. ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (Spread Sheet Software) 3. ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล (Database Management Software) 4. ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software) 5. ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Software)

ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพวิ เตอร์ คือ ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยถูกนามาเขียนเป็ น ชุดคาส่ัง (Program) ให้เคร่ื องทางานตามคาส่ังของภาษาน้ัน ในปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชส้ าหรับเขียนโปรแกรมมีมากมายหลายภาษา ซ่ึงแต่ละภาษาจะ มีกฎเกณฑแ์ ละวธิ ีการเขียนโปรแกรมแตกต่างกนั ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 1. ภาษาระดบั ตา่ (Low Level Language) 2. ภาษาระดบั สูง (High Level Language) 3. ตวั แปลภาษา (Translator) 45

ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพวิ เตอร์ 1. ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language) - เป็นภาษาหรือคาสง่ั ท่ีใชใ้ นการสงั่ งานหรือติดต่อกบั เคร่ืองโดยตรง ภาษาเคร่ือง - ภาษาเคร่ืองจะประกอบดว้ ยรหสั ของเลขฐานสอง (Machine Language) - เทียบกบั ลกั ษณะของสญั ญาณทางไฟฟ้ าเขา้ กบั การทางานของเครื่อง - ภาษาเคร่ืองจะมีกฎเกณฑท์ างไวยากรณ์ค่อนขา้ งจากดั - โปรแกรมมีลกั ษณะค่อนขา้ งยงุ่ ยากซบั ซอ้ น - เป็นภาษาสญั ลกั ษณ์ ภาษาแอสแซมบลี - ใชส้ ญั ลกั ษณ์ขอ้ ความแทนกลุ่มของเลขฐานสอง (Assembly Language) - ผเู้ ขียนโปรแกรมตอ้ งจาความหมายสญั ลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนคาสง่ั ต่าง ๆ - ขอ้ ดี คือ การเขียนโปรแกรมเขียนง่ายกวา่ ภาษาเคร่ือง - ขอ้ เสีย คือ การเขียนโปรแกรมมีลกั ษณะคลา้ ยภาษาเคร่ือง 46

ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพวิ เตอร์ 2. ภาษาระดบั สูง (High Level Language) เป็นภาษาท่ีไดร้ ับการพฒั นา ใหส้ ามารถใชไ้ ดง้ ่ายและสะดวกยงิ่ ข้ึน การเขียนภาษาไม่ข้ึนกบั ฮาร์ดแวร์หรือลกั ษณะการทางานภายในของ เครื่องคอมพิวเตอร์ ผูเ้ ขียนโปรแกรมไม่จาเป็ นตอ้ งเขา้ ใจระบบการทางานภายในเคร่ือง มากนกั เพยี งแต่เขา้ ใจกฎเกณฑใ์ นกาเขียนแต่ละภาษาใหด้ ี ซ่ึงลกั ษณะคาสงั่ จะคลา้ ยกบั ภาษาองั กฤษ ภาษาระดบั สูงจึงเป็นที่นิยมใชก้ นั แพร่หลายในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ C, Basic , Java , Php , Pyton 47

ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. ตวั แปลภาษา (Translator) ตัวแปลภาษา มีหนา้ ท่ี แปลภาษาระดบั สูงที่มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั ภาษามนุษย์ ให้ เป็นภาษาเครื่อง นนั่ คือแปลโปรแกรมภาษาตน้ ฉบบั ใหอ้ ยใู่ นรูปของโปรแกรมเรียกใช้ งานที่คอมพิวเตอร์เขา้ ใจ สามารถทางานได้ แบ่งได้ 3 ประเภท ดงั นี้ 1. แอสแซมเบลอร์ (Assembler) เป็ นตวั แปลภาษาแอสแซมบลี ซ่ึงเป็ น ภาษาระดบั ต่าใหเ้ ป็นภาษาเคร่ือง 2. คอมไพเลอร์ (Compiler) ใชห้ ลกั การแปลโปรแกรมตน้ ฉบบั ท้งั โปรแกรมใหเ้ ป็นโปรแกรมเรียกใชง้ าน 3. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) แปลพร้อมกบั ทางานตามคาสั่งทีละ 48 คาสงั่ ตลอดท้งั โปรแกรม ทาใหแ้ กไ้ ขโปรแกรมไดง้ ่าย และรวดเร็ว

ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. ตวั แปลภาษา (Translator) ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอนิ เตอร์พรีเตอร์ คอมไพเลอร์ (Compiler) อนิ เตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) 1. แปลท้งั โปรแกรมแลว้ จึงทางานตามคาส่ังใน 1. แปลโปรแกรมทีละคาสงั่ และทางานตามคาสัง่ โปรแกรมน้นั น้นั ทนั ที 2. ใชเ้ น้ือที่ในหน่วยความจามาก 2. ใชเ้ น้ือท่ีหน่วยความจานอ้ ย 3. มีการสร้างโปรแกรมเรียกใชง้ าน (Execute 3. ไม่มีการสร้างโปรแกรมเรียกใชง้ าน (Execute Program) Program) 4. ถา้ โปรแกรมมีการทางานแบบวนซ้า เคร่ืองจะ 4. ถา้ โปรแกรมมีการทางานแบบวนซ้า จะตอ้ ง นาโปรแกรมเรียกใชง้ าน ไปใชง้ านไดเ้ ลยโดยไม่ แปลคาสง่ั ซ้าแลว้ ซ้าอีก ทาใหก้ ารทางานชา้ ตอ้ งแปลซ้า ทาใหท้ างานไดเ้ ร็วกวา่ 49

บุคลากร (People ware) บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานดา้ นคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีความรู้เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ สามารถใชง้ าน ส่ังงานเพ่ือ ใหค้ อมพิวเตอร์ทางานตามท่ีตอ้ งการ แบ่ง ออกได้ 4 ระดบั ดงั นี้ ผ้จู ัดกำรระบบ • ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตาม (System Manager) เป้ าหมายของหน่วยงาน นักวเิ ครำะห์ระบบ • ผู้ท่ีศึกษาระบบงานเดิมหรื องานใหม่และทาการ (System Analyst) วิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็ นไปได้ในการใช้ คอมพวิ เตอร์กบั ระบบงาน โปรแกรมเมอร์ (Programmer) • ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพ่ือให้ ทางานตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ ผ้ใู ช้ (User) • ผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอร์ทวั่ ไป ซ่ึงตอ้ งเรียนรู้วิธีการใชเ้ ครื่อง และวธิ ีการใชง้ านโปรแกรม 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook