1ปัญหาอาชญากรรมในสงั คมไทย ความเป็ นมาของอาชญากรรมอาชญากรรม เป็ นสิ่งที่สงั คมส่วนใหญ่มองวา่ เป็ นการกระทาผดิ ท่ีมีอนั ตรายมีความรุนแรง และเป็ นการกระทาที่ควรจะจดั การใหส้ าสม ซ่ึงผกู้ ระทาผดิ ควรตอ้ งไดร้ ับผลตอบแทนจากสงั คมโดยรวม ทุกคนจะเดือดร้อนตา่ งตอ้ งการใหข้ จดั คนร้ายดว้ ยวธิ ีการใดกต็ ามออกไปจากสังคม ดงั น้นั การกระทาความผดิ จึงเป็ นการแยกคนออกเป็นสองกลมุ่ คือ คนดี และคนชวั่การท่ีคนรวมตวั กนั เป็ นกลมุ่ ชุมชน สงั คม เม่ือวนั เวลาผา่ นไปสงั คมยอ่ มมีการขยาย จานวนสมาชิกเพ่มิ มากข้ึน เกิดการขดั แยง้ เบียดเบียน รังแก เอาเปรียบ ววิ าท และทาร้ายกนั ท้งั ร่างกายและจิตใจ โดยมีรูปแบบต่างๆ หลากหลาย ความสลบั ซบั ซอ้ นในวธิ ีการและกลุ่มคนกระทาผิดมีจานวนเพ่มิ ข้ึน ความรุนแรงก็มีมากข้ึนดว้ ย ลองพิจารณากนั ดูวา่ เมื่อเรากล่าวถึง “อาชญากรรม” เราหมายถึงอะไร ความหมายของอาชญากรรมอาญา หมายถึง อานาจ โทษกรรรม หมายถึง การกระทาท่ีสนองผลร้ายที่ทาไวแ้ ต่ปางก่อนอาชญากรรม คือ การกระทาซ่ึง1. มีการกระทาผิด เจตนา2. ลกั ษณะความผดิ3. ไดร้ ับโทษอาชญากรรม คือ การกระทาความผดิ ทางอาญา ซ่ึงเป็ นปัญหาของสงั คมอยา่ งหน่ึงที่มีผลกระทบตอ่ ความปลอดภยั ในชีวติและทรัพยส์ ินเป็นจานวนมาก โดยการกระทาผดิ ทางอาญาน้นั ไดก้ ระทาข้ึนโดย “อาชญากร” เช่น คดีฆ่าผอู้ ื่น ทาร้ายร่างกายข่มขืนกระทาชาเรา ลกั ทรัพย์ วงิ่ ราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปลน้ ทรัพย์ เป็ นตน้อาชญากรรม สามารถแปลความหมายแตกตา่ งกนั ไปตามแนวคิดของนกั กฎหมาย นกั สงั คมวทิ ยา นกั อาชญาวทิ ยา และนกั จิตวทิ ยา ดงั น้ี1. อาชญากรรมในแง่ของนกั กฎหมาย ไดแ้ ก่ การกระทาหรือละเวน้ การกระทาใด ๆ อนั เป็ นปฏิปักษต์ ่อบทบญั ญตั ิ หรือขอ้หา้ มแห่งกฎหมายมหาชน ซ่ึงสาระสาคญั แห่งการตคี วามหมายของปฏิปักษต์ ่อบทบญั ญตั ิ หรือขอ้ หา้ มแห่งกฎหมายมหาชนซ่ึงสาระสาคญั แห่งการตีความหมายของอาชญากรรมตามความหมายในมาตรา 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซ่ึงบญั ญตั ิวา่บุคคลจะตอ้ งรับโทษทางอาญา ต่อเมื่อไดก้ ระทาการอนั กฎหมายที่ใชข้ ณะน้นั บญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมาย ถา้ ตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายที่บญั ญตั ใิ นภายหลงั การกระทาเช่นน้นั ไม่เป็นความผดิ ตอ่ ไป ใหผ้ ทู้ ี่ไดก้ ระทาการน้นั พน้ จากการเป็ นผกู้ ระทาความผิด และไดม้ ีคาพิพากษาถึงที่สุด ใหล้ งโทษแลว้ ก็ถือวา่ ผนู้ ้นั ไม่เคยตอ้ งคาพพิ ากษาวา่ ไดก้ ระทาความผิดน้นั ถา้ รับโทษอยกู่ ็ใหก้ ารลงโทษน้นั สิ้นสุดลง จากบญั ญตั ิของกฎหมายดงั กล่าวจะเห็นไดว้ า่ กฎหมายใหส้ นั นิฐานไวก้ ่อนวา่ ผตู้ อ้ งหาหรือจาเลยเป็ นผบู้ ริสุทธ์ิ จนกวา่ จะไดม้ ีการพิสูจนค์ วามคิดโดยกระบวนการพจิ ารณาของศาลตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย2. อาชญากรรมในแง่ชีววทิ ยา จิตวทิ ยาและจิตแพทย์ เห็นวา่ อาชญากรรมเป็ นผลเสียเนื่องมาจากความแตกตา่ งในโครงสร้างทางสรีรวทิ ยาและกรรมพนั ธุ์ รวมตลอดถึงความบกพร่องในทางความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชิกของครอบครัว ความพิการโรคภยั ไขเ้ จบ็ ยาเสพติดใหโ้ ทษ โรคพิษสุราเร้ือรัง สติปัญญา การศึกษา แรงจูงใจ อารมณ์ บุคลิกภาพ สญั ชาติญาณ เพศ อายุ
2และความเจริญเติบโตทางร่างกาย ฉะน้นั วธิ ีปฏิบตั ิเพ่ือแกไ้ ขปัญหาอาชญากรรมในลกั ษณะน้ีจึงมงุ่ ไปในดา้ นใชห้ ลกัจิตวทิ ยาวา่ ดว้ ยอาชญากรรมเป็ นปัจจยั สาคญั ในการปฏิบตั ิต่อผกู้ ระทาผดิ โดยมุง่ เนน้ ใชห้ ลกั สงั คมวทิ ยา จิตวทิ ยา จิตแพทย์สมยั ใหม่ปฏิบตั ิต่อผกู้ ระทาผดิ เป็นรายบุคคลและการบาบดั ทางจิตเป็ นกลุ่มเป็ นส่วนใหญ่3. อาชญากรรมในแง่นกั อาชญากรรมวทิ ยา เป็ นการมุ่งพิจารณาถึงปรากฏการณ์อาชญากรรมและพฤติกรรมของอาชญากรในลกั ษณะสหวทิ ยาการ ซ่ึงมีความสมั พนั ธเ์ ก่ียวขอ้ งกบั กฎหมายสงั คมวทิ ยา มานุษยวทิ ยา จิตวทิ ยา จิตแพทยแ์ ละสงั คมศาสตร์แขนงอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมายอยา่ งใกลช้ ิด และมงุ่ ความสนใจศึกษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะสภาพปัญหาพฤติการณ์ของผกู้ ระทาผดิ ธรรมดาจิตผดิ ปกติ สถิติอาชญากรรม การวจิ ยั ของอาชญากรรม ผลสะทอ้ นความเสียหายของอาชญากรรมตอ่ สงั คม องคก์ รอาชญากรรมตอ่ สงั คม องคก์ ารอาชญากรรม วทิ ยาการวา่ ดว้ ยผถู้ กู ทาร้ายอาชญากรรมเปรียบเทียบการจดั ระบบบริหารและการประสานงานในหน่วยงานกระบวนการยตุ ิธรรม รวมตลอดถึงทศั นคติความรู้สึกของชุมชนท่ีมีต่อการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ีตารวจ อยั การ ศาล และราชทณั ฑ์ การคุม้ ครองป้องกนั ความเป็ นธรรมกบั สิทธิมนุษยชน และแนวการกาหนดนโยบายท่ีสอดคลอ้ งกบั ความเปลี่ยนแปลงของสงั คม4. อาชญากรรมในแง่สงั คมวทิ ยาสงั คม4.1. อาชญากรรมเป็ นส่ิงที่มคี ู่กนั กบั สงั คมทุกสงั คม เป็นปัญหาสงั คมท่ีสาคญั คุกคามความสงบสุขของประชาชนและเป็ นภยัต่อสงั คม ทาลายชีวติ และทรัพยส์ ิน แสดงถึงความไมส่ มบูรณ์และความบกพร่องของระเบียบสงั คม4.2. การศึกษาอาชญากรรมในแวดวงสงั คมวทิ ยาจะเป็นการศึกษาถึง พฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนของบุคคลต่อสงั คม วเิ คราะหห์ าสาเหตแุ ห่งความขดั แยง้4.3. ในอดีตปัญหาอาชญากรรมยงั ไมเ่ กิดมีมากนกั เนื่องจากวา่ สงั คมแบบเดิมเป็ นสงั คมท่ีมีจารีตประเพณี กาหนดไว้แน่นอน ทุกคนจะตอ้ งปฏิบตั ิตามแบบแผนการดาเนินชีวติ วฒั นธรรมและสงั คมของตนอยา่ งเคร่งครดั ผใู้ ดฝ่ าฝื นจะเป็ นท่ีรังเกียจของสงั คม4.4. พฤติกรรมของคนเราจะแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละกล่มุ แตจ่ ะมคี วามคิดเห็นสอดคลอ้ งกนั เก่ียวกบั การกระทาบางอยา่ งท่ีเห็นวา่ ดีและสมควรใหป้ ฏิบตั ิ ถา้ ใครไม่ปฏิบตั ติ ามกไ็ มเ่ สียหาย ในสงั คมที่เจริญกา้ วหนา้ มติต่าง ๆ เก่ียวกบั พฤติกรรมที่ไม่ตอ้ งการใหส้ มาชิกของสงั คมปฏิบตั ิจะออกมาในรูปบทบญั ญตั ิทางกฎหมาย ผใู้ ดฝ่ าฝื นทาใหส้ งั คมปราศจากความปกติสุขกระทบกระเทือนสวสั ดิภาพและสิทธิของผอู้ ่ืน ผนู้ ้นั กจ็ ะตอ้ งไดร้ บั โทษ ทฤษฎที างสังคมวทิ ยาเกยี่ วกบั สาเหตแุ ห่งอาชญากรรมนกั สงั คมวทิ ยามีความเห็นวา่ ผทู้ ่ีประกอบการกระทาผดิ น้นั เนื่องมาจากสภาพแวดลอ้ มผลกั ดนั ใหป้ ระกอบการกระทาผิดบางคนไมอ่ าจปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มได้ ปัจจยั ท่ีส่งเสริมการกระทาผิด นกั สงั คมวทิ ยาใหท้ ฤษฎีเก่ียวกบัอาชญากรรมในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โครงสร้างของสงั คมและสถาบนั สงั คม รวมท้งั ทฤษฎีเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ของบุคคลตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มทฤษฎีเก่ียวกบั โครงสร้างของสงั คมและสถาบนั สงั คม
3ทฤษฎีสภาพไร้กฎหมาย (Anomie theory) ไดแ้ ก่ การท่ีบุคคลในสงั คม ยดึ วธิ ีกระทาผดิ กฎหมายเพื่อบรรลจุ ุดประสงคห์ รือเป้าหมายของตน เช่นคา่ นิยมในสงั คมกาหนดวา่ บุคคลที่ประสบผลสาเร็จในชีวติ จะตอ้ งถึงพร้อมดว้ ย ความ 1. มงั่ คง่ั ร่ารวย เกียรติยศ อานาจ และปริญญาบตั ร บางคนหนั ไปคา้ ยาเสพติดเพ่ือบรรลจุ ุดมุ่งหมายของตน บางคน คา้ ของหนีภาษี บางคนปลอมใบปริญญาบตั ร หรือทจุ ริตในการสอบดว้ ยการนาโนต้ ยอ่ มาคดั ลอก ในขณะท่ีคน อื่นๆ ต้งั ใจดูหนงั สืออยา่ งไมพ่ กั ผอ่ นนอนหลบั หรือกลา่ วโดยสรุป เม่ือคนเราเกิดมาในสภาพสงั คมที่ยากจน ขาด โอกาสท่ีจะบรรลเุ ป้าหมายแห่งความมีหนา้ มีตาและความเท่าเทียมกบั เพอื่ นฝงู ในวงสงั คม จึงหนั มาประกอบ อาชญากรรม เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายหรือความหวงั หรือจุดประสงคข์ องตน 2. Anomie theory เจา้ ของทฤษฎีก็คือ Durkheim นกั สงั คมวทิ ยาผมู้ ีช่ือเสียงดงั ทฤษฎีที่กลา่ วถึงการไร้กฎเกณฑท์ างพฤติกรรมและไร้กฎหมาย ไดแ้ ก่การที่ผกู้ ระทาผดิ ไม่ยอมรับรู้กฎหมายและไม่ยอมรับกฎเกณฑใ์ นการปฏิบตั ิแบบเดียวกบัคนในสงั คมน้นั โดยทว่ั ไปแลว้ คนเราจะมีความตอ้ งการอยู่ 2 ชนิด คือ ความตอ้ งการทางร่างกาย ไดแ้ ก่ อาหาร ท่ีอยอู่ าศยั น้ายารักษาโรค การดารงชีวติ ท่ีปลอดภยั และความตอ้ งการทางดา้ นจิตใจ ไดแ้ ก่ความร่ารวย อานาจ เกียรติยศ ชื่อเสียง ถา้ ไม่สามารถควบคุมจิตใจไดก้ จ็ ะเป็ นสาเหตทุ ่ีทาใหป้ ระกอบการกระทาผดิ ไดง้ ่าย ท้งั น้ีเน่ืองจากความรู้สึกนึกคิดของผปู้ ระกอบการกระทาผิดคิดวา่ สภาพการดารงชีวติ ในขณะน้ีลาบากตอ้ งดิ้นรนต่อสูแ้ ขง่ ขนั กนั ศีลธรรมกาลงั เส่ือมลง การเป็ นอยใู่ นปัจจุบนั ท่ีมองไมเ่ ห็นอนาคต คนทวั่ ไปทาอะไรไม่ค่อยคานึงถึงศีลธรรม รัฐบาลไม่สนใจตอ่ ปัญหาของคนธรรมดาทว่ั ไปMerton นกั สงั คมวทิ ยาชาวอเมริกนั ไดข้ ยายแนวความคดิ ของ Durkheim ไปวา่ โครงสร้างทางสงั คมมีส่วนประกอบอยู่ 2อยา่ งคือ จุดหมายปลายทาง goal หรือความหวงั และตวั การหรือกระทา Mean ท่ีทาใหค้ วามหวงั น้นั สมั ฤทธ์ิผล ในกรณีท่ีคนเราอยากสร้างความร่ารวยในระยะส้นั ทางน้ีจะทาใหบ้ รรลจุ ุดหมายปลายทางแมจ้ ะเป็ นการผดิ กฎหมายแต่ก็ทาโดนการคา้ ยาเสพติด และในที่สุดกโ็ ดนจบั นกั สงั คมวทิ ยาบางคนมีความเห็นวา่ การประกอบอาชญากรรม เน่ืองมาจากสภาพแวดลอ้ มในสงั คมที่ตนอยู่ เป็ นผลของการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เช่น การขยายตวั จากเมืองเลก็ เป็ นเมืองใหญ่ การแออดั ของประชากร ทาใหเ้ กิดแหล่งปัญหาเสื่อมโทรมมากข้ึน และผปู้ ระกอบอาชญากรรมกม็ กั จะเกิดสาเหตทุ างสภาพแวดลอ้ มผลกั ดนั คนในเมืองใหญๆ่ จะไมค่ อ่ ยมีการติดต่อสมั พนั ธ์กนั มีความแออดั ยดั เยยี ด มีช่องวา่ งระหวา่ งคนจนกบั คนรวยต่างกนั มากเม่ือประกอบการกระทาผิดแลว้ จะมีผทู้ ราบไดย้ าก มีโอกาสหลบหนีไดง้ ่าย โดยทว่ั ไปแลว้ ในเขตท่ีใกลช้ ิดกบั ใจกลางเมือง ใกลก้ บั ที่ทางทามาหากินเป็ นที่อยขู่ องผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย มีลกั ษณะเป็นสลมั ยากจนซ่ึงเป็นบ่อเกิดของอาชญากรรมไดง้ ่าย เด็กไดเ้ รียนรูใ้ นส่ิงท่ีผิดๆ จนอาจจะเห็นเป็นของธรรมดา เช่น การโจรกรรม พอ่ แมญ่ าติพ่นี อ้ งกระทา ดงั น้นั จึงควรที่จะทาไดด้ ว้ ยไมใ่ ช่ส่ิงผดิ ปกติ 3. ทฤษฎีตราบาป ( labeling Theory) เมื่อบคุ คลประกอบการกระทาผิดคร้ังแรก สงั คมเป็ นผตู้ ราบาปวา่ อาชญากรนกั โทษ ข้ียา มือปื นรบั จา้ ง โสเภณี ฯลฯ ซ่ึงอาจทาใหบ้ ุคคลผนู้ ้นั มพี ฤติกรรมเบี่ยงเบนตลอดไป หรือ อาชญากรรมเกิดข้ึนเพราะสงั คมเป็ นผตู้ ราบาปซ่ึงอาจทาใหเ้ ขามีพฤติกรรมเบี่ยงเบนตลอดไป 4. ทฤษฎีหลายสาเหตุ ในปัจจุบนั ไดร้ ับความนิยมอยา่ งกวา้ งขวาง4.1. ทฤษฎีของแมนไฮม์ (Mannheim’s theory) เป็ นนกั อาชญาวทิ ยาชาวองั กฤษ ไดอ้ ธิบายถึงสาเหตกุ ารเกิดอาชญากรรมไว้ดงั น้ี ปัจจยั ทางกายภาพ (physical factors) และปัจจยั ทางสงั คม (social factors) ปัจจยั ท้งั 2 อยา่ งน้ี กระตุน้ จิตใจ หรือก่อใหเ้ กิดแรงจูงใจ ทาใหเ้ กิดการประกอบอาชญากรรม ทฤษฎีน้ีเนน้ ความสาคญั ของจิตใจ เช่นวยั รุ่นชายหญิงตอ้ งการเงินเพอ่ื จะไปเท่ียวดิสโกเ้ ธค จึงกระทาการจ้ี ชิงทรัพยแ์ ทก็ ซ่ี
44.2. ทฤษฎีของกิบบอนส์ (Gibbons’s theory) ไดอ้ ธิบายใหท้ ราบถงึ สาเหตกุ ารประกอบอาชญากรรมไวด้ งั น้ี2.1 สาเหตุพ้ืนฐาน (root causes) ไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลงทางสงั คม การขาดความมนั่ คง ทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง เช่นการวา่ งงาน2 สาเหตุแทรกซอ้ น (intervening variables) เป็ นตน้ วา่ เหตบุ งั เอญิ ประสบการณ์ ความจาเป็น เช่น ติดยาเสพติด2.3 ปัจจยั หนุน (Precipitating factors) ไดแ้ ก่ โอกาส สถานการณ์เอ้ืออานวย เช่น เกิดอาการลงแดงจากยาเสพติด อยากได้เงินไปซ้ือมาเสพ จึงกระทาการโจรกรรมทรัพยส์ ิน4.3. ทฤษฎีของเวสตนั และเวลส์ (Weston & Wells’ theory) มีสาระดงั น้ี1 บางคนประกอบอาชญากรรม เพราะสาเหตเุ พยี งอยา่ งเดียว บางคนกระทาผิดเน่ืองจากสาเหตหุ ลายอยา่ ง ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บัจิตใจเป็ นสาคญั เช่น การบุกเดี่ยวปลน้ ธนาคาร ของคุณครูหนุ่มจากชนบท ในกทม. เพราะตอ้ งการเงินใหค้ นรักไปทาแทง้เนื่องจากบิดามารดาไดไ้ ปขอหม้นั สาวไวใ้ หแ้ ละไดก้ าหนดวนั ววิ าห์ไวแ้ ลว้2 ปัจจยั ดา้ นร่างกายและจิตใจ ปัจจยั ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม และปัจจยั สถานการณ์ รวมตวั เขา้ ในระยะหน่ึงจะก่อใหเ้ กิดอาชญากรรมได้ ซ่ึงอาจจะเป็นอาชญากรตามโอกาส อาชญากรท่ีกระทาผดิ ซ้า อาชญากรที่พฒั นาอีกระดบั หน่ึงสาเร็จการศึกษาช้นั ปริญญาตรีแลว้ หางานทาไม่ได้ ถกู ลอ้ วา่ เป็ นบณั ฑิตตกงาน ไม่มีเงินใชจ้ ่าย เพอื่ นฝงู หนีหนา้ จึงไปรับจา้ งขนยาเสพติด ประเภทของอาชญากรความรุนแรงของการประกอบอาชญากรรมข้ึนอยกู่ บั การฝื นระเบียบของสงั คมของผทู้ ่ีกระทาผดิ แยกตนออกมาจากการควบคุมของระเบียบของสงั คมมากนอ้ ยแคไ่ หน และความมากนอ้ ยของระเบียบสงั คมไมอ่ าจสนองความตอ้ งการของผกู้ ระทาความผิด ประเภทของผปู้ ระกอบอาชญากรรมจาแนกออกเป็ น 9 ประเภทคือ1. ผกู้ ระทาผิดโดยผวิ เผนิ (Causal offende Criminal) เป็ นการกระทาผดิ โดยเอาความสบายเป็ นท่ีต้งั โดยปกติแลว้ เคารพกฎหมาย เช่นขบั รถฝ่ าไฟแดงเพราะความเร่งรีบ เป็ นตน้2. อาชญากรผกู้ ระทาความผิดเป็นคร้ังคราว (Occasional Criminal) กระทาผิดเพราะความประมาทเลินเล่อไม่มีเจตนากระทาเช่นน้นั และจะไมก่ ระทาผดิ ซ้าอีก เช่น ขบั รถชนคนตายโดยประมาท เป็ นตน้3. อาชญากรผกู้ ระทาความผิดเพราะถกู กดดนั ทางจิตใจ (Episodie Criminal) กระทาผิดเน่ืองจากถูกยวั่ อารมณ์ หรือถูกกดดนัทางจิตใจจนไมส่ ามารถต้งั สติได้ มกั จะกระทาผดิ ร้ายแรงและจะไมก่ ระทาผิดซ้าอีก เช่น ลกู จา้ งฆ่านายจา้ ง เพราะนายจา้ งกดขี่ขม่ เหง เป็ นตน้4. อาชญากรผกู้ ระทาความผดิ เก่ียวกบั การเงิน อาชญากรผดู้ ี หรืออาชญากรคอเช๊ิตขาว (White Collar Criminal) มกั จะมีความผดิ เกี่ยวกบั การเงิน ประกอบอาชีพงานดา้ นธุรกิจทางานเบาๆ สบายๆ แตง่ ตวั เรียบร้อยสะอาด เช่น ขา้ ราชการคอรัปชนั่กนั เป็ นทีมๆ ผจู้ ดั การการเงินโกงเงินบริษทั เป็ นตน้5. อาชญากรท่ีกระทาเป็ นนิสยั (Habitual Criminal) เป็ นการกระทาผิดชองผทู้ ่ีไมส่ ามารถทาตวั ใหเ้ ขา้ กบั สงั คมได้ มกั จะติดยาเสพติดและสุราเร้ือรัง กระทาโดยไม่นึกถึงผลที่เกิดข้นึ เช่น การลกั ทรัพย์ เป็ นตน้6. อาชญากรอาชีพ (Professional Criminal) ประกอบอาชีพเป็ นอาชญากรและมีวธิ ีการปฏิบตั ิงานอยา่ งแยบยล ถือวา่ งานอาชญากรรมเป็ นงานสบาย เช่น ลว้ งกระเป๋ า ตม้ ต๋นุ หลอกลวง เป็นตน้7. องคก์ ารอาชญากร (Organized Criminal) ทางานกนั เป็ น ทีมมีสายงานและแบบแผนปฏิบตั ิ แบ่งงานเป็นข้นั ตอน มีหวั หนา้ ควบคุมตามลาดบั ช้นั เช่น การคา้ ยาเสพติด คุม้ ครองร้านคา้ เพื่อหวงั ทรัพยส์ ิน เป็นตน้
58. อาชญากรท่ีจิตผดิ ปกติ (Mentally Abnormal Criminal) อนั ไดแ้ ก่ก. พวกโรคประสาท (Neuroses)ข. พวกโรคจิตชนิด Psychosesค. พวกโรคจิตชนิด Psychopathหากผกู้ ระทาผดิ เหล่าน้ี เจา้ หนา้ ที่พิสูจนไ์ ดว้ า่ จิตผิดปกติจริง ก็เอาความผิดไม่ได้9. อาชญากรที่ไม่มีเจตนาชว่ั ร้าย (Non-malicious Criminal) กระทาผดิ เพราะมีวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมความเช่ือถือแตกต่างกนั ไปจากค่านิยมของคนส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ผทู้ ี่เคร่งศาสนาถือวา่ การฆ่ากนั เป็ นบาปเม่ือไดร้ ับมอบหมายใหไ้ ปรบกไ็ ม่ยอมไป นกั โทษการเมือง เป็นตน้ สาเหตุของปัญหาอาชญากรรมโดยพ้ืนฐานแลว้ สาเหตแุ ห่งการประกอบอาชญากรรมของคนในประเทศตา่ งๆ จะคลา้ ยคลึงกนั เกิดจากปัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม และการเพ่ิมข้ึนของประชากรเมื่อคนเราหมดท่ีพ่งึ กห็ นั มาประกอบอาชญากรรม หรือคิดวา่ การคา้ ขายของผดิ กฎหมาย การคา้ ยาเสพติด ของหนีภาษี ฯลฯ สามารถสร้างความร่ารวยไดใ้ นระยะเวลาส้นั จึงประกอบอาชญากรรม- สภาพครอบครัว มกั จะมาจากครับครัวท่ีบา้ นแตกสาแหรกขาด พอ่ แมแ่ ยกกนั ไปคนละทางไมม่ ีเวลาอบรมดูแลลกู หรือบิดามารดาอยดู่ ว้ ยกนั แต่ทะเลาะกนั ทุกวนั ทาใหเ้ บ่ือบา้ นและออกไปคบหาสมาคมกบั เพอื่ น เม่ือเกิดความขาดแคลนก็มกั จะประกอบอาชญากรรม- ฐานะทางเศรษฐกิจ ผทู้ ่ีประกอบอาชญากรรมมกั จะมาจากคนที่มีฐานะยากจนมีสภาพจิตใจไมป่ กติ เน่ืองจากตอ้ งตอ่ สูเ้ พื่อความอยรู่ อด- การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เนื่องจากเมืองไทยไดร้ ับอทิ ธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกซ่ึงมีบางส่ิงบางอยา่ งขดั กบั วฒั นธรรมสงั คมไทย เป็นตน้ การนิยมวตั ถคุ วามสมั พนั ธ์ทางเพศ การแตง่ กาย เมื่อมีความตอ้ งการมากๆ กท็ าใหป้ ระกอบการกระทาผดิได้- การวา่ งงาน ในปัจจุบนั สภาพเศรษฐกิจรัดตวั ทุกชีวติ ตอ้ งดิ้นรนตอ่ สูเ้ พ่อื ตนเองและครอบครัวเม่ือคนเราวา่ งงาน สภาพจิตใจและอารมณ์ยอ่ มสบั สนฟ้งุ ซ่านมกั ใชเ้ วลาวา่ งไปทางดา้ นอบายมขุ ตา่ งๆ เป็ นตน้ วา่ สุรา นารี เล่นมา้ การพนนั เท่ียวเตร่เป็ นตน้- ความเสื่อโทรมทางศีลธรรมในปัจจุบนั ความคานึงถงึ ศีลธรรมและความอะลมุ่ อล่วยกนั ในสงั คม จะไมค่ อ่ ยพบนกั ท้งั น้ีเน่ืองจากตา่ งคนต่างอยากที่จะหาความสุขใหก้ บั ชีวติ ทุกคนตอ้ งดิ้นรนต่อสูเ้ พอ่ื การดารงชีวติ ความเจริญกา้ วหนา้ ของวฒั นธรรมทางวตั ถุท่ีไปเร็วกวา่ วฒั นธรรมทางจิตใจไมค่ อ่ ยใกลช้ ิดกบั ศาสนา ขาดการศึกษาและอบรมจิตใจที่ดีทาให้ประกอบอาชญากรรมไดง้ ่าย สภาพของปัญหาอาชญากรรมในสังคมไทยในสงั คมกรุงเทพฯ เป็ นสงั คมศูนยร์ วมของความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นวตั ถตุ า่ งๆ อนั เป็ นสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดปัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ประชาชนตอ้ งดิ้นรนตอ่ สูเ้ พอ่ื ความอยรู่ อดก็มีการแก่งแยง่ กนั ในการทามาหากินและการขดั ผลประโยชน์ต่างๆ สงั คมในกรุงเทพฯ จะมีปัญหาอาชญากรรมมากกวา่ สงั คมชนบท อาชญากรรมในกรุงเทพมกั จะเอาแบบอยา่ งจากสื่อมวลชนตา่ งๆ เป็ นตน้ วา่ หนงั สือพิมพ์ ภาพยนตร์ ทีวี วธิ ีการประกอบอาชญากรรมไม่สลบั ซบั ซอ้ นมาก
6ในสงั คมกรุงเทพฯ มีสถานเริงรมยใ์ หก้ ารบริการในดา้ นตา่ งๆ และแหล่งอบายมขุ ต่างๆ เม่ือมีผลประโยชนข์ ดั กนั เป็ นตน้ วา่การพนนั เล่นโกงกนั ปัญหาทางเพศ ฯลฯ ทาใหป้ ระกอบอาชญากรรมไดง้ ่าย ชาวชนบทพากนั อพยพเขา้ มาทางานในกรุงเทพฯ มกั จะเขา้ มาอยใู่ นแหลง่ สลมั ใชแ้ หลง่ สลมั เป็ นท่ีเรียนรู้สภาพชีวติ ของคนในเมือง ทาใหไ้ ดภ้ าพพจน์ที่ไมถ่ กู ตอ้ งเม่ืออพยพมามากๆ เขา้ ยงั หางานทาไมไ่ ดก้ ็ใชช้ ีวติ ไปทางดา้ นอบายมขุ ต่างๆ ลกั ษณะของอาชญากรในสงั คมไทยมกั จะมีสถานภาพทางสงั คมการศึกษาต่า มีฐานะยากจน เน่ืองจากการคมนาคมสะดวก อาชญากรเม่ือกระทาผดิ แลว้ มกั จะหลบหนีไปทาใหย้ ากแก่การจบั กมุ ตวั มาลงโทษประเภทของอาชญากรรมท่ีทากนั มกั จะเป็ นไปในรูปการปลอมแปลงสินคา้ ปลอมเชค็ ยารักษาโรค เคร่ืองสาอาง เนื่องจากการขยายตวั ทางการคา้ และการอตุ สาหกรรม ประชาชนในกรุงเทพฯ เพิม่ มากข้ึน ค่าครองชีพสูงข้นึ ทาใหค้ นเราตอ้ งดิ้นรนต่อสูเ้ พือ่ การดาเนินชีวติ มีการฉอ้ ราษฎร์บงั หลวง การทุจริตต่อหนา้ ที่ การขโมยเศียรพระพทุ ธรูป การทุจริตเก่ียวกบั ท่ีดิน(ในปัจจุบนั กิจการบา้ นจดั สรรเป็นความตอ้ งการของผซู้ ้ือท่ีตอ้ งการบา้ นอยอู่ าศยั เป็ นอยา่ งมาก) ปัญหายาเสพติดใหโ้ ทษ คนท่ีเสพยาเสพติดเนื่องจากอยากลอง ถูกเพือ่ นชกั ชวน ตอ้ งการหนีความจริง เม่ือเสพไปแลว้ ใหโ้ ทษแกร่ ่างกายสติสมั ปชญั ญะไม่อยกู่ บั ตวั ประกอบกบั ยาเสพติดมีราคาแพงและยากแก่การซ้ือหา เมื่อตอ้ งการเสพมากๆ ก็ประกอบการกระทาผิดเพือ่ ให้ไดม้ าซ่ึงยาเสพติด สภาพของอาชญากรรมในประเทศตา่ งๆ จะคลา้ ยคลึงกนั บางคนประกอบอาชญากรรมทางเพศ บางคนฉอ้ ราษฎร์บงั หลวง ปลน้ รถไฟ ลกั ขโมย จ้ีปลน้ ทรัพย์ คา้ ของเถื่อน คา้ ยาเสพติด ความมากนอ้ ยในบางประเภทของการกระทาผดิ ข้ึนอยกู่ บั สถานภาพและแบบแผนการดาเนินชีวติ ของสงั คมน้นั ในสงั คมท่ีมีเศรษฐกิจดีแตป่ ระชากรดิ้นรนตอ่ สู้แข่งขนั เผชิญกบั ความจาเจ ซ้าแลว้ ซ้าเลา่ ทาใหห้ นั มาเสพยาเสพติด ในที่สุดกน็ าไปถงึ การประกอบอาชญากรรม ตวั อย่างอาชญากรรมทเี่ กดิ ขนึ้ เป็ นประจาในสังคมไทย- ไมอ่ ยบู่ า้ น บา้ นถกู งดั เล้ียงสุนขั ดุไวอ้ ยา่ งดี แต่ก็โดนยาเบ่ือ- จอดรถยนตใ์ นหา้ งก็หาย เหลือแต่บตั รจอดรถไวด้ ูต่างหนา้ จอดรถยนตใ์ นบา้ น ยางอะไหล่กห็ าย- เดินในท่ีเปลี่ยว หรือกลบั บา้ นดึกก็โดนปลน้ โดนจ้ี ถกู ฉุดคร่า อนาจาร ข่มขนื- ใส่สร้อยทอง หรือเครื่องประดบั ราคาแพง สะพายกระเป๋ า ก็โดนกระชากสร้อย กระชากกระเป๋ า- เดินทางโดยรถแทก็ ซ่ี กถ็ ูกลวงไปปลน้ ไปข่มขืน- ไม่พอใจ โกรธ เกลียดกนั กส็ งั่ อมุ้ ฆ่า ไลย่ งิ ไล่ฟันกนั- ปลน้ จ้ี ร้านทอง ร้านสะดวกซ้ือ ธนาคาร ฯลฯ
7ตวั อย่างข่าวอาชญากรรมทโ่ี ด่งดงั และเป็ นทสี่ นใจในสังคมไทยถือไดว้ า่ เป็ นข่าวครึกโครมแห่งปี และมีการนาเสนอขา่ วยาวนานที่สุดขา่ วหน่ึง สาหรับคดี พ.ต.อ.นพ.สุพฒั น์ เลาหะวฒั นะแพทยโ์ รงพยาบาลตารวจ ผตู้ อ้ งหาฆ่า ฝังแรงงานพม่าในไร่ของตวั เอง ต.กลดั หลวง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี และผตู้ อ้ งสงสยั อุม้ฆ่า 2 ผวั เมีย นายสามารถ นุ่มจุย้ และภรรยา ซ่ึงปัจจบุ นั กย็ งั หาร่างของท้งั สองไมพ่ บ ขณะที่นายอคั ร เลาหะวฒั นะ และ นายเอก เลาหะวฒั นะ ลูกชายท้งั สองกต็ กเป็ นผตู้ อ้ งหาร่วมกนั ฆ่าผอู้ ื่นโดยไตร่ตรองไวก้ ่อน และร่วมกนั ฝั่งปิ ดบงั ซ่อนเร้นศพหรือเหตแุ ห่งการตายและกระทาการใดๆดว้ ย อยา่ งไรก็ตาม เรื่องดงั กลา่ วยงั มีการตอ่ สูใ้ นช้นั ศาลอีกนาน และคาดวา่ ยงั ไมจ่ บในเร็ววนัเม่ือวนั ที่ 13 กรกฎาคม 2555 เจา้ หนา้ ที่รับแจง้ วา่ พบศพ นอ้ งเบิร์ด อายุ 13 ปี เดก็ นกั เรียนช้นั ม. 1 ที่บนั ไดหนีไฟ อาคารยงเจริญคอมเพลก็ ซ์ ยา่ นอ่อนนุช กทม. หลงั เกิดเหตุ ผเู้ ป็นยายแทๆ้ ไดม้ าดูศพดว้ ยตวั เองดว้ ย แตแ่ ลว้ สงั คมก็ตอ้ งตะลึง เม่ือไดร้ ู้ความจริงวา่ ฆาตกรที่ลงมือฆ่านอ้ งเบิร์ด และนาศพมาทิ้งอาพรางเป็ นยายแทๆ้ พร้อมสารภาพผิดท้งั น้าตาวา่ ท่ีลงมือเพราะโกรธที่หลานไม่เชื่อฟัง แถมยงั ขทู่ าร้าย จึงตดั สินใจใชไ้ มต้ ที ี่ทา้ ยทอยจนเสียชีวติ
8วนั ที่ 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2555 เกิดเหตกุ ารณ์ระเบิดข้ึนภายใน ซอยปรีดีพนมยงค์ 35 และมีเหตปุ าระเบิดใส่ตารวจ แต่ผลกลบั ตกลงขา้ งขาตวั เอง ทาให้ นายฟาอิต โมราติ อายุ 28 ปี ชาวอิหร่าน 1 ในคนร้ายขาขาด 2 ขา้ ง ซ่ึงต่อมาก็สามารถจบั กมุ ได้ นายโมฮมั เหมด็ คาซาอี อายุ 42 ปี ขณะกาลงั หลบหนี ส่วน นายมาซูด เซดากตั ซาเดห์ อายุ 30 ปี สามารถหนีรอดไปได้ ส่วนปมการลงมือคร้ังน้ีมีรายงานวา่ กลุ่มคนร้ายดงั กลา่ วพงุ่ เป้าโจมตีทูตอิสราเอลในประเทศไทย ผลกระทบของการก่ออาชญากรรมเกย่ี วกบั ชีวติ และทรัพย์สินต่อสังคมในปัจจบุ นั อาชญากรรมเกี่ยวกบั ชีวติ และทรัพยส์ ินไดม้ ีการพฒั นาควบคูไ่ ปกบั ความเจริญของสงั คมและเทคโนโลยี เพราะผลของการกระทาของบุคคลในสงั คมน้นั เอง สงั คมยงิ่ มีความเจริญมากเท่าใด อาชญากรรมก็จะเจริญเติบโตมากข้ึนเป็ นเงาตามตวั และส่งผลกระทบต่อสงั คมในหลายดา้ นดงั น้ี1.ประชาชนขาดความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ินเพราะวา่ ปัญหาอาชญากรรมดงั กล่าวไดเ้ กิดข้ึนบ่อยคร้ังและไมร่ ู้วา่ จะเกิดข้ึนเม่ือไหร่ ที่ไหน และเกิดข้ึนกบั ใคร เป็ นปัญหาที่อาจเกิดข้นึ กบั เราไดต้ ลอดเวลาอาทิเช่น ลกั ทรัพย์ ปลน้ ฆ่า เป็ นตน้ ปัญหาเหลา่ น้ีเป็ นปัญหาท่ีติดตามเราทุกฝี กา้ ว ไมว่ า่ จะอยู่ที่บา้ นหรือที่ไหนๆก็ตามก็อาจเกิดข้ึนได้2. ทาใหผ้ คู้ นเกิดความหวาดระแวงเพราะปัญหาหาดงั กลา่ วไดก้ ระทบต่อความเป็ นอยขู่ องประชาชน ทาใหข้ าดความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน สถานท่ีสาธารณะขาดความปลอดภยั หรือมีความปลอดภยั นอ้ ยกวา่ ที่ควรจะเป็ น สภาพสงั คมโดยทว่ั ไปขาดความสงบสุข ประชาชนรู้สึกวา่ อนั ตรายอยรู่ อบตวั ตอ้ งระมดั ระวงั ตวั เองอยตู่ ลอดเวลา เนื่องจากปัญหาท่ีเกิดข้ึนบ่อยและไมอ่ าจคาดเดาได้ ดว้ ยเหตุน้ีประชาชนจึงไมอ่ ยากเขา้ ร่วมกิจกรรมของสงั คม ยอมสละโอกาสในการหาความสุขเพ่อื ปกป้องตนเองจากภยั อนั ตรายท่ีจะเกิดข้ึน
93. ทาใหป้ ระชาชนขาดความไวเ้ น้ือเชื่อใจกนั เน่ืองมาจากความหวาดระแวงภยั อนั ตรายท่ีอาจเกิดข้ึนจากปัญหาดงั กล่าว ทาใหป้ ระชาชนไมไ่ วใ้ จคนรอบขา้ ง เพราะผลกระทบของปัญหาอาชญากรรมดงั กลา่ วท่ีเกิดข้ึนบ่อยคร้ังและมากข้ึน ทาใหม้ ีอาชญากรเพิม่ มากข้ึนและมีอยทู่ วั่ ทุกแห่งหน โดยไมม่ ีใครสามารถรู้ไดแ้ น่ชดั วา่ ใครเป็ นอาชญากรดีไมด่ ีคนที่อยขู่ า้ งๆเราก็อาจเป็นอาชญากรและเขา้ มาทารา้ ยเราก็เป็ นได้ เพือ่ เป็ นการป้องกนั ตวั เองแลว้ ประชาชนส่วนใหญจ่ ึงระมดั ระวงั ตวั เองเพิม่มากข้ึน และไมไ่ วใ้ จอะไรง่ายๆ ทาใหก้ ารติดต่อสมั พนั ธ์กนั และความไวว้ างใจกนั มีนอ้ ยลง4. เกิดข่าวสะเทือนขวญั จากข่าวที่นาเสนอโดยสื่อต่างไม่วา่ จะเป็ น หนงั สือพิมพ์ โทรทศั น์ อินเตอร์เน็ต ฯ มกั จะพบเห็นข่าวเกี่ยวกบั การก่ออาชญากรรมดงั กลา่ วอยเู่ ป็ นประจา ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีสะเทือนขวญั ประชาชนในฐานะผรู้ บั ส่ือเป็ นอยา่ งมาก เพราะลกั ษณะการประกอบอาชญากรรมของอาชญากรในปัจจุบนั ยงั มีความรุนแรง อกุ อาจ ทา้ ทายมากข้ึน ประกอบกบั มีการนาอาวธุ สงครามร้ายแรงมาใชเ้ ป็ นเครื่องมือในการก่ออาชญากรรมอยา่ งไมเ่ กรงกลวั อานาจกฎหมาย สร้างความสะเทือนขวญัแก่ประชาชนทว่ั ไป5. ก่อความไม่สงบในสงั คมและทาใหส้ งั คมเส่ือมโทรมปัญหาน้ีเป็ นภยั คุกคามตอ่ ชีวติ และความเป็นอยขู่ องประชาชน เก่ียวขอ้ งกบั การดารงชีวติ ของประชาชนโดยทวั่ ไป และเก่ียวขอ้ งกบั ความสงบเรียบร้อยของบา้ นเมืองเป็นผลทาใหผ้ คู้ นในสงั คมไดร้ ับความเดือดร้อน ในชีวติ และทรัพยส์ ินประชาชนไม่มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ึน สงั คมไมเ่ ป็นระเบียบเรียบร้อยขาดความสงบสุขเกิดความวนุ่ วาย รวมไปถึงการพฒั นาและความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ การลงทุนและการท่องเที่ยวจะลดนอ้ ยลง ระดบั ความเจริญลดลงและมีความเส่ือมโทรมเพิม่ มากข้ึน รัฐบาลตอ้ งเสียเวลาในการแกป้ ัญหาอาชญากรรมดงั กลา่ วแทนที่จะเอาเวลาส่วนใหญไ่ ปใชใ้ นการบริหารและพฒั นาประเทศใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ทาใหเ้ กิดความเสียเปรียบทางการเมืองและเสียภาพพจนข์ องประเทศ แมใ้ นปัจจุบนั ไดเ้ นน้การควบคุมอาชญากรรมดงั กลา่ ว แตป่ ัญหาก็ยงั คงปรากฏใหพ้ บเห็นอยบู่ ่อยๆและมีมากข้ึน จนไม่สามารถดูแลไดท้ วั่ ถึง6. ทาใหส้ ิ้นเปลืองคา่ ใชจ้ ่ายเน่ืองจากปัญหาอาชญากรรมดงั กล่าวไดเ้ กิดข้ึนบ่อยและมีความรุนแรงเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ ประชาชนจึงตอ้ งหาวธิ ีการต่างๆเพ่ือรักษาความปลอดภยั ซ่ึงทาใหส้ ิ้นเปลืองคา่ ใชจ้ ่ายไปมากพอควร และนอกจากประชาชนแลว้ หน่วยงานของรัฐก็ยงั ตอ้ งเสียงบประมาณใชจ้ ่ายในการแกป้ ัญหาดงั กลา่ วเช่นกนั7. ทาใหเ้ กิดพฤติกรรมเลียนแบบจากปัญหาอาชญากรรมดงั กล่าวท่ีเกิดข้ึนบ่อยในสงั คมปัจจุบนั ทาใหเ้ ดก็ และเยาวช์ นไดเ้ รียนรู้พฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนจากบรรทดั ฐาน จนเกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมดงั กลา่ ว เช่น ลูกเห็นพอ่ แมล่ กั ขโมยของคนอ่ืนลูกจึงเลียบแบบและเจริญรอยตาม หรือเห็นคนตีกนั ทาร้ายกนั ก็จะซึมซบั แลว้ ทาตามในที่สุด ทาใหเ้ กิดปัญหาดงั กลา่ วมากข้ึน โดยเฉพาะในปัจจบุ นัส่ือไดม้ ีอิทธิพลอยา่ งมาก คนส่วนใหญ่ต่างก็รบั รู้ข่าวสารผา่ นสื่อ เมื่อมีคดีอาชญากรรมดงั กลา่ วเกิดข้ึนกท็ าใหเ้ กิดขา่ วอาชญากรรมแพร่กระจายไปอยา่ งรวดเร็ว เพ่ือตอ้ งการประณามผกู้ ระทาความผิดและใหผ้ รู้ ับส่ือไดต้ ระหนกั ถึงโทษและพิษภยั ของอาชญากรรมแต่กลบั มีเดก็ และเยาวช์ นท่ีไม่รู้จกั ตระหนกั ถึงโทษและพษิ ภยั ของอาชญากรรมเกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมตามข่าวที่ส่ือไดน้ าเสนอซ่ึงผิดวตั ถปุ ระสงฆข์ องสื่อ จึงทาใหป้ ัญหาดงั กลา่ วเพมิ่ มากข้ึนและมีแนวโนม้ วา่ จะสูงข้ึนเรื่อยๆ8. ทาใหเ้ กิดความแคน้ผลจากการก่อปัญหาอาชญากรรมดงั กลา่ วทาใหเ้ กิดความเสียหายในชีวติ และทรัพยส์ ิน ทาใหผ้ เู้ สียหายหรือผเู้ ก่ียวขอ้ งเกิดความแคน้ ใจจนไมส่ ามารถหยดุ ย้งั หรือยบั ย้งั ไดจ้ นถึงข้นั ก่อเหตุอาชญากรรมข้ึนอีก ซ่ึงการกระทาดงั กลา่ วเป็ นการก่อเหตุ
10โดยเจตนา โดยการก่อเหตโุ ดยเจนนาน้ี แสดงใหเ้ ห็นถึงจิตใจของผกู้ ระทาซ่ึงไม่สามารถเอาชนะใจตนเองได้ ขาดความยบั ย้งัชง่ั ใจ และกระทาการลงไปโดยไม่เกรงกลวั ตอ่ บาป ไมเ่ กรงกลวั ตอ่ กฎหมาย ไมส่ นใจวา่ กระบวนการยตุ ิธรรมจะดาเนินการอยา่ งไรทาใหบ้ ุคคลน้นั ละเลยไมส่ นใจที่จะปฏิบตั ิตามกฎหมาย ก่อใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรมดงั กลา่ วอยา่ งตอ่ เนื่องต่อเนื่องซ้าแลว้ ซ้าเลา่ และไมม่ ีท่ีสิ้นสุด9. เกิดความเส่ือมโทรมทางศีลธรรมจากปัญหาอาชญากรรมดงั กล่าวท่ีเกิดข้ึนไดแ้ สดงใหเ้ ห็นถึงจิตใจของผกู้ ระทาวา่ เป็นผไู้ รซ่ึงศีลธรรมใจจิตใจ เห็นแก่ตวั นึกถึงแต่ประโยชน์ส่วนตน เป็นผทู้ ี่ขาดศีลธรรม ผกู้ ระทาความผดิ บางคนท่ีพน้ โทษออกมาแลว้ กย็ งั คิดหาทางท่ีจะกระทาความผิดอีก ถา้ ผนู้ ้นั ไดก้ ระทาความผดิ มากเท่าไรยง่ิ ทาใหเ้ กิดความเสื่อมโทรมทางศีลธรรมมากข้ึน ในกรณีน้ีบุคคลรอบขา้ งกม็ ีส่วนเช่นกนั ถา้ คนเหลา่ น้นั ไร้ซ่ึงศีลธรรมไมเ่ ปิ ดใจใหผ้ ทู้ ่ีเคยกระทาผดิ ไดแ้ กต้ วั ยอ่ มทาใหผ้ กู้ ระทาผดิ หลงอยใู่ นวงั วนแห่งความผดิ น้นั ตลอดการ หางมองในอีกแง่มุมหน่ึงมีผกู้ ระทาความผดิ หลายรายที่หลบหนีจากการจบั กมุ ของเจา้ หนา้ ที่ไปไดแ้ ลว้ หนีไปเสพสุขอยู่ ณ ที่ใดที่หน่ึงบนกองทรัพยส์ ินของผอู้ ่ืน เป็ นตวั กระตุน้ ใหค้ นบางส่วนที่พบเห็นการกระทาเกิดความคิดที่อยากจะทาบา้ งโดยคิดวา่ “ทาดีไดด้ ีมีท่ีไหนทาชว่ั ไดด้ ีมถี มไป” เป็ นสาเหตุใหค้ นเหลา่ น้นั ละเลยการประกอบอาชีพที่สุจริตและหนั ไปก่ออาชญากรรมเพมิ่ ข้ึน10. ทาใหบ้ คุ คลผกู้ ระทาผดิ ถกู รังเกียจจากคนรอบขา้ งสาหรับผทู้ ี่ทาผดิ คร้ังแรกกจ็ ะถูกรังเกียจและไมเ่ ป็ นที่ยอมรับจากคนรอบขา้ ง จนผลกั ดนั ใหเ้ ขาไดก้ ระทาผิดเป็ นคร้ังที่สองกล่าวคือ เม่ือคนรอบขา้ งตา่ งรังเกียจและดูถูกไมเ่ ปิ ดโอกาสใหผ้ กู้ ระทาผดิ ไดแ้ กต้ วั ยอ่ มส่งผลใหผ้ กู้ ระทาผิดมคี วามเส่ือมโทรมทางดา้ นจิตใจสูงข้ึนแทท้ ี่เขาจะกลบั ใจเป็ นคนดี กลบั ทาใหผ้ กู้ ระทาความผดิ คิดท่ีจะก่อปัญหาเป็ นคร้ังต่อไป ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาอาชญากรรม1.ควรศึกษาขอ้ มูลและพิจารณาแกไ้ ขปัญหาอาชญากรรมโดยไดร้ บั ความร่วมมือจากหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งควรมีการพจิ ารณาปัญหาอาชญากรรมไมว่ า่ จะในประเทศไทยหรือตา่ งประเทศลว้ นแลว้ แตม่ ีอยทู่ วั่ ไปแลว้ ไมม่ ีใครรู้ไดว้ า่ จะเจอกบั ปัญหาเหลา่ น้ีตอนไหนอาชญากรจะแฝงตวั มาในทุกรูปแบบโดยเฉพาะในยคุ ปัจจบุ นั เทคโนโลยตี า่ งๆท่ีผลิตข้ึนมาในยคุ ปัจจุบนั ท่ีมีความทนั สมยั และใหค้ วามสะดวกสบายแก่ผคู้ นจานวนมากแตย่ งั มีอีกส่ิงหน่ึงที่แอบแฝงมากบั เทคโนโลยที ี่นิยมเหล่าน้ี คือปัญหาท่ีทาใหท้ ุกคนตอ้ งพบหรือบางคนท่ีเจอ คืออาชญากรรม ที่แทรกซึมเขา้ มาไดห้ ลายวธิ ี เช่น โดยวธิ ีการซ้ือขาย จ่ายโอน ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต อาจถูกหลอกไดง้ ่ายการแกไ้ ขปัญหาอาชญากรรมดว้ ยการไดร้ ับความร่วมมือกบั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเช่นกรมประชาสงเคราะห์ กรมราชทณั ฑ์กรมการปกครองไม่เฉพาะแตก่ รมตารวจเท่าน้นั ทุกฝ่ ายควรปฏิบตั ิตามนโยบายของตน ท้งั น้ีเพือ่ ความสงบสุขของสงั คมควรมีการศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ส่ือตา่ งๆท่ีเราบริโภคกนั อยทู่ ว่ั ไปไมว่ า่ จะเป็นเดก็ หรือผใู้ หญส่ ่ือเหลา่ น้ียงั มีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสียดงั จะกลา่ วตอ่ ไปน้ีข้อดี1.ทาใหส้ ะดวกในการใชบ้ ริการในดา้ นการรับและส่งขอ้ มูลขา่ วสาร2.มีความรวดเร็วในดา้ นการนาเสนองาน3.ในดา้ นการแลกเปล่ียนซ้ือขายสะดวก
11ข้อเสีย1.อาจก่อใหเ้ กิดอาชญากรรมตามมาเช่นโดนหลอกในการซ้ือขายหรือแมก้ ระท้งั มีการเสนอการซ้ือขายบริการทางเพศเป็ นตน้2.ควรมีการใหค้ วามรู้แกน้ กั เรียนเพื่อป้องกนั ปัญหาอาชญากรรมในดา้ นการศึกษาน้นั เราจะตอ้ งรูท้ นั เหตกุ ารณ์ในยคุ ปัจจบุ นั เน่ืองจากอาชญากรรมมีมากมาย หรือแมก้ ระท้งั ปัญหาระดบัชุมชนอาจกลายมาเป็ นปัญหาใหญ่ในระดบั สงั คมเมืองได้ และ ตามโรงเรียนตา่ งๆ ควรมีการจดั สอนเกี่ยวกบั การป้องกนัอาชญากรรม เช่น ผหู้ ญิงไม่ควรเดินคนเดียวในท่ีมืดค่าแลว้ ควรรับกลบั บา้ น3.ควรมีการสอดส่องดูแลสถานเริงรมยต์ ่างๆในสถานเริงรมยก์ ฎหมายกจ็ ะกาหนดการเปิ ดใหใ้ ชบ้ ริการ ในส่วนน้ีกฎหมายจะเขา้ ไปควบคุมเพอ่ื ใหเ้ กิดความปลอดภยั กบัผทู้ ่ีไปใชบ้ ริการ เพราะสถานเริงรมยเ์ ป็ นแหล่งมว่ั สุมและบางคร้ังมกี ารขายบริการซ่ึงในส่วนน้ีกฎหมายควรใหก้ ารควบคุมดูแลอยา่ งเคร่งครัด เพื่อป้องกนั และกาจดั มลู เหตุตา่ งๆที่ก่อใหเ้ กิดมูลเหตปุ ัญหาอาชญากรรม การลงโทษผกู้ ระทาความผิดอยา่ งจริงจงั ซ่ึงสถานเริงรมยม์ ีหลายรูปแบบเช่น บาร์ไนตค์ ลบั และสถานอาบ อบ นวด เป็นตน้4.การคุมความประพฤติควรไดร้ บั การพจิ ารณานามาใชเ้ พอื่ ช่วยใหผ้ กู้ ระทาความผดิ ไดก้ ลบั กลายเป็ นคนดีและไมท่ าผดิ อีกสงั คมปัจจบุ นั น้ีทุกปัญหานบั วา่ เป็ นปัญหาที่หนกั และในช่วงน้ีอยใู่ นช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่าปัญหาความยากจนมากข้ึนจึงก่อใหเ้ กิดปัญหาตา่ งๆท่ีเขา้ มารุมเร้า เช่นการปลน้ ทรัพย์ การคา้ ยาเสพติด ปัญหาเหลา่ น้ีลว้ นทาใหไ้ ม่ปลอดภยั ท้งั สิ้น ดงั น้นัหากมีผกู้ ระทาผดิ ควรมีการคุมประพฤติหรือลงอาญา สาหรับคนที่ไมเ่ คยทาผดิ มาเลยหรือทาผิดที่ตอ้ งโทษในระยะส้นั เพ่อืช่วยใหผ้ กู้ ระทาผดิ ไดเ้ ป็ นคนดีเขา้ กบั สงั คมไดแ้ ละปรารถนาจะไมท่ าผดิ อีก มีการหา้ มคบหาสมาคมกบั คนบางประเภทและมีการกาหนดที่พกั อาศยั หรือท่ีทางาน5.ควรมีการแกไ้ ขปรับปรุงสภาพชุมชนท่ีเสื่อมโทรมใหด้ ีข้ึนในสภาวะแวดลอ้ มเศรษฐกิจท่ีมีการผนั ผวนทาใหม้ ปี ัญหาตามมาไม่วา่ จะเป็นปัญหาระดบั ชุมชนหรือระดบั สงั คม กลา่ วคือในชุมชนที่ไมค่ ่อยมีการพฒั นาทางระดบั ความเป็นอยแู่ ละชีวติ ใหด้ ีข้ึนและมีแตจ่ ะทาใหม้ ีการดอ้ ยพฒั นาลงไปเลื่อยๆท้งั ยงัจะทาใหช้ ุมชนเหล่าน้นั มีอาชญากรรม แมเ้ ดก็ ท่ีเติบโตมากจ็ ะเอาแบบอยา่ งที่ไมด่ ีเหลา่ น้นั ดงั น้นั เราควรปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มภายในชุมชนโดยการต้งั ระเบียบกฎเกณฑเ์ พื่อใหเ้ ป็นบรรทดั ฐานใหท้ ุกคนปฏิบตั ิตาม เพอื่ ท่ีจะมีการเปลี่ยนแปลงระดบั ความเป็ นอยใู่ หด้ ีข้ึน มีการจดั ใหม้ ีการศึกษาและจะช่วยใหช้ ุมชนมีการพฒั นาชีวติ ท่ียงั่ ยนื อีกท้งั ยงั ทาให้อาชญากรรมลดนอ้ ยลงอีกดว้ ย6.การแกไ้ ขสภาพครอบครัวสภาพครอบครัว มกั จะมาจากครอบครัวท่ีแตกสาแหรกขาด พอ่ แมแ่ ยกกนั ไปคนละทางไมม่ ีเวลาอบรมดูแลลูก หรือบิดามารดาอยดู่ ว้ ยกนั แตท่ ะเลาะกนั ทุกวนั ทาใหเ้ บื่อบา้ นและออกไปคบหาสมาคมกบั เพอื่ น และเม่ือความขาดแคลนกม็ กั จะประกอบปัญหาอาชญากรรม สภาพสงั คมการอยรู่ ่วมกนั หรือครอบครัวจะมีสภาพการเป็ นอยทู่ ่ีแตกตา่ งกนั ออกไปดงั จะกลา่ วตอ่ ไปน้ีครอบครัวที่มีการเป็ นอยกู่ ารอบรมเล้ียงดูที่ดีและการเอาใจใส่ของคนในครอบครัวจะทาใหม้ คี วามสุขในการดารงชีวติ จะทาใหไ้ ม่เกิดปัญหาครอบครัวแตกแยก ส่วนครอบครัวท่ีก่อใหเ้ กิดปัญหาไดง้ ่ายจะเห็นไดช้ ดั คอื ไมค่ ่อยใหค้ วามสนใจในครอบครัวและกจ็ ะทาใหเ้ ด็กมีปัญหากจ็ ะทาใหส้ ่งผลกระทบเช่น เด็กทาตามใจตวั เอง พอ่ แม่ทะเราะกนั เป็ นตน้ดงั น้นั ทางท่ีจะแกป้ ัญหาเหลา่ น้ีคอื เม่ือมีปัญหาควรหนั หนา้ เขา้ กนั ใหค้ าปรึกษาการแนะนาที่ดีต่อกนั และคอยอบรมเล้ียงดูบุตรใหก้ ารอบรมสง่ั สอน อีกท้งั คอยดูพฤติกรรมไม่ไปในทางที่ไมด่ ี
127.การแกไ้ ขความผดิ ปกตใิ นดา้ นจิตใจและอารมณ์เรื่องของอารมณ์น้ีจะข้ึนอยกู่ บั ตวั บุคคลและสภาวะแวดลอ้ ม คนท่ีมีอารมณ์ท่ีร่าเริงกจ็ ะทาใหไ้ มเ่ กิดปัญหา แตส่ าหรับบางคนอาจมีอารมณ์ร้อนประสบกบั ภาวะจิตท่ีไม่ปกติ หรือมเี ร่ืองท่ีทาใหไ้ ม่สบายใจ จะทาใหบ้ คุ คลเหลา่ น้ีมีปัญหาและอาจก่อความเสียหายได้การแกป้ ัญหาในเร่ืองน้ีเราจะตอ้ งสร้างกิจกรรมที่ผอ่ นคลายอารมณ์โดยเปิ ดโอกาสใหม้ ีการสร้างอาชีพเพื่อเป็ นการฟ้ื นฟจู ิตและยงั ช่วยใหห้ ายจากความเครียดอีกดว้ ย8.ความรับผดิ ชอบของประชาชนการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เน่ืองจากเมืองไทยไดร้ ับอิทธิพลของชาวตะวนั ตกซ่ึงมีบางส่ิงบางอยา่ งขดั กบั วฒั นธรรมของสงั คมไทย เร่ืองคา่ นิยมทางดา้ นวตั ถุ ความสมั พนั ธท์ างเพศ การแตง่ กาย เม่ือมีความตอ้ งการมากๆ กอ็ าจทาใหป้ ระกอบการท่ีผิดได้ ดงั น้นั เราควรเราควรร่วมกนั แกไ้ ขปัญหาโดยการเลือกที่จะหนั มานิยมวฒั นธรรมที่เราเคยทามาเพอ่ื ลดการประกอบการท่ีผิด9.มาตรการของรัฐในการช่วยเหลอื ประชาชนการประกอบการของประชาชนในการประกอบอาชีพในแต่ละภมู ิภาคจะมีวฒั นธรรมท่ีตา่ งกนั ออกไปและหากทอ้ งถน่ิ ใดไดร้ ับการช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐในการสนบั สนุนงบประมาณในการส่งเสริมดา้ นการพฒั นาจะเห็นวา่ ระดบั ค่าครองชีพและระดบั การพฒั นาเศรษฐกิจอยา่ งรวดเร็ว10.การบญั ญตั ิกฎหมายและการบงั คบั ใชก้ ฎหมายกฎหมายต่างๆที่มีการบญั ญตั ิข้ึนใหมห่ รือมีการแกไ้ ขเพม่ิ เติมเพ่ือใหท้ นั กบั การพฒั นาของประเทศซ่ึงปัจจุบนั มีการพฒั นาอยา่ งรวดเร็วกต็ อ้ งมีกฎหมายข้ึนมาเพอ่ื จากดั สิทธิของบุคคลไมใ่ หก้ ระทาในส่ิงซ่ึงผดิ กฎหมายและบญั ญตั ิข้ึนมาเพ่ือใหท้ นักบั การพฒั นาทางเศรษฐกิจ การบงั คบั ใชก้ ฎหมายก็เพ่ือใหเ้ กิดความสงบเรียบรอ้ ยของสงั คมอีกท้งั ช่วยคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของทุกคนเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภยั และควบคุมการพฒั นาทางเศรษฐกิจ บทสรุปปัญหาอาชญากรรม คือ ปัญหาเก่ียวกบั การกระทาผดิ ทางอาญา โดย “อาชญากร” เป็นผกู้ ระทาผิด โดยสาเหตขุ องการกระทาผดิ มีผลมาจากการท่ีมนุษยม์ ีเห็นแก่ตวั หรือมีเจตจานงเสรี เพ่ือตอ้ งการใหต้ นไดป้ ระโยชนน์ ้นั มา แมจ้ ะเป็ นการผิดกฎหมายกต็ ามแต่ มนุษยจ์ ะไตร่ตรองเสมอวา่ หากทาไปแลว้ คุม้ คา่ กบั ความผิดอนั เลก็ นอ้ ย มนุษยก์ จ็ ะเส่ียงที่จะทา และหากกระทาไปแลว้ ไม่คุม้ ค่ากบั โทษหนกั ท่ีจะตอ้ งไดร้ ับ มนุษยก์ ็จะไมท่ าดงั น้นั การป้องกนั ปัญหาอาชญากรรมควรไดร้ ับการร่วมมือจากหน่วยงานทุกภาคส่วนแลว้ มีการใหค้ วามรู้แก่นกั เรียนเพือ่เป็ นแนวทางหลีกเลี่ยงจากอาชญากรรมและไดม้ ีการฟ้ื นฟสู ภาพแวดลอ้ มเส่ือมโทรมท้งั จะตอ้ งมีการจดั ระเบียบกฎเกณฑ์เพอ่ื ใหเ้ ป็ นบรรทดั ฐานของสงั คมและช่วยใหก้ าจดั มลู เหตุท่ีจะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายอาชญากรรมและท่ีสาคญั ประชาชนควรปฏิบตั ิตามกฎหมายท้งั น้ีเพ่อื ใหเ้ กิดความสงบสุขสงั คม
13 การก่อการร้าย การก่อการร้ายเป็ นการใชก้ าลงั การใชค้ วามรุนแรงในรูปแบบต่างๆเพ่อื กดดนั ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม โดยกลุ่มบุคคลหรือองคก์ รที่ถกู จดั ต้งั ข้ึนมา เพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายหลกั ทางการเมืองในลกั ษณะของการตอ่ ตา้ น โค่นลม้ กมุ อานาจ หรือตอ่ รองอานาจของรัฐกบั รัฐบาลเพ่อื ปลดปลอ่ ยกลมุ่ ของตนหรืออน่ื ๆใหเ้ ป็นอิสระจากอานาจ อิทธิพล การปกครองของรัฐอ่ืน การก่อการร้ายเป็ นสถานการณ์ที่ซบั ซอ้ น มีพฒั นาการที่เพมิ่ ความรุนแรงมากข้ึน โดยขยายตวั เป็นการก่อการร้ายสากล ทาใหท้ ุกประเทศมีความเสี่ยงต่อภยั คุกคามท่ีมาจากการก่อการร้าย นบั เป็นความรุนแรงในสงั คมท่ีน่ากลวัและอนั ตรายเป็นอนั ดบั หน่ึง ตวั อยา่ งการก่อการร้ายท้งั ในระดบั โลก ระดบั ภมู ิภาคและในระดบั ประเทศ -การก่อการร้ายในประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือวนั ที่ 11 กนั ยายน พ.ศ.2544 -การวางระเบิดท่ีบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เม่ือวนั ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2545 -การวางระเบิดท่ีกรุงอิสตนั บูล ประเทศตุรกี เม่ือวนั ที่ 15 และ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 การก่อการร้ายเหล่าน้ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการขยายขอบเขตที่กวา้ งขวางและอตั ราความรุนแรงที่เพ่ิมข้ึนของการก่อการร้ายทวั่ โลก การก่อการร้ายเป็ นสถานการณ์ที่ซบั ซอ้ น มีพฒั นาการท่ีเพิม่ ความรุนแรงมากข้ึน โดยขยายตวั เป็ นการก่อการร้ายสากล ทาใหท้ ุกประเทศมคี วามเสี่ยงต่อภยั คุกคามท่ีมาจากการก่อการร้าย นบั เป็ นความรุนแรงในสงั คมที่น่ากลวั และอนั ตรายเป็นอนั ดบั หน่ึงตวั อยา่ งการก่อการร้ายท้งั ในระดบั โลก ระดบั ภมู ิภาคและในระดบั ประเทศ-การก่อการร้ายในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวนั ที่ 11 กนั ยายน พ.ศ.2544-การวางระเบิดท่ีบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เม่ือวนั ท่ี 12 ตุลาคม พ.ศ.2545 -การวางระเบิดที่กรุงอิสตนั บลู ประเทศตรุ กี เม่ือวนั ที่ 15 และ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2546
14 การก่อการร้ายเหลา่ น้ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการขยายขอบเขตท่ีกวา้ งขวางและอตั ราความรุนแรงที่เพ่มิ ข้ึนของการก่อการร้ายทว่ั โลก การก่อการร้ายถือวา่ เป็ นภยั คุกคามท่ีน่าสะพรึงกลวั เป็ นอยา่ งยงิ่ ในยคุ โลกาภิวตั น์ นบั ต้งั แตเ่ หตุการณ์ผกู้ ่อการร้ายจ้ีเคร่ืองบินและบงั คบั พงุ่ เขา้ ชนตึก World Trade Center ณ กรุงนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือวนั ท่ี 11 กนั ยายน 2544 ท่ีผา่ นมา สถานการณ์ดงั กล่าวทาใหน้ กั วเิ คราะห์อนาคตทวั่ ท้งั โลกประเมินสถานการณ์ในศตวรรษที่ 21 วา่ จะเป็ นศตวรรษแห่งอาชญากรรมขา้ มชาติและการก่อการร้าย ( Century of Transnational Crime and Terrorism) เหมือนกนั กบั ศตวรรษที่20 ท่ีถูกมองวา่ เป็นศตวรรษแห่งสงครามเยน็ และศตวรรษท่ี 19 ที่ถกู มองวา่ เป็ นศตวรรษของการล่าอาณานิคม หลงั จากเหตกุ ารณ์ 11 กนั ยายน 2544 ดงั กลา่ วขา้ งตน้ หรือเป็ นท่ีรูจ้ กั กนั ในรหสั ส้นั ๆ วา่ 9/11 เกิดข้ึนแลว้ หลายประเทศพฒั นา และประเทศกาลงั พฒั นา ยงั คงตกเป็ นเป้าหมายของการก่อการร้ายอยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงคร่าชีวติ ผบู้ ริสุทธ์ิไปเป็ นจานวนมากเหตกุ ารณ์ก่อการร้ายสาคญั ที่ผา่ นมา เช่น- การเกิดระเบิดในเมืองบาหลี ประเทศอนิ โดนีเซีย เมื่อวนั ที่ 12 ตลุ าคม 2545- การเกิดระเบิดรถไฟในกรุงมาดริด ประเทศสเปน เมอ่ื วนั ที่ 11 มีนาคม 2547หลงั จากเหตุการณ์ 11 กนั ยายน 2544 ดงั กล่าวขา้ งตน้ หรือเป็นท่ีรู้จกั กนั ในรหสั ส้นั ๆ วา่ 9/11 เกิดข้ึนแลว้ หลายประเทศพฒั นา และประเทศกาลงั พฒั นา ยงั คงตกเป็ นเป้าหมายของการก่อการร้ายอยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงคร่าชีวติ ผบู้ ริสุทธ์ิไปเป็ นจานวนมาก
15เหตกุ ารณ์ก่อการร้ายสาคญั ท่ีผา่ นมา เช่น- การเกิดระเบิดในเมืองบาหลี ประเทศอนิ โดนีเซีย เม่ือวนั ท่ี 12 ตลุ าคม 2545- การเกิดระเบิดรถไฟในกรุงมาดริด ประเทศสเปน เมอื่ วนั ที่ 11 มนี าคม 2547 การเกิดระเบิดในกรุงลอนดอนเมื่อวนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2548- การเกิดสงครามในอฟั กานิสถานท่ีเริ่มตน้ ข้ึนหลงั จากตึก World Trade Center ถกู ถล่มไดไ้ ม่นาน และยงั คงมคี วามต่อเน่ืองจนมาถึงปัจจุบนั- สงครามอิรักภาค 2 ท่ีปัจจบุ นั ยงั คงหาจุดจบไม่พบ และยงั คงมีความรุนแรงเกิดข้ึนอยา่ งตอ่ เนื่องลกั ษณะของการก่อการร้าย - ใชค้ นที่มีความสามารถ มีการฝึ กฝน และมีความเชื่อหรืออยใู่ นลทั ธิเดียวกนั - มีระบบการคดั เลือก เป็นความลบั การบริหารการดาเนินการเป็ นไปอยา่ งลบั - มีเครือข่ายกระจายทวั่ โลก - ดา้ นการเงินไดจ้ ากการบริจาค และดาเนินกิจกรรมท่ีผดิ กฎหมาย - ใชอ้ าวธุ ทุกประเภทเท่าท่ีสามารถเขา้ ถึงตวั อยา่ ง ยทุ ธศาสตร์การต่อตา้ นการก่อการร้ายในรูปแบบของสหราชอาณาจกั ร (ยทุ ธศาสตร์ 4P)- ป้องกนั (Prevention) เช่น การหาตน้ เหตขุ องปัญหาและหาทางขจดั- ปฏิบตั ิการ (Pursuit) เช่น การขดั ขวางกล่มุ ก่อการร้ายโดยใชก้ ฎหมายบงั คบั- คุม้ ครอง (Protection) เช่น การคุม้ ครองเป้าหมายของกลมุ่ ก่อการร้ายอยา่ งแขง็ ขนัและเขม็ - เตรียมการ (Preparation) เช่น การตระเตรียมการตอบโตต้ อ่ ภยั คุกคามและการฟ้ื นฟหู ลงั จากเกิดภยั พบิ ตั ิอยา่ งมีประสิทธิภาพและรวดเร็วงวด
16ประเภทการก่อการร้าย อาจแบ่งประเภทของการก่อการร้ายไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ1 การก่อการร้ายภายในประเทศ หมายถึง การต่อสูด้ ว้ ยวธิ ีการรุนแรงของขบวนการก่อการร้ายภายในประเทศ ซ่ึงมุง่ ตอ่ ตา้ นรัฐบาลประเทศของตน การปฏิบตั ิการจะกระทาเฉพาะภายในประเทศตน ไม่กระทาขา้ มประเทศ และมกั จะไมม่ ีการปฏิบตั ิการร่วม (Joint Operations) หรือการร่วมมือประสานงานในการตอ่ สูด้ ว้ ยกาลงั อาวธุ กบั ขบวนการก่อการร้ายภายนอกประเทศ2 การก่อการร้ายขา้ มประเทศ หมายถึง การก่อการร้ายของขบวนการก่อการร้ายภายในประเทศ ซ่ึงโดยปกติมกั กระทาโดยขบวนการเดียว ไม่มีการเช่ือมโยงหรือปฏิบตั ิการร่วมกบั ขบวนการก่อการร้ายภายนอกประเทศ และเป้าหมายของการก่อการร้ายก็มุ่งกระทาการตอ่ ตา้ นรัฐบาลของตน3 การก่อการร้ายระหวา่ งประเทศ หรือ การก่อการร้ายสากล หมายถึง การก่อการร้ายซ่ึงมีการร่วมมือกนั กระทาการโดยขบวนการหลายขบวนการท่ีมีอยใู่ นประเทศตา่ ง ๆ ต้งั แตส่ องขบวนการข้ึนไป เพ่อื ใหบ้ รรลุจุดมงุ่ หมายทางการเมืองของขบวนการใดขบวนการหน่ึง หรือเพอ่ื บรรลุจดุ มุ่งหมายร่วมกนั ของหลายขบวนการ รัฐบาลท่ีตกเป็นเป้าหมายของการก่อการร้าย อาจเป็ นรัฐบาลประเทศใดประเทศหน่ึงหรือหลายประเทศท่ีเป็นปฏิปักษก์ บั ขบวนการก่อการร้ายต่าง ๆ และการก่อการร้ายมกั มีลกั ษณะเป็ นการกระทาแบบขา้ มประเทศเงื่อนไขการก่อการร้าย คาวา่ เง่ือนไข หมายถึง สภาวะที่เป็นอยแู่ ละบง่ บอกสภาวะที่ตอ้ งการเป็ นเงื่อนไขจึงเป็นปัจจยั สาคญั ประการแรกแห่งการก่อการร้าย หากเง่ือนไขของพวกก่อการร้ายสอดคลอ้ งกบัสภาวะท่ีเป็นอยู่ และบง่ บอกสภาวะที่ตอ้ งการเป็น ตรงกบั ใจประชาชนส่วนใหญท่ ่ีคิดและอยากใหป้ ระชาชนเป็นพวกและไดร้ ับการสนบั สนุนในการเป็ นโล่กาบงั ให้ เป็นแหล่งเสบียง เป็นแหล่งขอ้ มูลขา่ วสาร เป็นแหล่งหลบซ่อนให้ ในทางกลบั กนั หากเงื่อนไขของฝ่ ายรัฐบาลโดนใจประชาชนส่วนใหญม่ ากกวา่ หมายถึงหายนะของผกู้ ่อการร้ายเพราะนอกจากจะไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนดงั กล่าวแลว้ ประชาชนยงั รายงานข่าวความเคล่ือนไหวของผกู้ ่อการร้ายใหร้ ัฐบาลทราบเพอื่ ปราบปรามไดถ้ ูกท่ีถูกทางมูลเหตุจูงใจ (Motivation) มลู เหตูจงู ใจ ที่ทาใหเ้ กิดพฤติกรรมการก่อการร้าย คือ- การก่อการร้ายเพอื่ ศาสนา (Religious Terrorism) เช่น กลุ่มเจมาห์ อิสลามิยาห์ อินโดนีเซีย(Jemah Islamiah) ตอ้ งการตอ่ ตา้ นชาติตะวนั ตก และก่อต้งั รัฐอิสลามเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นชื่อ ดาอูเลาะห์ อิสลามิยาห์ รายา(Daulah IslamiahRaya) โดยรวมอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ภาคใตฟ้ ิ ลิปปิ นส์ ภาคใตก้ มั พชู า และภาคใตข้ องไทย เขา้ ดว้ ยกนัผลงานสาคญั คือการวางระเบิดสถานบนั เทิงในบาหลี ทาใหช้ าวตะวนั ตกเสียชีวติ 164 คน หน่วยปฏิบตั ิการของกลุ่มน้ีชื่อลสั การ์ กอห์ส ในภาคใตข้ องไทยมีกลมุ่ J.I. ซ่ึงอา้ งวา่ ทางานดา้ นการศึกษาศาสนา ไม่เก่ียวกบั J.I. อินโดนีเซียใชช้ ่ือวา่ วาฮาบี แต่ทางการไทยไดจ้ บั กมุ นายฮมั บาลี รองหน.กลุ่ม J.I. อินโดนีเซียไดท้ ี่อยธุ ยาเม่ือ 5 ส.ค.2546ในสถานะปลอมเป็นครูสอนศาสนา- การฆ่าลา้ งเผา่ พนั ธุ์ (The Ultimate Terrorism) เพื่อทาลายลา้ งเผา่ พนั ธุ์ ที่แตกต่างหรือผทู้ ี่มีความเช่ือแตกต่างใหห้ มดไป เชน่การสงั หารหมูใ่ นกมั พชู าโดยเขมรแดงในช่วง ค.ศ.1976–1978 ทาใหช้ าวกมั พชู าถกู ฆ่าตายประมาณ สองลา้ นคนเป้าหมายผกู้ ่อการร้าย- เป้าหมายทางทหาร ไดแ้ ก่ ทหาร, ที่ต้งั ทางทหาร, อาวธุ , กระสุน/วตั ถรุ ะเบิด, ศูนยเ์ ครือขา่ ยคอมพิวเตอร์, สถานท่ีพกั ผอ่ นรถโรงเรียน เป็ นตน้
17-เป้าหมายทางพลเรือน ไดแ้ ก่ ระบบพลงั งานและวศิ วกรรม (เขื่อน, โรงไฟฟ้า, บ่อขดุ เจาะน้ามนั , ทอ่ ส่งน้ามนั /ก๊าซ, โรงน้ามนั ฯลฯ) ระบบคมนาคม (เสน้ ทางรถไฟ, ท่ารถ, ท่าเรือ, สนามบิน ฯลฯ) ระบบการติดตอ่ ส่ือสาร (เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์การติดตอ่ ส่ือสาร, ศูนยค์ อมพิวเตอร์ ฯลฯ) และบุคคลสาคญั (เจา้ หนา้ ที่รัฐ/สถานทูต, ตารวจ, เจา้ หนา้ ท่ีติดตอ่ ประสานงานฯลฯ)วตั ถุประสงค์ของการก่อการร้าย- การข่มขู่ เป็ นวตั ถปุ ระสงคป์ ระการแรก ตอ้ งการใหเ้ กิดความหวาดกลวั รูปแบบการข่มขอู่ าจแตกต่างกนั คือแบบแรกคือการลอบสงั หารผนู้ าท่ีเอาใจออกห่างไปร่วมมือกบั ศตั รู แบบที่สอง คือการลอบสงั หารหมปู่ ระชาชนที่ไม่ยอ่ มอยใู่ ตก้ ารปกครอง แบบท่ีสาม คือการขม่ ขใู่ หก้ ลวั เพอื่ ปกป้องผลประโยชน์ การหลบหนีเข้าเมือง จากรายงานของสานกั ขา่ วกรองแห่งชาติ เกี่ยวกบั ปัญหาอาชญากรรมขา้ มชาติ ท่ีหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งตอ้ งเร่งเฝ้าระวงั และปราบปรามโดยด่วน หลงั จากพบวา่ กล่มุ ขบวนการดงั กล่าวไดแ้ ผอ่ ิทธิพลเขา้ มาทางดา้ นจงั หวดั ชายฝ่ังทะเลภาคตะวนั ออกมากข้ึนแลว้ และสร้างปัญหามากมาย ท้งั เร่ืองแรงงานต่างดา้ วหลบหนีเขา้ เมืองหรืออยโู่ ดยผิดกฎหมาย ปัญหากลุ่มมาเฟี ยต่างชาติและปัญหาการลกั ลอบคา้ ยาเสพติด โดยท่ีจงั หวดั จนั ทบุรี มีชาวแอฟริกนั นบั ร้อยไปอาศยั คา้ พลอย และเริ่มมีอิทธิพลมากข้ึน โดยพวกน้ีจะจา้ งคนไทยจดทะเบียนเป็ นภรรยาเพ่ือใหไ้ ดอ้ ยอู่ าศยั ในประเทศไทยได้ แตก่ ลบั สร้างปัญหาท้งั คา้ มนุษย์และคา้ ยาเสพติด ส่วนจงั หวดั ตราด มีปัญหาการลกั ลอบเขา้ เมืองและคา้ มนุษย์ และการคา้ ยาเสพติดตามแนวชายแดนกมั พชู าส่วนที่พทั ยากาลงั เป็ นแหล่งชุมนุมของอาชญากรหลายชาติ โดยเฉพาะ กล่มุ รัสเซีย เยอรมนี องั กฤษ และสแกนดิเนเวยี โดยแสร้งเปิ ดธุรกิจบงั หนา้ แต่เบ้ืองหลงั ใชไ้ ทยเป็นแหล่งฟอกเงิน นาเขา้ หญิงต่างชาติและส่งออกหญิงไทยเพื่อขายบริการทางเพศ คา้ ยาเสพติด ผลิตส่ือลามกอนาจารและสร้างอิทธิพล ถดั ไปคอื กลมุ่ เอเชียใต้ ไดแ้ ก่ปากีสถาน ซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกบั การปลอมแปลงหนงั สือเดินทาง บตั รเครดิต คา้ มนุษย์ (แกง๊ ลูกแพะ) และชาวศรีลงั กา ซ่ึงนาคนเขา้ เมือง เพ่ือลกั ลอบส่งไปประเทศที่สาม อีกท้งั ใชบ้ ตั รเครดิตปลอม นอกจากน้นั ยงั มีกลุ่มชาวแอฟริกนั เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน อิรัก มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ซ่ึงส่วนใหญ่ปลอมแปลงบตั รเครดิต หนงั สือเดินทาง หลอกลวงนกั ท่องเที่ยวตา่ งชาติและคา้ ยาเสพติด โดยรายงานของสานกั ขา่ วกรองแห่งชาติยงั ระบุดว้ ยวา่ “ในเอเชีย ไทยยงั คงเป็นทางผา่ นของผลู้ กั ลอบเขา้ เมือง จากเกาหลีเหนือไปยงั ประเทศที่สาม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เกาหลใี ตม้ ากข้ึน ในหว้ งรายงานทางการไทยจบั กมุ ชาวเกาหลีเหนือ 91คน ท่ีหลบหนีเขา้ เมืองมาซ่อนตวั อยทู่ ี่จงั หวดั ปทุมธานี เพือ่ รอการช่วยเหลือไปยงั ประเทศท่ีสาม ขณะเดียวกนั ชาวตา่ งชาติท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การปลอมแปลงหนงั สือเดินทางยงั คงใชไ้ ทยเป็ นศูนยก์ ลางในการจาหน่ายหนงั สือเดินทางปลอม”
18สถานการณ์แนวโน้มกลุ่มลกั ลอบเข้าเมือง พล.ต.ท.บุญเรือง ผลพานิชย์ ผบู้ ญั ชาการสานกั งานตารวจตรวจคนเขา้ เมือง ( ผบช.สตม.) ใหส้ มั ภาษณ์พิเศษถึงประเดน็ ปัญหาน้ีวา่ ในปัจจุบนั ไดแ้ บ่งกลุ่มคนหลบหนีเขา้ เมืองเป็น 3 กลุ่ม ประกอบดว้ ย 1.กลมุ่ คนตา่ งดา้ วทวั่ ไป พวกน้ีมีเกาหลีเหนือ ใชเ้ สน้ ทางโดยนงั่ เรือจากจีนและล่องมาตามแมน่ ้าโขงมาข้ึนท่ีแม่สาย หรือเชียงแสน จ.เชียงราย ขณะน้ีมีตวั เลขอยปู่ ระมาณ 500 คน โดยล่าสุดไดพ้ ดู คุยกบั ท่านทูตเกาหลีใตแ้ ลว้ วา่ ใหร้ ับกลุม่ คนเหล่าน้ีไปยงั เกาหลีใตด้ ว้ ย โดยจะไมม่ ีการผลกั ดนั ไปประเทศที่สาม นอกจากน้ีมีพวกจีน, บงั คลาเทศ, อินเดีย ปากีสถาน, เนปาล และศรีลงั กา 2.กลมุ่ ที่รัฐดูแลเป็ นการเฉพาะ เช่นผลู้ ้ีภยั จากการสูร้ บ 1-2 แสนคน ชาวมง้ กวา่ 6 พนั คน บุคคลในความห่วงใยสญั ชาติพมา่ และอ่ืนๆ และ3.แรงงานต่างดา้ ว มี พวกพมา่ ลาวและกมั พชู า ซ่ึงมีจานวนประมาณ 2 ลา้ นคน และลา่ สุดพบวา่ มีแรงงานต่างดา้ วชาวเวยี ดนามเร่ิมเขา้ มา นอกจากน้ียงั มีผหู้ ลบหนีเขา้ เมืองชาวโรฮิงญา หรือพมา่ อิสลามประมาณ 2 หมื่นคน โดยช่องทางท่ีคนเหล่าน้ีใชค้ ือ จุดผา่ นแดนถาวร 36 จุด , จุดผา่ นแดนชวั่ คราว,จุดผอ่ นปรน 47 จุด และช่องทางธรรมชาติ 732 จุด รวมท้งัช่องทางตามกฎหมายศุลกากร ภัยคุกคามความมนั่ คงชาติ ผบช.สตม.ยอมรับวา่ แน่นอนกลมุ่ คนต่างดา้ วเหลา่ น้ียอ่ มสร้างปัญหาและเป็นภาระใหแ้ ก่ประเทศชาติ ไมว่ า่ จะเป็ นปัญหาความมน่ั คงภายใน ปัญหาดา้ นอาชญากรรมและการไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ กฎหมาย ปัญหาชุมชนต่างดา้ ว ปัญหาดา้ นสาธารณสุข ปัญหาผตู้ ิดตามและเดก็ ไร้สญั ชาติ ปัญหาการแยง่ อาชีพคนไทย และปัญหางบประมาณและรายจ่ายของรัฐ โดยแนวโนม้ ของสถานการณ์ดงั กล่าวนบั วนั จะเพม่ิ ข้ึน ซ่ึงสามารถดูจากตวั เลขการผลกั ดนั ออกนอกประเทศ ปี 2547 รัฐได้ผลกั ดนั ออกจานวน 228,074 คน ปี 2548 ผลกั ดนั จานวน 232,425 คน และปี 2549 มีการผลกั ดนั ออกนอกประเทศจานน292,503 คน ท้งั น้ีหากสถานการณ์ประเทศไทยยงั ประสบปัญหาผลู้ กั ลอบเขา้ เมืองเพม่ิ ข้นึ เช่นน้ี แน่นอนวา่ ยอ่ มเกิดปัญหาภยัคุกคามในรูปแบบต่างๆ ท่ีมีผลกระทบตอ่ ความมน่ั คง และจานวนคนตา่ งดา้ วที่เพิม่ ข้ึนจะมีผลกระทบตอ่ ปัญหาของชาติในระยะยาว มาตรการป้องกนั ลักลอบเข้าเมือง สาหรับมาตรการป้องกนั การลกั ลอบเขา้ เมือง พล.ต.ท.บุญเรือง กล่าววา่ ทุกฝ่ ายตอ้ งร่วมมือกนั ไมว่ า่ จะเป็ นรัฐบาลประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง โดยลา่ สุด สตม.ไดจ้ ดั ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการโดยมที ุกหน่วยงานท้งั ทหาร ตารวจหน่วยงานดา้ นความมนั่ คง ภาคประชาชน และส่ือมวลชน เพ่ือระดมสมองแกป้ ัญหาลกั ลอบเขา้ เมืองจนไดข้ อ้ สรุปคือ 1. สกดั ก้นั ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในราชอาณาจกั ร โดยการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเคร่งครดั ลดจานวนจดุ ผอ่ นปรนในลกั ษณะประเพณีปฏิบตั ิ การทาขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศใหย้ ดึ ผลประโยชน์ประเทศชาติเป็นหลกั ฐานขอ้ มลู ตอ้ งทนั สมยั ตรวจสอบคนเขา้ ออกราชอาณาจกั รได้ และการคา้ ขายตามแนวชายแดนตอ้ งมีขอบเขตที่ชดั เจน 2.จดั ระเบียบคนตา่ งดา้ วท่ีเขา้ มาในราชอาณาจกั ร โดยยอมเอาใตด้ ินข้ึนมาบนดิน หรือการยอมใหพ้ วกเขา้ เมืองผดิกฎหมายออกมารายงานตวั โดยไม่ผดิ กฎหมาย เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ที่จดั ระเบียบก่อนที่จะเขม้ งวดจบั กมุ ตา่ งดา้ วท่ีเขา้ เมืองผิดกฎหมายตอ่ ไปเพ่อื ท่ีจะผลกั ดนั ออกนอกประเทศ สตม.ตอ้ งมศี ูนยข์ อ้ มลู IT และตอ้ งเช่ือมโยงขอ้ มลู กบั กระทรวงมหาดไทย
19กระทรวงแรงงาน และด่านตม.ทวั่ ประเทศได้ และการออกกฎหมายเอ้ือประโยชนใ์ หผ้ ปู้ ระกอบการที่ต้งั โรงงานตามชายแดน เพ่อื ไม่ใหก้ ลุม่ แรงงานตา่ งดา้ วทะลกั เขา้ มาในเมือง 3.เม่ือจดั ระเบียบเสร็จตอ้ งเขม้ งวดในการกวดขนั ปรามปรามจบั กมุ โดยการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งจริงจงั และแกไ้ ขกฎหมายใหม้ ีบทลงโทษหนกั ข้นึ 4. สถานที่ควบคุม ควรสร้างความไมส่ ะดวกใหก้ บั ผกู้ ระทาผดิ กฎหมายหลบหนีเขา้ เมือง 5. มาตรการผลกั ดนั ส่งกลบั ไปนอกราชอาณาจกั ร โดยประสานส่งกลบั ประเทศตน้ ทางเพื่อไม่ใหล้ กั ลอบเขา้ มาไดอ้ ีก 6. เม่ือผลกั ดนั แรงงานผดิ กฎหมายออก รัฐบาลตอ้ งติดตอ่ กบั รัฐบาลหรือ G to Go เพ่ือจดั ส่งแรงงานที่ถกู กฎหมายเขา้ มาชดเชยตอ่ ไป ทศิ ทางการพฒั นาสตม.เพ่ือบรรลเุ ป้าหมาย พล.ต.ท.บุญเรือง กล่าววา่ ในระยะส้นั ไดจ้ ดั โครงการฝึ กภาษาเพื่อนบา้ นใหต้ ารวจสตม.เพราะคนต่างดา้ วพวกน้ีเวลาถูกจบั มาแลว้ กพ็ ดู คุยกนั ไม่รู้เรื่อง และอยรู่ ะหวา่ งเตรียมลงนามขอ้ ตกลงร่วมระหวา่ งกรมการปกครอง และกรมการจดั หางานเพอ่ื เชื่อมโยงขอ้ มลู ท้งั หมดระหวา่ งกนั นอกจากน้ีจะตอ้ งพฒั นาระบบสารสนเทศ หรือไอที ซ่ึงปัจจุบนั สตม.ใชอ้ ยทู่ ้งั สิ้น3 ระบบ โดยตอ้ งพฒั นาใหเ้ ป็ นระบบเดียวกนั โดยใหส้ ตม.เป็ นเจา้ ภาพจดั การฐานขอ้ มลู กลาง ส่วนระยะเร่งด่วนไดจ้ ดั การระบบออนไลนเ์ ช่ือมโยงกนั ไดท้ ้งั 58 ด่านทว่ั ประเทศ นอกจากน้ีทุกด่านจะสามารถตรวจสอบแบค็ ลิสตข์ องบุคคลท้งั หมดไดใ้ นเดือนพฤษภาคมน้ี ขณะที่ในระยะยาว ไดว้ างระบบตรวจสอบบุคคลและบญั ชีตอ้ งหา้ ม หรือระบบ PIBIC โดยสามารถตรวจสอบบุคคลเช่ือมโยงกบั ป.ป.ส.กระทรวงการต่างประเทศในเร่ืองการออกพาสปอร์ต วซี ่า สายการบินท่ีจะพาผโู้ ดยสารเขา้ มา การผา่ นเขา้ ออกบอร์ดเดอร์พาส ท้งั 58 ด่านหรือหน่วยงานอ่ืนท่ีจะใชข้ อ้ มูลของสตม.ก็จะเขา้ มาได้ ถา้ สตม.อนุญาตใหเ้ ขา้ มา โดย สตม.จะเป็ นเจา้ ของระบบดงั กล่าวโดยขณะน้ีสตม.มีงบประมาณอยแู่ ลว้ 388 ลา้ น โดยไดเ้ ขียนโครงการเพื่อของบประมาณเพิ่มเติมจากรัฐบาลอีก 574 ลา้ น ซ่ีงจะใชง้ บประมาณท้งั สิ้น 962 ลา้ น โดยจะจา้ งจุฬาลงกรณ์เป็นที่ปรึกษาโครงการ และระยะเวลาแลว้ เสร็จภายใน 2 ปี หากเขียนโครงการแลว้ เสร็จกจ็ ะเสนอขอเขา้ คณะรัฐมนตรีเพื่อขออนุมตั ิตอ่ ไป ท้งั น้ีสตม.ไทยตอ้ งมีระบบไอทีท่ีสมบูรณ์เพื่อความมน่ั คงของชาติ แก้กฎหมายเพมิ่ โทษผู้นาพา นอกจากน้ีในการพฒั นาระยะยาว สตม.ไดเ้ สนอขอแกไ้ ขกฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมือง โดยขอใหเ้ พิม่ โทษผกู้ ระทาความผดิ โดยผอู้ ยใู่ นกระบวนการนาพาใหท้ ่ีพกั พิง ซ่อนเร้นโดยใหม้ ีอตั ราโทษเทียบเท่ายาเสพติด เช่นเพมิ่ จากจาคุกไม่เกิน10 ปี เป็ นจาคุกต้งั แต่ 4 ปี ถึง 15 ปี และโทษปรับจาก 1 แสนบาท เป็ นปรบั ต้งั แต่ 8 หม่ืนบาทถึง 3 แสนบาท ส่วนขา้ ราชการพนกั งานรัฐวสิ าหกิจ องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั องคก์ ารบริหารส่วนตาบล กานนั ผใู้ หญบ่ า้ น หากเป็ นผกู้ ระทาผิดเอง ตอ้ งไดร้ ับโทษเพิม่ ข้ึน 3 เท่า และกรณีท่ีไม่มีพยานหลกั ฐานเพยี งพอท่ีจะดาเนินคดีได้ แตม่ ีพยานหลกั ฐานเพียงพอที่จะดาเนินการทางวนิ ยั ก็อาจใหไ้ ลอ่ อก “จากการศึกษารูปแบบการแกป้ ัญหาลกั ลอบเขา้ เมืองของหลายๆ ประเทศ อยา่ งเช่นญ่ีป่ นุ มีมาตรการเดด็ ขาด ในการลด
20จานวนผลู้ กั ลอบเขา้ เมืองและอยอู่ ยา่ งผดิ กฎหมาย โดยยดึ หลกั ไมใ่ หม้ า ไมใ่ หเ้ ขา้ ไมใ่ หอ้ ยู่ โดยจะมที ีมพจิ ารณาและตรวจสอบก่อนอนุญาตวซี ่าก่อนท่ีจะใหม้ า แตเ่ ม่ือไดเ้ ขา้ มาแลว้ หากเจา้ หนา้ ที่คิดวา่ บุคคลน้ีอาจจะเป็นภยั ตอ่ ความสงบสุขสาธารณสุข หรือความมน่ั คง โดยพจิ ารณาบนพ้นื ฐานผลประโยชนข์ องสงั คมญ่ีป่ ุน ก็สามารถไมอ่ นุญาตใหเ้ ขา้ หรือไมใ่ ห้อยไู่ ด”้ “ส่วนอเมริกากเ็ ช่นกนั ใหค้ วามสาคญั ในเร่ืองการป้องกนั และปราบปรามการหลบหนีเขา้ เมอื ง โดยใชห้ ลกั Morepeople เพมิ่ ทีมเจา้ หนา้ ท่ีเพื่อเสริมกาลงั ป้องกนั และปราบปราม- Modern Technology ใช้ Sky Box และอากาศยานขนาดเลก็เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ร้ัวแนวชายแดน และ IT เพื่อความทนั สมยั ในการตรวจสอบ” ผบช.สตม. กล่าว “ยอมรับวา่ การพฒั นาระบบต่าง ๆ ใหส้ ามารถนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเป็ นรูปธรรม เพอื่ แกป้ ัญหาการลกั ลอบเขา้ เมืองน้นั ยงัเป็ นเรื่องยากลาบาก แต่ท้งั น้ีท้งั น้นั ตอ้ งข้นึ อยกู่ บั ความร่วมมือของประชาชนคนไทยดว้ ยกนั เองดว้ ย อยา่ ไปเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเพยี งเลก็ นอ้ ย เช่นรับจา้ งจดทะเบียน ใหท้ ่ีพกั พงิ หลบซ่อนแรงงานต่างดา้ ว แตค่ นไทยตอ้ งมงุ่ เนน้ ถึงความมนั่ คงและผลประโยชนข์ องชาติเป็ นหลกั จึงอยากเรียกร้องใหท้ ุกฝ่ ายช่วยกนั แกไ้ ขปัญหาความมนั่ คงของชาติ โดยตารวจตรวจคนเขา้เมืองเองไดย้ ดึ ความปลอดภยั และผลประโยชนข์ องประเทศชาติเป็นหลกั ในการทางาน และคิดวา่ ถึงเวลาแลว้ ท่ีคนไทยทุกคนตอ้ งมาสร้างสานึกแห่งความรักชาติดว้ ยกนั ”
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: