Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore w_melon แตงโม

w_melon แตงโม

Description: w_melon แตงโม

Search

Read the Text Version

ก า ร ป ลู ก แ ต ง โ ม เฉลิมเกยี รติ โภคาวฒั นา, เกตอุ ร ราชบตุ ร ทม่ี า : เอกสารเผยแพรของกรมสงเสริมการเกษตร • คาํ นาํ • การปลูกแตงโม • ฤดปู ลกู • พันธุแตงโม • ดินและการเตรยี มดนิ • การดแู ลรกั ษา • วิธีชวยใหเ มลด็ แตงโมงอกเรว็ ขน้ึ • ปุยและการใหป ยุ แตงโม • วิธีการใสป ยุ ใหก บั ตน แตงโม • ปุยทใ่ี สเ สรมิ หลงั ปลกู • การใหน ้ําและการดแู ลรกั ษาแปลง • ประโยชนข องการคลมุ ดว ยฟาง • การจดั เถาแตงโม • การชวยผสมเกสรดว ยมอื (การตอ ดอก) • การปลดิ ผลทง้ิ • การเก็บผลแตงโม • โรคที่สาํ คญั คาํ นาํ • แมลงศตั รทู ส่ี ําคญั แตงโมเปนผกั ตระกลู แตง ที่คนไทยเรารูจักบริโภคกัน มานานแลว นอกจากนิยมใชผลรับประทานแลว สว นของผลออ นยอดออ น ยงั ใชใ นการปรงุ อาหารได หลายชนิด แตงโมเปนพชื ที่ปลกู งายสามารถปลกู ไดทว่ั ทุกภาคของประเทศไทยทกุ ฤดกู าลตลอดปแ ตงโม ปลูกไดในดินแทบทุกชนิดแตปลูกไดดีในสภาพดินรวนปนทราย ซ่ึงมีสภาพความเปนกรด เปนดาง ประมาณ 5.0 –7.5 มี การระบายนา้ํ ไดด ี เอกสารเผยแพรเรื่องนี้ นอกจากจะรวบรวมรายละเอียดที่จาํ เปน ในการปลกู แตงโม การดูแล รักษา ฯลฯ รวมทง้ั ใชพ ฒั นาการปลกู แตงโมใหไ ดผ ลผลติ ทม่ี ปี รมิ าณและคณุ ภาพทด่ี ยี ง่ิ ขน้ึ ได

การปลูกแตงโม 2 การปลกู แตงโม แตงโมเปนผักตระกลู แตง ทค่ี นไทยเรารจู กั บริโภคกันมานาน แลว นอกจากนิยมใชผลรับประทานแลว สว นของผลออ นยอดออ น ยัง ใชในการปรุงอาหารไดหลายชนิด แตงโมเปนพืชที่ปลูกงายสามารถ ปลูกไดทั่วทุกภาคของประเทศไทยทุกฤดูกาลตลอดปแตงโมปลูกไดใ น ดินแทบทุกชนิดแตปลูกไดดีในสภาพดนิ รวนปนทราย ซึ่งมีสภาพความ เปน กรดเปน ดา ง ประมาณ 5.0–7.5 มกี ารระบายนา้ํ ไดด ี ฤดปู ลกู เนื่องจากแตงโมจะขาดตลาดและมีราคาสูงในตอนกลางและปลายฤดูฝนเพราะวาในชวงดัง กลาวจะปลูกแตงโมไดยากลําบาก เน่ืองจากตนแตงโมไมชอบฝนชุกจะตายดวยโรคเถาเหี่ยวเปนสวน ใหญ และเกดิ โรคทางใบมาก ผลแตงโมจะเนา งา ยอกี ทง้ั รสชาตจิ ะไมห วานจดั เหมอื นแตงโมทป่ี ลกู ในฤดู แลง หรือในฤดูหนาว ฉะนน้ั จงึ ควรเรม่ิ ปลกู แตงโมตง้ั แตต น เดอื นพฤศจกิ ายนไปจนถงึ เดอื นมนี าคม และ เก็บเก่ียวครง้ั สดุ ทา ยในเดอื นมถิ นุ ายน ซึ่งยังเปนตนฤดูฝนอยู และมผี ตู อ งการบรโิ ภคแตงโมกนั มาก พันธุแตงโม ท่ีนยิ มปลกู มี 2 พนั ธุ คอื พันธุเบาที่รูจักกันโดยทั่วไป คอื พนั ธุ ชูการรเ บบี่ ผลกลมสเี ขยี วคลา้ํ อายุเก็บเกี่ยว 65 วัน นบั จากวนั งอก อีกพันธุหนึ่งไดแก พันธุหนัก คอื พนั ธชุ ารล สตนั เกรย ผลสเี ขยี วออ น มีลายที่ผิวผล ผลกลมยาวขนาดใหญ อายุ เก็บเกี่ยว 85 วัน นบั จากวนั งอก พันธุแตงโมเหลือง เปน พนั ธลุ กู ผสม เนอ้ื สเี หลอื ง ผลกลม สเี ขยี วออ นลายเขยี วเขม อายุเกบ็ เกยี่ วประมาณ 70-75 วัน ดนิ และการเตรยี มดนิ แตงโมเปนพืชที่หยั่งรากลึกมากกวา 120 เซนตเิ มตร และตอ งการดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ มคี วามชมุ ชื้นมากพอ ฉะน้ันถา มกี ารไถพรวนหรอื ขดุ ยอ ยดนิ ใหม หี นา ดนิ รว นโปรง และลกึ กจ็ ะชว ยปอ งกนั การขาด น้ําไดเปน อยา งดใี นระยะทต่ี น แตงโมกาํ ลงั เจรญิ เตบิ โต การเตรยี มดนิ ใหห นา ดนิ ลกึ รว นโปรง จะชวยทาํ ใหดินนั้นยึดและอุมความชื้นไดมากขึ้น และเปนทางเปดใหรากแตงโมแทรกตัวเองลึกลงไปใตดินซึ่งจะ ชวยใหรากหาอาหารและนํ้าไดกวางไกลย่ิงขึ้นและเปนการชวยทําใหพืชสามารถใชน้ําใตดินมาเปน ประโยชนไดอยางดีอีกดวย ถาจาํ เปน ตอ งปลกู แตงโมในหนา ฝนควรเลอื กปลกู ในดนิ ทม่ี กี ารระบายนา้ํ ดี คือเปนดินเบา หรอื ดนิ ทราย แตถ า มที ป่ี ลกู เปน ดนิ หนกั หรือ คอ นขา งหนกั ควรปลกู แตงโมในหนา แลง และขุดดนิ หรือไถดินใหลึกมากที่สุดจะเหมาะกวา

การปลูกแตงโม 3 การปลกู ใชเ มลด็ พนั ธชุ กู ารเ บบ้ี อตั รา 40-50 กรัม/ไร เมลด็ พนั ธชุ ารล สตนั เกรยแ ละพนั ธเุ หลอื อตั รา 250 – 500 กรัม/ไร โดยหยอดเปนหลมุ ใหแ ตล ะหลุมในแถวหา งกัน 90 เซนตเิ มตร สว นแถวของแตง น้ันควรใหหางจากกนั เทา กบั ความยาวของเถาแตงโม หรอื ประมาณ 2-3 เมตร ในดนิ ทรายขดุ หลมุ ใหม ี ความกวางยาวประมาณ 50 เซนตเิ มตร ลกึ ประมาณ 15 เซนตเิ มตร สว นในดนิ เหนยี วขดุ หลมุ ใหลกึ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใชป ยุ คอกทล่ี ะเอยี ดคลกุ เคลา กบั ดนิ บน ใสร องกน หลมุ ๆ ละ 4-5 ลติ ร เตรียมหลมุ ทง้ิ ไว 1 วัน แลว จงึ ลงมอื ปลกู หยอดหลุมละ 5 เมลด็ การดแู ลรกั ษา เม่ือหยอดเมลด็ แลว ตอ งรดนา้ํ ใหชุม เมอ่ื แตงโมขน้ึ มามใี บจรงิ 2-3 ใบ ถอนแยกใหเหลือหลุม ละ 2-3 ตน โดยคดั เลอื กเอาแตต น แขง็ แรงไว แตถ า ปลกู ใหต น หา งกนั 90 เซนตเิ มตร และแถวหางกัน 3 เมตรแลว กเ็ หลอื หลมุ ละ 3 ตน ได รวมแลว ในเนอ้ื ท่ี 1 ไร จะมตี น แตงโมอยปู ระมาณ 1,700 ตน วธิ ีชวยใหเมล็ดแตงโมงอกเร็วขึ้น สําหรับผทู ห่ี ยอดเมลด็ แตงโมในฤดหู นาว มกั จะพบวา แตงโมงอกชา หรอื ไมง อกเลย ทง้ั นเ้ี พราะ วา ถาอณุ หภมู ใิ นดนิ ปลกู ตา่ํ กวา 15.5 องศาเซลเซยี ส เมลด็ แตงโมจะไมง อกโดยธรรมชาติ ฉะนน้ั เพอ่ื ขจัดปญหาเมลด็ ไมง อกในฤดหู นาว ควรทาํ การหมุ เมลด็ โดยแชเ มลด็ แตงโมในนา้ํ อนุ ๆ ในบา น จะชวย ทําใหเมล็ดแตงโมงอกไดเ รว็ ขน้ึ และงอกไดอ ยา งสมา่ํ เสมอ เมอ่ื รากเรม่ิ โผลอ อกมาจากเมลด็ กเ็ อาไป เพาะในถุงหรอื กระทงใบตองได รอจนกลา มใี บจรงิ แลว 2-3 ใบ จึงนาํ ลงปลกู ในไร หรือหากไมสะดวก เพราะตองการประหยดั แรงงาน กอ็ าจนําเมลด็ ทง่ี อกนน้ั ไปปลกู ในแปลงไดเ ลย โดยหยอดลงในหลมุ แบบ เดียวกับหยอดเมลด็ ทย่ี งั ไมง อก แตต อ งใหน า้ํ ในหลมุ ทจ่ี ะหยอดลว งหนา ไว 1 วัน เพอ่ื ใหด นิ ในหลมุ ชน้ื พอเหมาะ หยอดเมลด็ ทง่ี อกแลว กลบดนิ ทบั หนา ไมเ กนิ 1 เซนตเิ มตร แลว รดน้าํ ตน แตงโมจะขน้ึ มา สมา่ํ เสมอกนั ทง้ั ไร ปุย และการใหป ยุ แตงโม ปุย คอก การใสปุย คอกใหแกแตงโมกม็ ีความสาํ คญั มาก เพราะปุยคอกชวยทาํ ใหดนิ รว นโปรง ชวยทาํ ใหด นิ มธี าตอุ าหารมากขน้ึ แลวยังชวยทาํ ใหป ยุ วทิ ยาศาสตรอ ยใู นสภาวะสมดลุ เปน ประโยชนต อ พืชมากขึ้นดวย ควรใสป ยุ คอกในพน้ื ทป่ี ลกู จรงิ อตั ราไรล ะ 2-4 ตน ปุยวิทยาศาสตรห รอื ปยุ เคมี ควรใชป ยุ เคมอี ตั ราสว น 1:1:2 ซึ่งไดแกปยุ เคมี สตู ร 10-10- 20 เปน ตน หรอื ใชป ยุ สตู รใกลเ คยี งได เชน ปุยสูตร 13-13-21 ใสใ นอตั ราไรล ะ 100-150 กิโลกรัม

การปลูกแตงโม 4 จะตัดสินใจใสปุยมากหรอื นอ ยกต็ อ งดคู วามอดุ มสมบรู ณข องดนิ และราคาแตงโมประกอบดว ย ปกติแล วจะใชปุยวิทยาศาสตรประมาณ 120-150 กก./ไร ตอ ฤดปู ลกู วิธีการใสป ยุ ใหก บั ตน แตงโม ผูปลูกแตงโมสว นใหญย งั นยิ มใสป ยุ เคมี ลงบนผวิ ดนิ โดยหวา น หรอื วางเปน กระจุกหนา ดนิ แลว รดนํ้าเพอ่ื ใหป ยุ ละลายนา้ํ ลงไปสรู ากแตงโม การใสป ยุ วธิ ดี งั กลา วน้ี เปนวิธีที่จะทาํ ใหเ ปลอื งปยุ มาก ราก พืชจะไดรับธาตุไนโตรเจนกับโปแตสเซียมจากปุยเคมีเทาน้ัน แตจะไมไ ดรับธาตฟุ อสฟอรสั จากปยุ เคมี น้ันเลย หรือไดรับก็ไดรับเพียงเล็กนอยเทานั้นเพราะตามปกติธาตุฟอสฟอรัสจะไมเคล่ือนยายจากผิว หนาดินลงไปสูรากแตงโมแตอยางใด ซึ่งธาตุฟอสฟอรัสน้ันก็เปนธาตุที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของ แตงโม มากพอสมควรทีเดยี ว ฉะน้ัน การใสปุย เคมี จงึ ควรใสไ วใ ตด นิ เปน กลมุ ๆ เชน ใสร องกน หลมุ กอ นปลกู หรือใสไ วใ ตผ ิว ดินหางจากโคนตนแตงโมสัก 1 ฟุต ใสเ ปน กลมุ แตงโมจะไดร บั ปยุ อยา งเตม็ ท่ี ตารางตอไปนี้เปนตารางการใสปุยใหกับตนแตงโม โดยแยกแมปุยเดี่ยวๆ ใสต ามความตอ งการ ตามธรรมชาตขิ องแตงโม ตาราง แสดงการใสป ยุ ตามความตอ งการธาตอุ าหารตามธรรมชาตขิ องแตงโม ปยุ ทใ่ี สเสริมภายหลังจากการเจริญเติบโต รวมปรมิ าณ ชนิดปุย ปยุ ใสรองพื้น ใสครั้งที่ 1 ใสครั้งที่ 2 ใสครั้งที่ 3 ปยุ ทง้ั หมด (กก./ไร) (กก./ไร) (กก./ไร) (กก./ไร) (กก./ไร) ปยุ คอกหรอื ปยุ หมกั 1,600 - 800 - 2,400 ปุยยูเรีย 12 4 ปยุ ทรปิ เปล ซปู เปอร 24 - 88 32 ฟอสเฟต ปุยโปแตสเซียม 16 - -- 24 คลอไรด - 12 28 การใสปุยตามตารางใชปุยขางบนนี้ เปนการใสปุยใหตนแตงโมตามระยะเวลาที่ตนแตงโม ตองการใช ซง่ึ จะพอเหมาะพอดี ไมม ากหรอื นอ ยเกนิ ไป

การปลูกแตงโม 5 ปุย ทใ่ี สเ สรมิ หลงั ปลกู ตองคํานึงถึงอยูเสมอวา รากแตงโมสว นใหญเ ดนิ ตามแนวนอนขนาดกบั ผวิ ดนิ และเถาของมนั ฉะน้ันการใสปุยหลงั ปลกู ควรใสท ป่ี ลายราก และตอ งไมใ สม ากจนปยุ เขม ขน เกนิ ไป และตอ งใหป ยุ อยใู น รูปท่คี อ ยๆ ละลายนา้ํ เพื่อใหรากดูดซบั เอาไปใชไ ดพอดี เวลาของการใสป ยุ เพม่ิ ภายหลงั ปลกู การใสป ยุ เสรมิ ครง้ั ท่ี 1 ใสแบบโรยรอบตนดวยยูเรีย ใสเ มอ่ื ตน แตงโมมใี บจรงิ ประมาณ 5 ใบ (ปุยยูเรียโรยที่ผิวดินได) การใสป ยุ เสรมิ ครง้ั ท่ี 2 ใสป ยุ ยูเรียดานขา งแถวของตน แตงโม ใสเ มอ่ื เถาแตงโมทอดยาวได ประมาณ 1 ฟุต ควร พรวนดนิ กอ นแลว จงึ ใสป ยุ แลว ปด คลมุ ดว ยฟาง การใสป ยุ เสรมิ ครง้ั ท่ี 3 ใสปุยยูเรียและโปแตสเซียมคลอไรด โดยใสด า นขา งแถวของตน แตง โม ใสเม่ือเถาแตงโมมคี วามยาวไดป ระมาณ 7 ฟุต หรอื ประมาณ 90 เซนตเิ มตร (ปยุ ทง้ั สองชนดิ นโ้ี รย บนผวิ ดนิ ได การใหน ้าํ และการดแู ลรกั ษาแปลง ตามธรรมชาติตนแตงโมตอ งการผวิ ดนิ ชมุ ชน้ื แตไมถึงกับแฉะ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ตอนทผ่ี ลแตง โมกําลังเจรญิ เตบิ โตเปน ตอนทต่ี น แตงโมตอ งการนา้ํ มาก การใหค วามชมุ ชน้ื แกด นิ ในแปลง ควรใหทั้ง แปลงเพื่อปองกันไมใหหนาดินแหงแข็งและจับปกซึ่งจะทาํ ใหด นิ ขาดอากาศออ กซเิ จน ถา ดนิ ขาดอากาศ เม่ือใด รากแตงโมจะไดร บั นา้ํ และธาตอุ าหารอยฦใู นขอบเขตทจ่ี ํากดั ไปดว ยดนิ ทข่ี าดนา้ํ แลว แหง แขง็ ทํา ใหขาดอากาศไปดว ยนน้ั คอื ดนิ เหนยี วและดนิ ทค่ี อ นขา งหนกั สว นดนิ ทรายและดนิ รว นทราย รากแตงโม จะไมขาดอากาศ แมว า จะขาดนา้ํ กต็ าม ดนิ รว นทรายและดนิ ทรายสามารถไถพรวนใหห นา ดนิ ลกึ มากๆ ได เพ่ือใหสามารถยดึ จบั ความชน้ื ทเ่ี ราใหไ วไ ดม ากขน้ึ สว นดนิ เหนยี วนน้ั ไมส ามารถไถพรวนใหล กึ เทา ดินทราย หรือดนิ รว นทรายได เพราะเนอ้ื ดนิ ทง้ั เหนยี วและแนน อมุ นา้ํ ไวใ นตวั ไดม ากกวา ดนิ ทราย แตก็ คายน้ําออกจากผวิ ดนิ ไดไ วมาก และดดู ซบั ความชน้ื ไดต น้ื กวา ดนิ ทราย หรอื ดนิ รว นทราย จงึ ทาํ ใหต อ ง ใหนํ้ากบั ตน แตงโมทป่ี ลกู ในดนิ เหนยี วมากกวา คอื ตอ งใหน ้าํ อยา งนอ ย 5 วนั ครง้ั หรอื รดนา้ํ ทกุ วนั ๆ ละ ครง้ั ประโยชนข องการคลมุ ดว ยฟาง เมื่อเถาแตงโมเจริญเติบโตไดระยะหนึ่ง เราควรจะปด คลมุ หนา ดนิ ดว ยฟาง การคลมุ ดนิ ดว ยฟาง จะมผี ล ดงั นค้ี อื : 1) ชวยรกั ษาความชมุ ชน้ื ในดนิ ใหค งอยไู ดน าน ทําใหร ากแตงโมดดู ซบั ธาตอุ าหารในดนิ ไดต ดิ ตอกนั โดยไมข าดตอน 2) ทําใหต น แตงโมเปน โรคทางใบนอ ยลง เพราะตน และเถาเลอ้ื ยอยบู นฟางไมไ ดส มั ผสั กบั ดนิ 3) ปองกนั ไมใ หด นิ รอ นจดั เกนิ ไป 4) เปน การรองผลทาํ ใหส ขี องผลสมา่ํ เสมอ

การปลูกแตงโม 6 5) ควบคมุ ไมใหห ญา ขึ้นและเจรญิ เตบิ โตมาแขงกับแตงโม เพราะแตงโมแพหญา มากเนือ่ งจาก หญาสวนใหญมีใบปรกดิน เถาแตงโมนน้ั ทอดนอนไปกบั ผวิ ดนิ หากหญา ขน้ึ คลมุ แตงโมเมอ่ื ใด หญาจะ บังใบแตงโมไมใหถูกแดดทําใหใบแตงโมปรุงอาหารไมไดเต็มที่ และจะออนแอลงทันทีในท่ีสุดจะตาย หมด ภายในเวลา 2-3 สัปดาห เทา นน้ั การจัดเถาแตงโม ถาปลอยใหเถาแตงโมเล้ือยและแตกแขนงไปตามธรรมชาติ เถาแตงของแตล ะตน กจ็ ะเลอ้ื ยทบั กัน และซอนกนั จนหนาแนน ทําใหผ ลผลติ ลดนอยลง สบื เนอ่ื งมาจากแมลงชว ยผสมเกสรไดไ มท ว่ั ถงึ เพราะไมอาจแทรกหาดอกไดทั้งหมด ฉะนน้ั เมอ่ื เถาแตงโมเจรญิ เตบิ โตไปจนมคี วามยาว 1-2 ฟุต ควร ไดมีการจัดเถาใหเ ลอ้ื ยไปในทางเดยี วกนั และตดั เถาใหเ หลอื ไวต น ละ 4 เถา เถาทเ่ี ปน เหลา นน้ั ออก ให คงเหลือไวตนละ 4 เถา ซง่ึ เปน เถาทส่ี มบรู ณท ส่ี ดุ ไวต ามเดมิ การชว ยผสมเกสรดว ยมอื (การตอ ดอก) ผูปลูกแตงโม มกั ประสบปญ หาแตงโมไมต ดิ ผลเนอ่ื งจากไมม แี มลงชว ยผสม เพราะใชส ารฆา แมลงฉีดพนตน แตงโมมากไปและไมเ ลอื กเวลาฉดี ทาํ ใหแมลงที่ชวยผสมเกสรเชน ผึ้ง ถกู สารฆา แมลง ตายหมด จึงเกิดปญหาไมมีผึ้งชวยผสมเกสร จึงตอ งใชค นผสมแทน เราสามารถผสมพนั ธแุ ตงโมไดต ง้ั แตเ วลา 06.00 น. ถงึ 10.00 น. หลงั จากเวลา 10.00 น.ไปแลว ดอกตวั เมยี จะหุบและไมยอมรับการ ผสมเกสรอีกตอไป การผสมดว ยมอื ทําไดโ ดยเดด็ ดอกตวั ผทู บ่ี านมาปลดิ กลบี ดอกสเี หลอื งของดอกตวั ผู ออกเสียกอน จะเหลอื แตอ บั เรณู ซง่ึ มลี ะอองเกสรตวั ผเู กาะอยทู ว่ั ไป จากนั้นจึงควาํ่ ดอกตวั ผลู งบนดอก ตัวเมียใหอับเรณขู องดอกตวั ผู แตะสมั ผสั กับเกสรตัวเมียโดยรอบ ใหล ะอองเกสรตวั ผสู เี หลอื งจบั อยบู น เกสรตัวเมียทว่ั กนั ทง้ั ดอก กเ็ ปน อนั เสรจ็ สน้ิ การผสมซง่ึ วธิ นี ช้ี าวบา นเรยี กวา “การตอ ดอก”

การปลูกแตงโม 7 การตอ ดอกโดยเดด็ ดอกตวั ผทู ก่ี าํ ลังบาน นาํ ดอกตัวผทู ป่ี ลดิ กลีบดอกออก แลว ปลิดกลีบดอกสีเหลืองออกใหหมด แลว ควา่ํ ลงบนดอกตัวเมีย การปลดิ ผลทง้ิ แตงโมผลแรกที่เกิดจากเถาหลัก สวนใหญมี ขนาดเล็กและคุณภาพตํ่าเราควรปลิดท้ิงตั้งแตล ูกยังเล็กๆ และแตงท่มี ลี ักษณะผลบิดเบี้ยวกค็ วรปลดิ ทิง้ ดวย ขนาดที่ ปลิดท้ิงไมค วรปลอ ยใหโ ตเกนิ ลกู ปง ปอง หรอื ผลฝรง่ั แตง ที่ปลิดทิ้งน้ีสามารถขายเปนผลแตงออนได และตลาดยัง นิยมอีกดว ย ควรเลย้ี งตน แตงโมไวเ ถาละลกู จะดที ส่ี ดุ เถา แตงโมเถาหนึ่งๆ อาจตดิ เปน ผลไดห ลายผล ใหเลือกผลที่ มีกานข้ัวผลขนาดใหญแ ละรปู ทรงผลไดร ปู สม่ําเสมอทง้ั ผลไว ซึ่งจะทาํ ใหผ ลแตงโมมขี นาดใหญแ ละมคี ณุ ภาพสูงเพราะ ขนาดกา นขว้ั ผลมคี วามสมั พนั ธก บั ขนาดของผล ถา กานขั้วผลใหญ ผลก็จะใหญ ถา กา นขว้ั ผลเลก็ กจ็ ะเลก็ การปฏิบตั ิตอ ผลแตงโมภายหลงั ผสมติดเปน ผลแลว ดอกตัวเมียของแตงโม ทไ่ี ดร บั การผสมเกสรอยา งสมบรู ณก จ็ ะเจรญิ เตบิ โตอยา งสมา่ํ เสมอตดิ ตอ กันไปวันตอวัน เมอ่ื ผลแตงโมมขี นาดเทา กบั กะลามะพรา ว ควรเอาฟางรองใตผ ล เพื่อไมใหผิวผลสัมผัส ฟางถูกแสงแดดกอ นเก็บเกีย่ ว 10 วัน เพอ่ื ใหผ ลแตงมสี สี ม่ําเสมอทั่วทั้งผล จะทาํ ใหแ ตงโมมรี สหวาน มากขน้ึ อกี การเก็บผลแตงโม แตงโมเปนพืชชนิดหนึ่ง ทผ่ี ลแกแ ลว ไมแ สดงอาการวา สกุ งอกใหเ หน็ เหมอื นผลมะเขอื เทศ หรือ พริก ซ่ึงจะเปลย่ี นสเี ปน สแี ดง หรอื ไมเ หมอื นกบั ผลมะมว ง ซง่ึ ทง้ั เปลย่ี นสแี ลว ยงั มกี ลน่ิ หอมดว ย ฉะนน้ั การดูวาแตงโมแกเก็บไดหรือยัง จงึ ตอ งพถิ พี ถิ นั มากกวา ปกตอิ กี เลก็ นอ ยคอื 1) คาดคะเนการแกข องผลแตงโมดว ยการนบั อายุ ซ่ึงข้ึนอยกู บั พนั ธขุ องแตงโม และอุณหภูมิ ของอากาศ

การปลูกแตงโม 8 1.1 แตงโมพนั ธเุ บา(ชกู ารเบบ้ี ผลกลมสเี ขยี วคลา้ํ )จะแกเก็บไดภายหลังดอกบาน ประมาณ 35-42 วัน 1.2 แตงโมพันธุหนัก (ชารล สตนั เกรยผลยาวสเี ขยี วออ นมลี าย) จะแกเก็บไดภายหลังดอก บานประมาณ 42-45 วัน 2) คาดคะเนการแกข องผล ดวยการดูลักษณะที่พบไดทั่วไปเมื่อแตงโมแก 2.1 มือเกาะทอ่ี ยใู กลก บั ขว้ั ของผลมากทส่ี ดุ เปลย่ี นเปน สเี หลอื งและแหง เปน บางสว นจากปลาย มาหาโคน 2.2 วัดความแกอ อ นของผลแตงโมไดจ ากการดดี ฟง เสยี ง หรือตบผลเบาๆ ฟง เสยี งดถู า มเี สยี ง ผสมกนั ระหวา งเสยี กงั วานและเสยี งทบึ แตงจะแกพอด(ี แก 75%) มีเน้ือเปน ทรายถา ดดี แลว เปน เสยี ง กังวานใส แสดงวาแตงยังออนอยู ถา ดดี แลว เสยี งทบึ เหมอื นมลี มอยขู า งใน แตงจะแกจัดเกินไปที่ชาว บานเรียกวา “ไสล ม ” (แตว ธิ นี ใ้ี ชไ มไ ดก บั ผลแตงทเ่ี ปน โรคเถาตาย) ควรเกบ็ ผลตอนบา ยไมค วรเกบ็ ผล ตอนเชาเพราะจะทาํ ใหผลแตงแตกได 2.3 สังเกตนวลของผล ถา จางลงกวา ปกตแิ สดงวา แตงเรม่ิ แก โรคทส่ี ําคญั 1. โรคเถาเหย่ี ว (ที่เกิดจากเชื้อราฟวซาเรียม) แตงโมทเ่ี ปน โรคนส้ี ใี บจะซดี ใบและเถาจะเหี่ยว จริงบริเวณโคนเถาทใ่ี กลก บั ดนิ จะแตกตามยาวและมีนาํ้ เมอื กซมึ ออกมา เมอ่ื ผา ไสก ลางถาดจู ะเหน็ ภาย ในเปนสีน้ําตาล โรคนจ้ี ะระบาดมากในชว งแตงโมออกดอก การปลกู ซ้ําที่เดิม โรคนจ้ี ะระบาดรนุ แรงมาก สาเหตุ 1. เชื้อรานี้เจรญิ และทาํ ลายแตงโมไดดีที่อุณหภูมิระหวาง 24-28 องศาเซลเซยี ส 2. ขณะแตงกําลงั เจรญิ เตบิ โตมฝี นตกตดิ ตอ กนั ยาวนาน 3. ดินมีธาตไุ นโตรเจนอยสู งู แตม ธี าตฟุ อสฟอรสั (P2O5) และโปแตสเซี่ยม (K2O) อยตู า่ํ 4. ดินเปน กรดจัด การปอ งกนั 1. อยา ปลกู แตงโมซา้ํ ที่เดิม 2. เรม่ิ คลกุ เมลด็ พนั ธดุ ว ยสารเคมไี ดเทนเอม็ – 45 อตั รา 15 กรัม ตอ เมลด็ พนั ธุ 1 กิโลกรัม กอ นนําไปปลกู 2. ใชปูนขาวใสด นิ เพอ่ื แกค วามเปน กรดของดนิ ในอตั ราไรล ะ 500 กิโลกรัม 3. ใชส ารเคมไี ดเทน ทม่ี คี วามเขม ขน 1 : 5 ฉดี ที่ ตนพืชจะชวยทําใหเ ชอ้ื โรคชะงกั ลง 4. สารเคมกี ลมุ พซี เี อน็ บี เชน เทอราคลอร ในอตั รา 60 ซีซ.ี ผสมน้ํา 20 ลติ ร ราดลงในหลมุ แตงโมที่เกิดโรคและบริเวณขางเคียงทุก 7 วัน 2. โรคเถาเหย่ี ว (ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย) ลกั ษณะทม่ี องเหน็ ในครง้ั แรก คอื ใบในเถาจะเหี่ยว ลงทีละใบ การเหี่ยวจะเหี่ยวจากปลายเถามาหาโคนเถาหนึ่ง เมอ่ื เห่ียวมาถงึ โคนเถาก็จะเห่ียวพรอมกนั หมดทั้งตน แตใบยังคงเขียวอยู และพืชตายในทันทีท่ีพืชเห่ียวท้ังตนสาเหตุของการเห่ียวก็คือเช้ือ แบคทีเรียไปอุดทอสงนํ้าเล้ียงในตนแตงโม ถา เอามดี เฉอื นเถาตามยาวดจู ะเหน็ วา กลางลาํ ตน ในเถาฉา่ํ

การปลูกแตงโม 9 น้ํามากกวาปกติเช้ือแบคทีเรียนอ้ี าศยั อยใู นตวั ของแมลงเตา แตงตน แตงโมไดร บั เชอ้ื โรคจากการกดั กนิ ใบ ของแมลงเตาแตงนี้ เมื่อเช้ือแบคทีเรียเขาสูตนแตงโมทางแผลที่แมลงเตากัดกิน ก็จะเพิ่มปริมาณขึ้น อยางรวดเรว็ แลว ก็กระจายตัวเขาสทู อนาํ้ และอาหารของแตงโม เราอาจปอ งกนั กนั และรกั ษาไดโ ดยฉดี สารเคมเี ซวิน 85 ปอ งกนั แมลงเตา แตงและใชย าปฏชิ วี นะสเตรปโตมยั ซนิ เชน อะกริมัยซิน ฉีดพนทุก สัปดาห ใชอ ตั ราสว นผสมตามทแ่ี จง ไวใ นซองบรรจสุ ารเคมที จ่ี าํ หนา ย เมอ่ื พบวา ตน แตงโมบางสว นเรม่ิ เปนโรคน้ี สารเคมนี ช้ี ว ยรกั ษาและปอ งกนั ได แตม ขี อ เสยี คอื เสอ่ื มคณุ ภาพเรว็ จงึ ตอ งซอ้ื แตส ารเคมใี หม ใชเ ทา นน้ั ถา สารเคมอี ะกรมิ ัยซนิ เกาเกิน 1 ป ขน้ึ ไป จะฉีดไมไดผล 3. โรครานํ้าคา ง ลักษณะท่ีมองเหน็ ได คอื เกดิ จดุ สเี หลอื งบนหลงั ใบ และขยายตัวใหญขึ้น จํานวนจุดสีเหลอื งเพม่ิ ปรมิ าณมากขน้ึ และใตใ บตรงตาํ แหนงเดียวกัน จะมกี ลมุ ของเชอ้ื ราสมี ว งอมเทา เกาะกลุมอยู เชอ้ื โรคนเ้ี จรญิ ไดอ ยา งรวดเรว็ เมอ่ื อากาศอนุ และชมุ ชน้ื เมื่อใบแกตายเชื้อก็จะไปทาํ ลาย ใบออนตอ ไป เมอ่ื ใบแหง ไปหมดแลว ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ มากค็ อื แตงตดิ ผลนอ ยคุณภาพผลแกกต็ ํ่าดว ย สปอร ของเชื้อรานี้แพรระบาดไปโดยลมและโดยแมลงพวกเตาแตง สารเคมที ใ่ี ชฉ ดี พน ไดผ ลดี คอื แคปแทน ไซ เนบ็ มาเน็บ ชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ อตั ราผสมใช 1 กรัม ผสมน้ํา 500 ซีซ.ี (หรอื ครง่ึ ลติ ร) หรือ 35-40 กรัม ผสมน้ํา 20 ลติ ร (1 ปบ) แมลงศตั รทู ส่ี าํ คญั 1. เพลย้ี ไฟ เปนแมลงชนดิ หนง่ึ ทม่ี ตี วั ขนาดเลก็ มากตวั ออ นจะมสี แี สด ตัวแกจะเปนสีดาํ มขี นาด เทาปลายเขม็ จะดดู นา้ํ เลย้ี งทย่ี อดออ นของแตงโม และใตใ บออ นของแตงโม มผี ลทาํ ใหใบแตงโมไมข ยาย ยอดหดส้ันลง ปลอ งถ่ี ยอดชตู ง้ั ขน้ึ ชาวบานเรียก โรคนว้ี า โรคยอดตง้ั บางแหงกเ็ รยี ก โรคไอโ ตง เพลี้ยไฟ จะบินไปเปนฝงู มลี กั ษณะเลก็ ละเอยี ด คลายฝุน สภาพฤดแู ลง ความชน้ื ในอากาศตา่ํ ลมจะ ชวยพัดพาเพลี้ยใหเคลื่อนที่เขาทําลายพืชผลในไร ไดรวดเร็วขึ้นในพืชผักท่ีปลูกดวยกันเชน ฟกทอง แตงโม แฟง ฟก ในไรข องเกษตรกรถกู เพลย้ี ไฟ ทําลายเสียหายหนัก มีมะระพืชเดียวท่ีสามารถ เพลย้ี ไฟทาํ ใหแ ตงโมใบหงกิ และยอดตง้ั (ไอโ ตง ) ตานทานเพลี้ยไฟได และเมื่อสวนใดสวนหน่ึงฉีด พนยา เพล้ียไฟจะหนเี ขา มายงั สวนขา งเคยี งทไ่ี มไ ดฉ ดี สารเคมี การปอ งกนั และกาํ จดั ใชส ารเคมหี ลาย ชนิด เชน แลนเนท ไรเนต เมซูโรล หรือ อาจปลกู พืชเปนกนั ชน เชน ปลกู มะระจนี ลอ มทไ่ี วส กั 2 ชั้น แลวภายในจึงปลูกแตงโม เพราะมะระขน้ึ คา งจะชว ยปะทะการแพรร ะบาดของเพลย้ี ไฟใหล ดลงได และ มะระที่โดนเพลี้ยไฟเขาทาํ ลายจะตา นทานได และเสียหายเพียงเล็กนอยเทานั้น 2. เตา แตง เปนแมลงปก แขง็ ชนดิ หนง่ึ ทช่ี อบกดั กนิ ใบแตงขณะยงั ออ นอยู ลกั ษณะตวั ยาว ประมาณ 1 เซนติเมตร ปก สเี หลอื งปนสม จะกดั กนิ ใบแตงขาดเปน วงๆ ตามปกตเิ ตา แตงลงกนิ ใบออ น ตนแตงโมหรือพืชพวกฟก แฟง แตงกวาอน่ื ๆ มักจะไมทําความเสียหายใหกับพืชมากนัก แตจะเปนพาหะ นําเช้ือโรคเถาเห่ียวของแตงโมซ่ึงเกิดจากเชอ้ื แบคทเี รยี มาสแู ตงโมของเราจงึ ตอ งปอ งกนั กาํ จัดโดยฉีดพน

การปลูกแตงโม 10 ดว ยสารเคมี เซวิน 85 ในอตั รา 20-30 กรัม ผสมน้ํา 20 ลติ ร ฉดี ในระยะทอดยอด ฉดี คลมุ ไวก อ น สัปดาหละครั้งโดยไมตองรอใหแมลงเตาแตงลงมากินเสียกอนแลวคอยฉีดในภายหลัง ซึ่งจะทาํ ใหป อ ง กันโรคเถาเหย่ี วของแตงโมไมท นั 3. แมลงวันแตง เขาทาํ ลายตง้ั แตร ะยะตดิ ดอกถงึ เกบ็ เกย่ี ว ใชพอสซ หรือ อโซดรนิ ฉีดพน จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook