Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thai Food For Health อาหารไทยเพื่อสุขภาพ

Thai Food For Health อาหารไทยเพื่อสุขภาพ

Description: Thai Food For Health อาหารไทยเพื่อสุขภาพ

Search

Read the Text Version

❖ มะเขือเทศ (Tomato) • เป็นแหลง่ วติ ามนิ ซี วติ ามนิ เค แรธ่ าตุโพแทสเซยี ม สารอาหารในมะเขอื เทศทไ่ี ด้รบั ความสนใจ คอื สารไลโคปีน l) เป็นสารในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) มสี รรพคุณต้าน อนุมูลอสิ ระ (antioxidants) ชว่ ยป้องกันการเสอ่ื มสภาพของ เซลล์ในรา่ งกาย • สารไลโคปีนมปี ระสทิ ธภิ าพเหนือวา่ สารเบต้าเคโรทนี และ สารในกลุ่มแ คโร-ทีนอย ด์อ่ืนๆ ในก ารยับยั้งกา ร เจรญิ เตบิ โตของเซลลม์ ะเรง็ และยงั พบอกี ว่าสามารถช่วย ลดโอกาสความเสย่ี งการเป็นมะเรง็ ในตอ่ มลกู หมากได้มาก ถงึ รอ้ ยละ 21 สารไลโคปีนน้ีจะพบมากในมะเขอื เทศแดง สดแตงโม และฝรงั่ ขน้ี กทม่ี เี น้อื สชี มพอู มแดง

❖ กล้วย (Banana) • กลว้ ยเป็นผลไมท้ ม่ี สี รรพคุณมากมาย แก้อาการอาหารไม่ย่อยใน เดก็ กลว้ ยสกุ ยอ่ ยไดง้ ่าย และไม่ทาใหเ้ กดิ อาการแพ้ • เป็นแหลง่ ท่อี ดุ มไปดว้ ยโพแทสเซยี ม ซง่ึ เป็นแรธ่ าตทุ ่ี จา เป็ นต่อ การทางานของกลา้ มเนื้อและประสาท • ชว่ ยควบคุมความดนั โลหติ กลว้ ยสดหรอื ตากแหง้ จะมนี ้าตาลธรรมชาตอิ ยมู่ ากซ่งึ น้าตาลเหล่านี้จะ ช่วยหมุนเวียนในกระแสโลหิตได้เรว็ ดงั นนั้ นกั กีฬาจานวนมากมกั รบั ประทานกลว้ ยก่อนการแขง่ ขนั หรอื ระหวา่ งการแข่งขนั กลว้ ยดิบจะ มแี ป้งชนิดท่ไี ม่สามารถยอ่ ยไดใ้ นลาไสเ้ ลก็ แต่ไปสลายตวั ในลาไส้ใหญ่ จงึ ทาใหเ้ กดิ ลมในทอ้ งได้

❖ ทบั ทิม (Pomegranate) • จดั เป็นผลไมม้ หศั จรรย์ (super fruit) • มสี ารตา้ นอนุมูลอสิ ระท่มี ีประสทิ ธภิ าพสูงหลายชนิด ช่วยป้องกนั มะเรง็ โดยเฉพาะมะเรง็ ตอ่ มลกู หมาก • มีวิตามนิ ซสี ูงมากถึงร้อยละ 40 ต่อน้าทับทิม 1 แก้ว และยงั มี วติ ามนิ เอ อี และกรดโฟลกิ • ช่วยลดการสะสมไขมนั ในเสน้ เลอื ก ป้องกนั หลอดเลอื ดอุดตัน เพม่ิ การไหลเวยี นโลหติ ชว่ ยฟอกโลหติ ขจดั สารพษิ ป้องกนั โรคโลหิต จางบารุงตบั ป้องกนั อาการตบั เป็นพษิ ตาราแพทยแ์ ผนจีนถือว่า เป็นผลไมม้ ฤี ทธเิ์ยน็ • ช่วยปรบั สมดุลในร่างกาย แก้กระหาย ลดกลน่ิ ปาก ลดไข้ และ บารุงสายตา

❖ ฟักทอง (Pumpkin) • ฟักทองไขมันต่า ไฟเบอร์สูง เบต้าแคโรทีน วติ ามนิ เอสงู มแี คลเซยี มและวติ ามนิ ซี • ช่วยเสริมสร้างคอลลาเจนใต้ผวิ หนัง และช่วย ควบคมุ ระดบั น้าตาลในเลอื ด • ใบอ่อน มีวิตามินเอสูงเท่ากับเน้ือฟั กทอ ง มี แคลเซยี มและฟอสฟอรสั สงู กวา่ ในเน้ือ • ดอก มวี ิตามินเอ แคลเซียมและฟอสฟอรัส มี วติ ามนิ ซเี ลก็ น้อย • เมลด็ มนี ้ามนั แป้ง ฟอสฟอรสั โปรตนี และวติ ามนิ ช่วยขับพยาธิตัวตืด ขับปัสสาวะ และบารุ ง รา่ งกาย แก้ไอ • น้ามนั จากเมลด็ บารุงประสาท • เยอ่ื กลางผลพอกแกฟ้ กชา้ แกป้ วดอกั เสบ

❖ กระเทียม (Garlic) • มีรายงานว่ากระเทียมสามารถลดระดบั ไขมนั ในเลือด ลด ความดนั โลหติ และความหนืดของพลาสมา ยบั ยงั้ การจบั เกาะของเกรด็ เลอื ด • กระเทียมมีสารประกอบกามะถนั มาก สารประกอบใน ก ร ะ เ ทีย ม ส ด ท่ีพ บ ม า ก ไ ด้แ ก่ Allin,methylcysteine sulfoxide และ r-guutamyl-s-trans-I-propenyl cysteine • Allin เป็นสารประกอบกามะถนั ทส่ี าคญั ทส่ี ดุ และมี เอนไซม์ Allicinase อยภู่ ายใน • เม่ือกระเทียมสด ถูกบดหรือผ่านกระบวนการแปรรูป allicinase จะถูกปลดปล่อยออกมาเปล่ยี น allin เป็น allicin ซง่ึ เช่อื กนั วา่ เป็นสารออกฤทธทิ์ ส่ี าคญั ทส่ี ุดของกระเทยี ม • allin เป็นสารไม่มกี ลน่ิ ส่วน allicin ทาให้กระเทียมมีกลิ่น รนุ แรงจาเพาะ • เราควรรบั ประทานกระเทียมสด วนั ละประมาณ 1.5-3.0 กรมั หากเป็นกระเทยี มสดในรูปของอาหารควรรบั ประทาน ปรมิ าณ 5-15 กรมั /วนั

❖ ใบบวั บก (Gotu kola/Centella) • ปัจจุบนั ใบบวั บก ถอื วา่ เป็นสมุนไพรยอดนิยมของชาวตะวนั ตก ในเร่ืองของป ระสิทธิภาพการผ่อนค ลาย และช่วยเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพของความจาได้ • มกี ารค้นพบว่า ใบบวั บกจะให้สารไกลโคไซด์ (Glycosides) ห ลา ยช นิด ท่ีใ ห้ผ ลต้า น กา รเกิดป ฏิกิริย า อ อ ก ซิเ ดชัน่ (Antioxidation) ซ่ึงส่งผลให้การลดความเส่ือมของเซลล์ และ อวยั วะตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ • สามารถช่วยเร่งการสรา้ งสารคอลลาเจนท่เี ป็นโครงสร้างของผิว จงึ ถกู นามาใชป้ ระโยชนใ์ นการกระตุน้ ให้แผลสมานตวั ไดเ้ ร็วขน้ึ ปัจจบุ นั ใบบวั บก ถอื วา่ เป็นสมุนไพรยอดนิยมของชาวตะวนั ตก ในเร่ืองของป ระสิทธิภาพก ารผ่อนค ลาย และช่วยเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพของความจาได้ • มกี ารค้นพบว่า ใบบัวบกจะให้สารไกลโคไซด์ (Glycosides) ห ลา ยช นิด ท่ีใ ห้ผ ลต้า น กา รเกิดป ฏิกิริย า อ อ ก ซิเ ดชัน่ (Antioxidation)ซ่ึงส่งผลให้การลดความเส่ือมของเซลล์ และ อวยั วะตา่ ง ๆ ของรา่ งกายได้ • สามารถช่วยเร่งการสรา้ งสารคอลลาเจนท่เี ป็นโครงสรา้ งของผิว จงึ ถกู นามาใชป้ ระโยชน์ในการกระตนุ้ ใหแ้ ผลสมานตวั ไดเ้ รว็ ขน้ึ

❖ บกุ (Conjac) • บุกเป็นพชื พื้นเมอื งของไทย มกั ขน้ึ ในท่ชี น้ื ลาต้นมลี ายขาวๆ มี หนามเลก็ ๆ มยี างซง่ึ หากถกู แลว้ จะคนั • หวั บุกมขี นาดใหญ่ เน้อื มสี ขี าวอมเหลอื ง ละเอยี ดเป็นเมือกล่นื • เรากนิ บุกกนั ทงั้ ใบและหวั • หวั บกุ มแี ป้งประมาณรอ้ ยละ 67 มโี ปรตนี รอ้ ยละ 5-6 สารแป้งท่อี ยู่ ในหวั บุกเรยี กว่า แมนแนน (mannan) เม่อื สารน้ีถูกทาให้แตก ตวั จะได้กลูโคสกบั แมนโนส หรือท่เี รียกกนั ว่า กลูโคแมนแนน (glucomannan)ซ่ึงมีคุณ สม บัติในการพ องตัวแ ละอุ้มน้ าไ ด้ มาก และยงั ช่วยลดการดดู ซมึ ของน้าตาลกลูโคสในระบบทางเดิน อาหาร ช่วยลดระดบั โคเลสเตอรอล และน้าตาลในเลอื ด • จากการวจิ ยั พบว่าแมนโนสท่ผี า่ นกระบวนการย่อยในร่างกายจะ ถกู ดูดซมึ ชา้ กว่ากลูโคส ทาใหน้ ้าตาลในเลอื ดเพมิ่ ขน้ึ ชา้ จงึ นิยมให้ ผทู้ ่เี ป็นโรคเบาหวานรบั ประทาน • นอกจากนีย้ งั มกี ารนาหวั บุกไปทาเป็นผลติ ภณั ฑส์ าหรบั ลดน้าหนกั อกี ดว้ ย

เครอื่ งดืม่ เพอ่ื สขุ ภาพ ประเภทของอาหารเพ่อื สขุ ภาพทค่ี นไทยนยิ มกนั มากกค็ อื เคร่อื งด่มื โดยท่ใี นแต่ละปีไดม้ กี ารแขง่ ขนั กนั มากขน้ึ เหน็ ไดจ้ ากความ หลากหลายของประเภทเคร่อื งด่มื ท่มี ใี หเ้ ลอื กมากมาย

❖ น้าผกั ผลไม้ • การดม่ื น้าผกั ผลไมส้ ดกลายเป็นสว่ นสาคญั ของกระบวนการ ธรรมชาติบาบัด ไม่ว่าจะเพ่อื การรกั ษาอาการเจบ็ ป่ วย เลก็ น้อย โรคทร่ี กั ษายาก หรอื โรคเรอ้ื รงั • น้าผกั ผลไมส้ ดเป็นอกี ทางเลอื กหนงึ่ ทก่ี าลงั ไดร้ บั ความสนใจ เป็นอย่างมาก เพราะไมเ่ พียงแต่จะช่วยทาให้มสี ุขภาพดี เทา่ นนั้ แตย่ งั ชว่ ยทาใหร้ า่ งกายสดชน่ื ขน้ึ อกี ดว้ ย เน่ืองจาก น้าผกั ผลไมอ้ ุดมไปด้วยสารอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ในการบารุง สขุ ภาพ และชว่ ยรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ต่างๆ • วธิ กี ารทาน้าผกั ผลไม้ คอื การทาให้น้าและกากแยกออก จากกนั เรยี กวา่ การคนั้ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการคนั้ กค็ อื กาก ในผกผลไมท้ ยี่ อ่ ยไมไ่ ดจ้ ะถูกแยกออกไป เหลอื เพยี งแตน่ ้าท่ี มแี ต่สารอาหารล้วนๆ จงึ มคี วามเขม้ ขน้ กวา่ การรบั ประทาน สดด้วยวธิ ปี กติ

ประโยชน์ของน้าผกั ผลไม้ • น้าผกั ผลไมอ้ ุดมไปดว้ ยวติ ามนิ และแร่ธาตหุ ลายชนิด การด่มื น้าผกั ผลไมเ้ ป็นประจาจะช่วยทาใหร้ า่ งกายแขง็ แรงมีอายยุ นื ยาว เพราะ ช่วยบารงุ สุขภาพและช่วยป้องกนั และรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ตา่ งๆ • ผกั ผลไมแ้ ตล่ ะชนดิ ลว้ นมสี ารตา้ นอนุมูลอสิ ระท่เี ป็นตวั ชว่ ยป้องกนั และลดความ เสย่ี งของการเกดิ โรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซ่งึ รวมไป ถงึ โรคมะเรง็ ต่างๆ ดว้ ย • ชว่ ยป้องกนั และชะลอความเส่อื มของอวยั ภายในร่างกายต่างๆ • การด่มื น้าผกั ผลไมส้ ามารถช่วยพฒั นาสมอง เสริมสรา้ งความจา และเป็นอาหารของสมองไดเ้ ป็นอยา่ งดี • ช่วยบารงุ และรกั ษาสายตาได้ เพราะผกั ผลไม้บางชนิดจะมีวิตามนิ เอสงู เช่น แครอท ผกั บงุ้ ตาลงึ ฟักทอง มะละกอ มะมว่ งสกุ เป็นตน้ • ผกั ผลไมบ้ างชนิดยงั มสี รรพคุณเป็นยาสมุนไพรท่ชี ่วยบาบดั และ รกั ษาโรคบางชนดิ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี • การด่มื น้าผกั ผลไมเ้ ป็นประจาจะช่วยทาให้ผวิ พรรณดูเปล่งปลงั่ สดใสได้ เพราะผกั ผลไม้หลายชนิดจะอุดมไปดว้ ยวิตามินซีแ ละ วติ ามนิ อี ซ่งึ เป็นอาหารผวิ ทม่ี สี ่วนชว่ ยบารุงผวิ พรรณ ทาให้ผวิ ดูมี สขุ ภาพดแี ละเรยี บเนยี น

❖ น้าสมนุ ไพร • ปัจจบุ นั กระแสนิยมน้าสมนุ ไพรเพม่ิ สงู ขน้ึ โดยเป็นเคร่ืองด่มื ท่ไี ด้จาก การใช้ส่วนประกอบต่างๆ ของพชื นามาแปรรูปให้เหมาะสมตาม ฤดูกาล • การเตรยี มน้าสมนุ ไพรเพอ่ื ด่มื เองชว่ ยให้ประหยดั ค่าใช้จ่าย รสชาตดิ ี ถูกปากอกี ทงั้ ปลอดจากสารเคมดี ว้ ย • น้าสมนุ ไพรมรี สชาตอิ รอ่ ยตามธรรมชาติ ใหค้ ุณค่าและประโยชน์ต่อ รา่ ง กายโดยตรง • อดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ เกลอื แร่ และเป็นอาหารตา้ นโรคโดยเฉพาะโรคท่ี เกดิ จากอนุมลู อสิ ระ ซ่งึ ทาให้เกิดความเส่อื ม ไดแ้ ก่ ผิวหนงั เห่ยี วยน่ ฝ้า กระ ขอ้ เส่อื ม โรคหลอดเลอื ด โรคหวั ใจ อมั พาต ตอ้ กระจก มะเรง็ จนกระทงั ่ โรคเอดส์ • เน่ื อง จา กในพืชส มุนไพรจะ มีส ารต้า น อนุ มูล อิส ระ ส ารผัก (phytonutrient หรอื phytochemical) และเสน้ ใยอาหาร • สารท่กี ล่าวมาทงั้ หมดน้ีมีผลต่อระบบการย่อยอาหาร ช่วยให้เจรญิ อาหาร ผิวพรรณเปล่งปลงั ่ ร่างกายกระชุ่มกระชวย บารุงเส้น ผม ควบคุมไขมนั ท่ีได้จากเน้ือสัตว์ ทาให้ร่างกายทางานได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ • เน่อื งจากสารอาหารในน้าสมนุ ไพรช่วยควบคุมระบบการทางานของ รา่ งกาย ทาใหส้ ารอาหารชนิดอ่นื ไดป้ ระโยชน์เตม็ ท่ี

❖ น้าธญั พืช การท่จี ะรบั ประทานน้าจากธญั พืชใหไ้ ด้รบั ประโยชน์ และมัน่ ใจในความปลอดภัยท่ีดีท่ีสุดคือการทา ไว้ • โดยปกติ ธญั พชื อันได้แก่ขา้ ว ถวั่ งา ลูกเดือย เป็น รบั ประทานเองวนั ต่อวนั เพราะกระบวนการผลติ ท่ีจะ อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ต่อร่างกาย เพราะนอกจากจะได้ เก็บน้าธญั พืชนัน้ ๆ ไว้ทานเป็นเวลานานอาจทาให้ โปรตนี ไขมนั และคารโ์ บไฮเดรตแลว้ ยงั อุดมไปด้วย คุณค่าทางโภชนาการบางอยา่ งสูญเสยี ไป กากใย วติ ามนิ และแรธ่ าตทุ จ่ี าเป็นตอ่ ร่างกาย นอกเหนือจากคุณค่าด้านโภชนาการแลว้ ยงั จะไดร้ ับ คุณประโยชนท์ างยาเป็นผลพลอยไดด้ ว้ ย เช่น • อกี ทางเลอื กหน่งึ ในการบรโิ ภคธญั พชื ก็คือ การด่มื น้า - น้าถวั่ ลิสงจะช่วยรกั ษาอาการเจ็บคอคอแห้ง หรือ ธญั พชื ทาใหเ้ ราบรโิ ภคแป้งปรมิ าณท่นี ้อยลง ร่างกาย อาการไอเรอื้ รงั สามารถดูดซึมสารอาหารต่างๆ จากน้าธญั พชื ไปใช้ - น้านมขา้ วโพดจะช่วยขบั ปัสสาวะบารุงหวั ใจ ปอด ประโยชนไ์ ดท้ นั ที บารุงกระเพาะอาหาร ทาใหเ้ จรญิ อาหาร - น้าลกู เดอื ยซ่งึ เป็นยาเยน็ จะช่วยขบั ปัสสาวะ ช่วยให้ • น้าธญั พชื จงึ เป็นเคร่อื งด่มื บารุงร่างกาย เป็นเคร่อื งด่มื เจรญิ อาหาร บารุงกระดูก บารงุ สายตา เสรมิ อาหารแบบธรรมชาตทิ ่อี ดุ มดว้ ยวติ ามนิ และเกลอื แร่ และยงั มีสรรพคุณป้องกนั และรกั ษาโรค จึงเป็น เคร่อื งด่มื ท่นี ่าสนใจสาหรบั คนไทยในยคุ สุขภาพดีถ้วน หน้า

- น้านมงา จะช่วยรกั ษาระดบั โคเลสเตอรอล ป้องกนั ไม่ใหเ้ กดิ หลอดเลอื ดอุดตนั หรือหลอด เลอื ดแขง็ ตวั ชว่ ยรกั ษาความช่มุ ชนื้ ของผวิ หนัง บารงุ ประสาท ป้องกนั การนอนไม่หลบั เหน็บ ชา ปวดเสน้ ประสาท ท้องผูก เบ่อื อาหาร ฯลฯ ในน้านมงายงั มแี คลเซียมสูง (น้านมงา 1 แกว้ มแี คลเซียมถงึ 1,016 มิลลกิ รมั ขณะท่ีนม 1 แกว้ มแี คลเซยี มเพยี ง 250 มลิ ลกิ รมั ) เป็นตน้ น้าธัญพืชจึงเป็ นเคร่ืองด่ืมเพ่ือสุ ขภาพท่ี น่ า ส นใจ เ พ รา ะอุ ดม ด้วยวิตา มิน แ ล ะ สารอาหารทช่ี ่วยบารงุ สขุ ภาพและป้องกนั โรค

❖ บรอคโคลี่ (Broccoli) • เป็นแหลง่ ซลี เี นียมตามธรรมชาติ ช่วยบารงุ ผวิ พรรณ เ พ่ิ ม ความยดื หยนุ่ ใหก้ บั ผวิ หนงั จงึ ทาใหผ้ วิ ดูอ่อนวยั • ช่วยป้องกนั มะเรง็ อดุ มดว้ ยวติ ามนิ ซี สารแอนตอ้ี อกซแิ ดนท์ ท่ี ชว่ ยกาจดั อนุมูลอสิ ระในร่างกาย และยงั ช่วยให้ผนงั เส้นเลือด แขง็ แรง • ประกอบดว้ ยสารกลูตาไธโอน (glutathione) ซ่งึ ช่วยลดโอกาส เส่ยี งต่อการเกิดไขขอ้ อักเสบ เบาหวาน และโรคหวั ใจ และ นอกจากนี้ยงั ช่วยเพิม่ ภูมคิ ุ้มกนั ของร่างกาย ลดระดบั คลอ เลสเตอรอล และชว่ ยลดความดนั โลหติ • ป้องกนั การเกิดต้อกระจก เน่ืองจากบรอ็ คโคล่ี จะมีสารเบต้า แคโรทนี สงู โดยเฉพาะสารลูทนี (lutein)

ประโยชน์จากการรบั ประทานอาหารเพ่อื สขุ ภาพ การรบั ประทานอาหารท่มี ีประโยชน์นัน้ ส่งผลดีต่อร่างกายใน หลายๆดา้ น ทงั้ รบั ประทานแลว้ สุขภาพดี ต้านทานโรค ทาให้มี อายุยนื ยาว ทาให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมี สตปิ ัญญาทด่ี อี กี ดว้ ย 1) ส่งผลต่อขนาดของรา่ งกาย - ปัจจยั ทส่ี าคญั ทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อ รา่ งกายมอี ยู่ 2 อย่าง คอื พนั ธกุ รรมและส่ิงแวดล้อม ทงั้ สอง อยา่ งน้มี คี วามสมั พนั ธ์กนั อย่างใกล้ชดิ และสงิ่ แวดล้อมทว่ี า่ นนั ่ คอื อาหารและโภชนาการ ซง่ึ เป็นสงิ่ ทม่ี นุษยส์ ามารถดดั แปลง ปรับปรุงตามต้องการได้ ตวั อย่างเช่น การเจริญเติบโตของ เด็กไทยท่โี ตในไทยกบั เด็กไทยท่โี ตในประเทศสหรฐั อเมริกา ปรากฏวา่ เดก็ ไทยทโ่ี ตในสหรฐั อเมรกิ าจะมรี ูปร่างสูงใหญ่กวา่ เดก็ ไทยในประเทศไทย เน่ืองจากอาหารการกนิ ทไ่ี ม่เหมอื นกนั

ประโยชน์จากการรบั ประทานอาหารเพือ่ สขุ ภาพ 2) การมีบตุ รและสขุ ภาพของทารก - การกนิ อาหารใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการทาใหห้ ญงิ มคี รรภ์มีอตั ราเส่ยี งน้อยลงในการคลอด ก่อนกาหนดหรอื แทง้ ทงั้ ยงั ช่วยใหม้ ารดามสี ุขภาพท่ดี ดี ว้ ย สาหรบั ทารกกม็ สี ขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง โดยเฉพาะสมอง มกี ารเจริญเติบโต อยา่ งปกติ และมภี มู คิ มุ้ กนั โรคไดด้ ี 3) ความสามารถในการต้านทานโรค - ร่างกายของผทู้ ่มี โี ภชนาการท่ดี ยี อ่ มมีความสามารถในการต้านทานโรคไดด้ ีกว่า ผู้ท่ขี าด โภชนาการทด่ี ี เช่น มกี ารตดิ เชอ้ื โรคไดน้ ้อย หรอื หายป่วยไวกวา่ 4) ความมอี ายยุ นื - ความกา้ วหนา้ ทางสขุ าภบิ าล ทางการแพทย์ ทางสาธารณสุข และโภชนาการ เป็นปัจจยั ท่ชี ่วยใหค้ นเรามอี ายยุ นื ขนึ้ 5) มีความสามารถในการใช้สมองได้ดี - โภชนาการมีผลต่อการเจริญเตบิ โตของสมอง การขาดสารอาหารโดยเฉพาะในเด็กตงั้ แต่ ระยะเดอื นทา้ ยๆของการตงั้ ครรภจ์ นถงึ ระยะหกเดอื นหลงั คลอด มผี ลทาให้เซลลส์ มองไม่เจริญเติบโตเพราะเซลล์มีการแบ่ งตวั น้อยลง ตอ้ งแกไ้ ขโดยวธิ เี พม่ิ อาหารทม่ี สี ารอาหารท่เี หมาะสม และตอ้ งแกไ้ ขในระยะทส่ี มองกาลงั เจรญิ เตบิ โต (ระยะอายุ 1-3 ขวบ) อยเู่ ทา่ นนั้ ถ้า หลงั ระยะนี้จะแกไ้ ขไมไ่ ด้ 6) คณุ ภาพในการทางาน - ผทู้ ่ไี ดร้ บั อาหารทด่ี ยี อ่ มมรี า่ งกายสมบรู ณ์แขง็ แรง ทาใหม้ คี วามอดทนในการทางานมากกว่าผทู้ ไ่ี ดร้ บั อาหาร ทไ่ี มด่ ี ตวั อยา่ งเช่น ในโรงเรยี น มนี ักเรียนสองกลุ่ม กลุ่มหน่ึงกินอาหารเช้า ส่วนอีกกลุ่มหน่ึงไม่ไดก้ ิน มีผลคือ กลุ่มท่กี ินอาหารเช้ามี ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นสูงกว่าอกี กลมุ่ จงึ สรุปไดว้ า่ การขาดอาหารเพยี งมอื้ เดยี วกม็ ผี ลเสยี ซง่ึ เป็นปัญหาอนั ใหญ่หลวง หรอื เกดิ ปัญหา รา้ ยแรงอ่นื ๆ ตามมา

ความต้องการพลงั งานของรา่ งกาย ❖ รา่ งกายนนั้ ขบั เคล่อื นดว้ ยพลงั งาน เหมือนรถท่ตี ้องเติมน้ามนั อาหารกเ็ หมอื นกบั น้ามนั ทเ่ี ตมิ ลงไป ❖ ในแต่ละวนั ร่างกายใชพ้ ลงั งานในปรมิ าณเท่าๆ กนั ทุกวนั ซ่งึ เป็นผลมาจากการใช้ ชวี ติ แบบเป็นกจิ จะลกั ษณะ คอื ทาอะไรซา้ ๆ กนั ทกุ วนั ❖ ปรมิ าณของพลงั งานมหี น่วยเรยี กวา่ \"แคลอร\"่ี ซง่ึ โดยทวั ่ ไปจะวดั กนั ท่ีหน่วย 1,000 แคลอร่ี กจ็ ะเท่ากบั 1 กโิ ลแคลอร่ี แต่จะเรยี กกนั งา่ ยๆ อยา่ งทค่ี นุ้ หูกนั อยู่วา่ แคลอร่ี เชน่ อาหารชนิ ดนัน้ ชนิ ดนี้ให้พลงั งานเท่านัน้ เท่านี้แคลอร่ี ❖ หากรา่ งกายไดร้ บั พลงั งาน มากเกนิ กว่าความจาเป็นทใ่ี ชใ้ นแต่ละวนั ร่างกายกจ็ ะ สะสมพลงั งานเหล่านนั้ ไวเ้ ป็นพลงั งานสารองเพ่อื นามาใชใ้ นยามขาดแคลน การเกบ็ พลงั งานสารองนี้เกบ็ ไวใ้ นรปู ของไขมนั ฝากไว้ตามพงุ ตามหน้าท้อง แขน ขา ก้น ใบหน้า ซึ่งกค็ ือที่มาของ \"ความอ้วน\" นัน่ เอง 67

❖ เพ่อื ให้รู้เท่าทนั ความต้องการพลงั งานของร่างกาย จงึ ควรทาความเขา้ ใจกบั ความต้องการใช้ พลงั งาน ของร่างกายในแต่ละวนั เพอ่ื จะไดส้ ามารถกาหนดปรมิ าณอาหารทร่ี บั ประทานในแต่ละวนั ได้ ถูกตอ้ ง ❖ จากผลการศกึ ษาของนักโภชนาการทวั ่ โลก ทาให้ทราบว่า ร่างกายตอ้ งการพลงั งานในวนั หน่ึงๆ ประมาณ 1,600-2,800 แคลอร่ี ซง่ึ กจ็ ะมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามเพศ รปู ร่าง วยั และกจิ วตั รประจาวนั ❖ ความตอ้ งการพลงั งานแต่ละวนั นนั้ ขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบต่อไปน้ี (1) พลงั งานท่ีร่างกายต้องการขนั้ พื้นฐาน (Basal Metabolic Rate , BMR) คอื พลงั งานท่ี รา่ งกายตอ้ งการนาไปใชเ้ พอ่ื การทางานของอวยั วะตา่ งๆ ขณะทร่ี ่างกายตอ้ งการพกั ผ่อน ขน้ึ อยกู่ บั เพศ อายุ ขนาด ส่วนประกอบของร่างกาย (2) พลงั งานเพื่อใช้ในการเปลี่ยนแปลงอาหารในร่างกาย (Metabolic response of food) ซ่งึ จะเปลย่ี นไปตามสดั สว่ นของร่างกายและการประกอบกจิ กรรม 68

กิจกรรม แบ่งกลมุ่ นกั ศกึ ษานาเสนอรายการอาหารและเครอ่ื งด่มื ดงั ต่อไปน้ี เลอื กกลมุ่ ละ 1 รายการ อาหารมงั สวริ ตั ิ อาหารเจ อาหารชวี จติ อาหารแมคโครไบโอตกิ ส์ อาหารคลนี น้าสมุนไพร น้านมขา้ วโพด น้านมขา้ วยาคู น้าขา้ วกลอ้ งงอก น้าเหด็ หลนิ จอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook