การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน 18 ขน้ั พน้ื ฐาน 15 มาตรฐาน ข้ันพน้ื ฐาน 4 ข้ันพน้ื ฐาน 3 มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน 65 ตัวบง่ ชี้ พ.ศ.2546 พ.ศ.2553 พ.ศ.2559 พ.ศ.2561 กฎกระทรวง กฎกระทรวง นโยบาย กฎกระทรวง ว่าดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี าร ว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และ ปฏิรูประบบประเมนิ การประกันคณุ ภาพ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน วธิ ีการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และการประกนั คณุ ภาพ การศึกษา พ.ศ.2561 สถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2553 การศึกษา พ.ศ. 2546
นโยบายการปฏริ ปู ระบบการประเมินและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๑. ปรบั จานวนมาตรฐานและตวั บง่ ชที้ ่สี ะทอ้ นคุณภาพ ๒. ลดภาระการประเมนิ ทยี่ งุ่ ยากกบั สถานศกึ ษา ๓. ลดการจดั ทาเอกสารเพื่อการประเมิน ๔. ปรบั ปรุงกระบวนการประเมินทีส่ รา้ งภาระแก่สถานศึกษา ๕. ปรบั มาตรฐานผู้ประเมินให้ได้มาตรฐาน
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อใหม้ ีกลไกการปฏบิ ัติทีเ่ ออ้ื ต่อการดาเนนิ การตามมาตรฐาน การศกึ ษาของแต่ละระดับ และเกดิ ประสิทธภิ าพในการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา อีกท้งั กฎกระทรวงฉบบั เดมิ ทป่ี ระกาศใช้เมอ่ื ปี ๒๕๕๓ ไม่สอดคลอ้ งกับหลกั การประกนั คุณภาพการศกึ ษาท่ีแทจ้ ริง ทาให้ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาท้ังภายในและภายนอกไมส่ ัมพนั ธ์กนั เกดิ ความซ้าซอ้ นและคลาดเคลอื่ นการปฏิบัติ ไม่สะท้อนความเป็นจริง เป็นการสรา้ งภาระแก่สถานศึกษา บคุ ลากร และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ท้งั ระบบเกินความจาเป็น
กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑) (๒) (๓)
นิยามการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 • การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษาแต่ละระดบั และประเภทการศึกษา • มีกลไกในการควบคมุ ตรวจสอบระบบการบรหิ ารคณุ ภาพการศกึ ษา ทสี่ ถานศกึ ษาจดั ขน้ึ • เพ่อื ให้เกิดการพัฒนาและสรา้ งความเชอ่ื มั่นใหแ้ ก่ผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ ง และสาธารณชนวา่ สถานศกึ ษานั้นสามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลเุ ปา้ ประสงค์ของ หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากบั ดแู ล สานักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ข้อ 3 กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพฯ พ.ศ.2561 ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จัดใหม้ รี ะบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา โดย... • กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะ ระดับและประเภทการศึกษาทรี่ ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาประกาศกาหนด • จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทมี่ ุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา • ดาเนนิ การตามแผนทก่ี าหนดไว้ • จดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา • ติดตามผลการดาเนินการเพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐาน การศึกษา • จดั ส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหแ้ กห่ นว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดแู ลสถานศึกษาเป็นประจาทกุ ปี สานักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา มาตรฐานและตัวชว้ี ัดตามหลักสูตร กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของ PLAN สถานศึกษา ดาเนนิ งานตามแผนฯ แผนการจัดการเรียนรู้ ประเมนิ ผลและตรวจสอบ ตดิ ตามผลการดาเนนิ การ DO จัดการเรยี นรู้ จัดทา/จัดสง่ รายงานการประเมินฯ ตดิ ตาม ตรวจสอบ CHECK และประเมนิ ผลการเรียนรู้ + ACT สรปุ และจดั ทารายงานผลการจดั การเรยี นรู้
ขอ้ 3 กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพฯ พ.ศ.2561 กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาสถาน ึศกษา ให้คาปรึกษา ชว่ ยเหลือ แนะนา จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ห ่นวยงาน ้ตนสังกัด รวบรวม และสังเคราะห์ SAR สถานศกึ ษา ของสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงาน ปรบั ปรุง และพฒั นา ดาเนนิ งานตามแผนฯ ประเมินผลและตรวจสอบ ให้ความรว่ มมือกับ สมศ. ติดตามผลการดาเนินการ จดั ทา/จัดส่งรายงานการประเมินฯ
องคป์ ระกอบสำคญั 01 มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ เป็ นข้อกำหนดเกยี่ วกบั คุณลกั ษณะ คุณภำพทพ่ี งึ ประสงค์ทต่ี ้องกำรให้เกดิ ขนึ้ ในสถำนศึกษำมำตรฐำนถูกกำหนดขนึ้ เพ่ือใช้เป็ น หลกั เทยี บเคยี งสำหรับกำรส่งเสริมและกำกบั ดูแล กำรตรวจสอบ กำรประเมนิ ผล และกำรประกนั คุณภำพทำงกำรศึกษำ 02 แผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ เป็ นแผนแม่บททจี่ ะกำหนดเป้ำหมำยและแนวทำงในกำรพฒั นำกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำในช่วงระยะเวลำทกี่ ำหนด โดยจดั ทำไว้เป็ นลำย ลกั ษณ์อกั ษรเพื่อให้เกดิ ควำมมน่ั ใจว่ำสถำนศึกษำจะดำเนินงำนตำมข้อตกลงท่กี ำหนดร่วมกนั น้ัน 03 แผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปี 04 เคร่ืองคำ้ ประกนั ว่ำเป้ำหมำยในกำรทำงำนในแต่ละปี มโี อกำสบรรลเุ ป้ำหมำยตำมทก่ี ำหนดไว้ เป็ นสิ่งทยี่ ืนยนั ว่ำเป้ำหมำยทต่ี ้งั ไว้น้ันมคี วำม เป็ นไปได้ เพรำะมแี ผนงำนรองรับท่ีชัดเจน รำยงำนกำรประเมนิ ตนเอง รำยงำนประเมินตนเองของสถำนศึกษำ อำจมีซื่อเรียกแตกต่ำงกนั ไป เซ่น รำยงำน กำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำประจำปี รำยงำนประจำปี รำยงำน ประเมินตนเองของสถำนศึกษำ รำยงำนกำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ แต่ท้ังนีจ้ ะมีเนื้อหำสำระ องค์ประกอบ ของรำยงำน และจุดมุ่งหมำย ไม่แตกต่ำงกนั คือ เพ่ือสะท้อนภำพควำมสำเร็จของกำรพฒั นำ คุณภำพสถำนศึกษำในรอบปี กำรศึกษำทีผ่ ่ำนมำภำยใต้บริบทของสถำนศึกษำ
มาตรฐานการศกึ ษาเพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายใน Education ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน : ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ Plan มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1.1 ผลการพฒั นาผู้เรยี น มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเปน็ สาคญั 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผูเ้ รยี น 1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
มำตรฐำนกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน มำตรฐำนกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน มำตรฐำนกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2561 Analytic Rubric (15 มำตรฐำน 65 ตวั บง่ ช)ี้ Holistic Rubric (3 มำตรฐำน 21 ประเดน็ ) วดั และประเมนิ ผูเ้ รยี น ครู เป็ นรำยบุคคล มกี ำรบรรยำยระดบั คณุ ภำพ วดั และประเมนิ ภำพรวมและรำยมำตรฐำน และไม่มกี ำรกำหนดน้ำหนกั รำยตวั บ่งชี้ มำตรฐำน และกำหนดน้ำหนกั คะแนน คะแนน Standard & Indicators Standard & Guideline & Quality code คำอธบิ ำยรำยมำตรฐำน ตวั บ่งชี้ มุ่งวดั ในเชงิ ปรมิ ำณ (ดำ้ นครูและผูเ้ รยี น) คำอธบิ ำยรำยมำตรฐำนกวำ้ งๆ และเชงิ คณุ ภำพ ใหน้ ำเสนอขอ้ มูลสนบั สนุนกำรตดั สนิ คณุ ภำพทชี่ ดั เจน 5 ระดบั คณุ ภำพ (ระดบั 1-5) 5 ระดบั คณุ ภำพ (กำลงั พฒั นำ-ยอดเยยี่ ม) มกี ำรกำหนดระดบั คณุ ภำพรำยตวั บง่ ชี้ รำยมำตรฐำน รำยดำ้ น และภำพรวม มกี ำรกำหนดระดบั คณุ ภำพรำยมำตรฐำน และภำพรวม มกี ำรคดิ น้ำหนกั คะแนนรำยมำตรฐำน รำยดำ้ น และภำพรวม ตำมเกณฑก์ ำร ไม่มนี ้ำหนกั คะแนน กำรตดั สนิ คณุ ภำพเนน้ ฉนั ทำมติ และขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษท์ เี่ กดิ ขนึ้ ภำยใตข้ อ้ มูลทหี่ ลำกหลำยตำมสภำพบรบิ ทของ ประเมนิ ทกี่ ำหนดเดยี วกนั สถำนศกึ ษำนนั้ ๆ
การปฏิรูปวิธีการประเมนิ : รปู แบบการประเมินแนวใหม่ 19 การประเมินแบบองค์รวม (Holistic Assessment) การประเมินโดยอาศัยร่องรอยหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ (Evidences Based Assessment) การประเมินและการตัดสนิ โดยอาศัยความเชีย่ วชาญ (Expert Judgment) การประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกนั (Peer review)
การประเมนิ แบบองค์รวม (Holistic Assessment) 20 ▪ บางคนเรียกวา่ “การประเมินแบบบูรณาการ (Integrated Assessment)” ▪ มงุ่ ประเมนิ งาน/กจิ กรรม/องคก์ ร ในภาพรวมมากกวา่ จะประเมนิ องคป์ ระกอบย่อยๆ ▪ ส่วนย่อย/หน่วยงานยอ่ ยจะถูกประเมนิ รวมไปด้วยกนั ▪ ต้องใชผ้ ู้ประเมนิ ทเ่ี ชีย่ วชาญ/มีประสบการณ์ (Professional judgement) ซึ่งจะช่วยลดเวลา การประเมินลงไดม้ าก และชว่ ยขจดั ความไม่นา่ เชื่อถือในการประเมินได้ ▪ อยบู่ นพ้ืนฐานของรอ่ งรอยหลกั ฐานท่ดี าเนินงานอยู่แลว้ (Evidence - based) * โดยสรุป..การประเมินแบบองคร์ วม จึงเป็นวิธกี ารใหค้ ะแนนส่ิงทจี่ ะประเมิน (ผลงาน กจิ กรรม กระบวนการ องค์กร) ซง่ึ มคี วามสมั พันธ์กันอยู่ภายใน โดยพิจารณาจากภาพรวมตามเกณฑ์หรือ มาตรฐานทก่ี าหนดและมีการอธิบายระดบั คุณภาพไวช้ ดั เจน ดว้ ยวิธกี ารประเมินหลาย ๆ วิธี
ความตา่ งของการประเมินแบบองค์รวมและแบบแยกสว่ น 21 การประเมินในองค์รวม (holistic) การประเมนิ แยกองค์ประกอบ (analytic) ๑. การประเมนิ ในองคร์ วม ๑. การประเมนิ แยกเป็นประเด็นย่อย ๒. การใหค้ ะแนนสิง่ ท่ตี อ้ งการวดั ประเมนิ แบบกวา้ งๆ ๒. การให้คะแนนสง่ิ ทีต่ อ้ งการวัดประเมินแบบแบ่งแยกส่วนสาหรับ โดยรวม ๑คา่ แตล่ ะองคป์ ระกอบจาเป็น หรือลักษณะสาคญั ๓. ใชป้ ระเมินผลงานหรอื กระบวนการปฏิบัตงิ านท่ี ๓. ใชป้ ระเมินผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานทซ่ี ับซอ้ นและตอ้ ง เรียบงา่ ย ไม่ซับซ้อน ใชม้ ิติ/เกณฑ์หลายด้านสาหรับใช้บง่ ช้ีคณุ ภาพของงานจงึ จะคลอบ คลุมและชดั เจน ๔. มีความรวดเร็วในการประเมินและ ๔. ใหค้ วามสาคญั ในการประเมินแต่ละประเด็น การตดั สนิ ใจ จงึ ใช้เวลาในการประเมนิ ๕. ผปู้ ระเมนิ จาเปน็ ตอ้ งมที ักษะและความรู้รอบดา้ น ๕. ผปู้ ระเมนิ ประเดน็ ไปทีละประเดน็ /ด้านตามที่กาหนด (expert judgment)
22 การประเมนิ โดยอาศยั ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidences Based Assessment) • หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ หมายถงึ ข้อเทจ็ จรงิ ทสี่ งั เกต/พสิ ูจน์/ยืนยัน โดยมขี ้อมูลหรอื หลกั ฐานประกอบการยืนยนั • รวบรวมได้จากบคุ คล 2 ฝ่าย คอื ผ้ปู ระเมนิ และผู้ถูกประเมิน • Evidences มี 3 กล่มุ ใหญ่ๆ ได้แก่ direct evidence, indirect evidence และ supplementary evidence • แหลง่ ข้อมูลเปน็ ได้ทงั้ งานเอกสารและไม่ใช่เอกสาร • วธิ ีเกบ็ ขอ้ มลู จากร่องรอยหลกั ฐานใชห้ ลายๆวธิ ี • เกบ็ และใชร้ อ่ งรอยหลักฐานหลายเหตุการณจ์ ะทาใหก้ ารประเมนิ นา่ เชอื่ ถอื ข้นึ
23 เทคนิคการทารายงานประเมินตนเอง เก็บข้อมูลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการปฏบิ ตั งิ านทกุ ๆ วนั (ทาให้เปน็ ปจั จุบนั ) เชน่ จากการ ประชมุ /อภิปราย การบันทกึ ขอ้ มูลทเี่ กดิ ขน้ึ การบันทกึ การสอน (เน้นตามบทบาท หนา้ ทขี่ องผู้ปฏบิ ตั งิ านนนั้ ๆ) * สงิ่ ทเี่ กดิ จากการปฏิบตั งิ านประจาวัน ประกอบดว้ ย ร่องรอยหลักฐาน (Evidences) ข้อมลู (Data) สารสนเทศ (Information) และผลจากการวเิ คราะหเ์ อกสาร (documented results) ** ขอ้ มลู จากแหลง่ เหลา่ นีจ้ ะชว่ ยยืนยนั ผลประเมินว่ามีความเทย่ี งตรง
24 การประเมนิ และการตดั สินโดยอาศยั ความเชีย่ วชาญ (Expert Judgment) ▪ ใช้ทักษะ/ความสามารถในการสงั เกตของผู้ประเมนิ ▪ มีความไวตอ่ การรับรู้สงิ่ ท่ีบอบบาง/ซบั ซ้อนยากแก่การเข้าใจ (แต่มคี วามสาคัญ) ▪ อาศยั ประสบการณ์ที่ชานาญการก่อนหนา้ ในการเขา้ ถงึ คุณค่าในสง่ิ ทป่ี ระเมนิ ▪ ใช้การพิจารณาและทาความเข้าใจใหล้ ะเอยี ดประณตี ▪ ใช้วิธกี ารเชงิ คุณภาพ เพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นถึงคุณคา่ ในสิง่ ประเมนิ เปน็ หลัก (แตไ่ มไ่ ด้ปฏเิ สธการใช้ตัวเลข เพอื่ ประกอบการพรรณนาสง่ิ ทีป่ ระเมนิ ให้ผอู้ นื่ รับร้แู ละเขา้ ใจได้ง่าย) ▪ ดาเนนิ การด้วยรูปแบบ/วิธีการยืดหยุน่ ไม่เปน็ ทางการ ไม่มกี ฎเกณฑ์ สตู รสาเรจ็ มกั เกิดข้ึนแบบ ฉับพลัน (มากกวา่ การวางแผน/กาหนดวิธีการเขม้ งวดไวล้ ว่ งหน้า) ▪ เน้นรวบรวมข้อมลู ดว้ ยการสมั ผสั สิ่งทป่ี ระเมนิ โดยผ่านการตรวจเย่ียมหรือเขา้ ชม (Site visit) เพื่อ รบั รูแ้ ละเข้าใจสงิ่ ท่ีประเมินด้วยประสบการณ์ตรงของตนเอง
25 การประเมนิ โดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (Peer review) การประเมนิ โดยคณะกรรมการระดับเดยี วกนั (Peer review) เป็น กระบวนการตรวจเยี่ยม ติดตาม ประเมิน โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิท่มี ี ความรคู้ วามสามารถ และประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั ิงานที่คลา้ ยกนั เพ่ือ ร่วมกันทบทวน วิเคราะห์ และใหข้ อ้ สงั เกต ขอ้ เสนอแนะ เชงิ พฒั นาในการ ปฏบิ ตั งิ าน
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๑) สถานศึกษาแต่ละแหง่ ตอ้ งจัดใหก้ ารประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตาม กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒) สถานศึกษาจัดทา “มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา” จัดทาแผนพฒั นาการจัด การศึกษา และดาเนินงานตามแผนตลอดช่วงปีการศึกษา และจดั ทา SAR ตามกรอบ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หลังสิ้นปีการศึกษา ๓) หน่วยงานตน้ สังกัด สรปุ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ SAR และจัดส่ง SAR พร้อมประเด็น ต่าง ๆ ที่ตอ้ งการใหม้ ีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ให้แก่ สมศ. ๔) การประเมินและการตัดสินระดับคณุ ภาพเปน็ ไปตามหลักการตัดสิน โดยอาศยั ความ เชีย่ วชาญ (expert judgment) และการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการ ประเมินในระดับเดียวกัน (peer review) โดยเทียบกบั เกณฑห์ รือมาตรฐานที่กาหนดไว้
5) การประเมินคณุ ภาพภายในเปน็ หนา้ ที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบ และประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาทีแ่ ท้จริง 6) การกาหนดเปา้ หมายความสาเร็จการดาเนินงานของสถานศึกษา ให้สถานศึกษากาหนดเป้าหมายความสาเรจ็ และเกณฑก์ ารประเมิน ตามสภาพบริบทของสถานศึกษา เพื่อตรวจสอบและประเมินผลตาม ภารกิจของสถานศึกษา และยึดหลักเพื่อพฒั นาและสะท้อนคุณภาพ 7) การประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ นน้ การประเมิน ตามหลกั ฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบตั ิงานตามสภาพจริงของ สถานศึกษา (evidence based)
8) คณะประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ศึกษามาตรฐานการศึกษาและ ประเดน็ พิจารณาทีก่ าหนดใหเ้ ข้าใจถอ่ งแท้ ดาเนินการประเมิน แล้วให้แจ้งผล การประเมินและให้ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงาน 9) ใหม้ ีการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา อย่างนอ้ ยปีละ ๑ คร้งั ให้ประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใชว้ ิธีการและเครื่องมือที่ หลากหลายและเหมาะสม 10) สถานศึกษาสรปุ และจดั ทารายงานการประเมินตนเองทีส่ ะท้อนคณุ ภาพผเู้ รียน และผลสาเร็จของการบริหารจัดการศึกษา นาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานและหน่วยงานตน้ สงั กดั เผยแพรร่ ายงานต่อสาธารณชน และหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และเตรียมรบั ประเมินภายนอก
11) โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาไม่มีรูปแบบตายตวั เสนอข้อมลู พืน้ ฐานเบื้องต้น และมุ่งเนน้ ตอบคาถามดงั นี้ คือ ๑) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีคณุ ภาพในระดับใด ๒) ขอ้ มลู หลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์สนบั สนุนมีอะไรบ้าง และ ๓) แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้สงู ขึน้ กว่าเดิมเป็นอย่างไร 12) ขอ้ ควรตระหนกั ในการประเมินคุณภาพภายใน ๑๒.๑) ผู้ประเมินมีความรลู้ ึกและเข้าใจบริบทของการจดั การศึกษาของ สถานศึกษา 1๒.๒) ผู้ประเมินวิเคราะหอ์ ภิปรายด้วยใจเป็นกลาง พิจารณาจากขอ้ มูล หลกั ฐานที่เกบ็ รวบรวมจากหลาย ๆ ดา้ น
๑๒.๓) สิง่ ทีม่ ีคุณค่ามากทีส่ ดุ ที่ได้รบั จากการประเมินภายในของ สถานศึกษา คือ การไดร้ บั ขอ้ ชีแ้ นะ คาแนะนา แนวทางการพฒั นา ๑๒.๔) การกาหนดระยะเวลาดาเนินการประเมินภายในของสถานศึกษา นน้ั ให้สถานศึกษากาหนดไดเ้ องตามความเหมาะสม แตค่ วร สอดคลอ้ งกับสภาพและบริบทของการดาเนินงาน ๑๒.๕) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในสว่ นของการสงั เกตและสมั ภาษณน์ ัน้ ควรกระทาด้วยความระมัดระวงั ตอ้ งสร้างความรู้สึกเป็นมิตร มากกว่าการจับผิดหรือการกลา่ วโทษ
รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report: SAR31) มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 สว่ นท่ี 1 บทสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหาร (1-2 หนา้ ) ▪ กระชบั รวบรดั จบั ประเดน็ สาคัญ และมที ม่ี าของหลกั ฐานชัดเจน ▪ เปน็ การประเมนิ ไมใ่ ช่แค่บรรยาย ▪ สอ่ื ใหเ้ หน็ อยา่ งชัดเจนถึงผลกระทบของสง่ิ โรงเรียนท่ีไดล้ งมือทาเพอ่ื พัฒนา คุณภาพดา้ นตา่ งๆ
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR32) มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 •สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลการประเมนิ ตนเอง นาเสนอข้อมลู ทั่วไป และตอบคาถาม 3 ขอ้ ข้อ 1 มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษามีระดบั คณุ ภาพใด ขอ้ 2 ขอ้ มลู หลักฐาน และเอกสารเชิงประจกั ษ์สนับสนุนมอี ะไรบา้ ง ข้อ 3 แผนงาน แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดขี ึ้นกว่าเดิม (อยา่ งนอ้ ย 1 ระดบั ) หรอื คงสภาพอย่างไร
รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report: SAR33) มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 •สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู การประเมินตนเอง ➢ การวิเคราะห์การเรียนการสอนและผลงานของนกั เรียน ➢ การวิเคราะห์ความคบื หนา้ และผลสัมฤทธขิ์ องนักเรยี น (กลมุ่ นักเรยี นตา่ งๆ) ➢ การวเิ คราะห์ความคืบหน้าและผลสมั ฤทธ์ิในอดีตของนกั เรียน ➢ การวเิ คราะหข์ ้อมลู เก่ียวกบั การประพฤตแิ ละความปลอดภัยของนักเรยี น (เชน่ การโดนทาโทษ การขาดเรยี น การเกดิ เหตุต่างๆ ฯลฯ) ➢ การวเิ คราะห์ประสิทธิผลของโครงการต่างๆ ท่ีโรงเรียนเคยทา ในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิหรอื พฤตกิ รรมของนกั เรยี น ➢ มุมมองของผู้ปกครอง ➢ การประเมนิ จากภายนอกตา่ งๆ เชน่ ผตู้ รวจของกระทรวง สมศ.
ข้อค้นพบ/ขอ้ เสนอแนะจากการสังเคราะห์ SAR • ✓รายงานการประเมินตนเองตามกรอบมาตรฐานสถานศกึ ษา • ✓เสนอผลการประเมนิ ในภาพรวมและรายมาตรฐาน • ✓มีรูปเล่มแสดงความเป็นตวั ตนของโรงเรียน • ✓มีสว่ นของข้อมูลทัว่ ไป, ผลการประเมินตนเอง, และแนวทางพัฒนา เพ่ือยกระดับใหส้ งู ขน้ึ • ✓จัดทารายงานการประเมินตนเองระดบั ปฐมวยั กบั ระดับการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน แบบแยกเล่ม/ แบบรวมเล่ม • ✓ไม่ใส่รปู โล/่ รางวลั /เกยี รติบตั ร/รูปภาพกจิ กรรม/ภาพทาเนยี บ บคุ ลากร/เอกสารอา้ งอิงที่ไม่จาเปน็
• จานวนหน้ามากเกนิ ไป (50-300 หน้า) • ขอ้ มลู ทั่วไปของสถานศกึ ษาทไ่ี มม่ คี วามจาเปน็ มีมากเกนิ ไป (มากกว่า 4 หน้า ถงึ 60 หนา้ ) • ภาคผนวก: เอกสารอ้างอิงประเภทคาสง่ั ตา่ งๆ, รปู ภาพเกยี รติ บตั ร, โลร่ างวัล, ภาพกิจกรรมตา่ งๆ • ไม่ระบุระดับผลการประเมินตนเอง • จดั ทาระดบั คณุ ภาพและตดั สนิ ผลในประเด็นยอ่ ยๆ ของแตล่ ะรายประเด็นพจิ ารณา • นาข้อมูลจากการประเมนิ กจิ กรรมการทางานมาใส่ในรายงาน
• รายชอ่ื โครงการกิจกรรมตา่ งๆ มาใสเ่ ปน็ หลักฐานประกอบ • เนือ้ หารายงานไมส่ ะทอ้ นข้อมูลประจักษใ์ นเชิงประเมิน • รายงานไมเ่ ปน็ รปู ธรรม เขียนเชงิ นามธรรม/หลกั การทางาน/ ตามประเดน็ พจิ ารณา • ไมม่ ีขอ้ มลู /สารสนเทศ/ผลในเชงิ ประเมิน หรือมีแต่ขาดการนา สารสนเทศมาใช้แสดงการพัฒนา เพ่ือสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ผล การประเมนิ • ไมไ่ ด้มาจากกระบวนการประเมนิ ภายในท่ีแทจ้ รงิ
ตวั อยา่ ง 37 1. ขอ้ มลู ทั่วไป โรงเรียนเจริญธานี ท่ีต้ัง 123 หมู่ 1 ตาบลเจริญธานี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สังกัดสานักงานเขต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ข อ น แ ก่ น โ ท ร ศั พ ท์ 0 2 - 0000000 โ ท ร ส า ร 0 2 - 0000000 e-mail [email protected] website: aaaabangk.net ได้รับอนุญาตจัดต้ังเมื่อวันท่ี 13 กันยายน 2456 เปดิ สอนระดบั ชัน้ อนุบาลปที ี่ 1 ถงึ ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 2. ข้อมลู นกั เรียน ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเจรญิ ธานี มนี ักเรียนระดับประถมศึกษาจานวน 433 คน (ข้อมลู 10 มิถนุ ายน 2561) 3. ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา โรงเรียนเจริญธานี มีบุคลากรจานวนทั้งสิ้น 34 คน จาแนกได้ดังน้ี ผู้บริหารจานวน 2 คน ข้าราชการครู จานวน 21 คน ครูอัตราจ้างงบ สพป. จานวน 1 คน ครูอัตราจ้างงบเทศบาล จานวน 8 คน ครูธุรการ จานวน 1 คน ครูพี่เลย้ี งเดก็ พเิ ศษ จานวน 1 คน
ตัวอยา่ ง 38 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม 1.1 หลักฐานสนบั สนุนผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรียน นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 มีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผ้เู รียน (Reading Test : RT) อย่ใู นระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 62.50 และมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าใน ระดับจังหวดั และระดบั ประเทศ นักเรียนช้นั ป. 6 ร้อยละ 80 มีค่าเฉลีย่ O-NET สงู กว่าค่าเฉลีย่ ระดบั ประเทศ 3 ปีติดต่อกนั นักเรียนร้อยละ 86.33 มีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พ้นื ฐานในระดับดีขึ้น ไป จากผลการประเมินรายวิชาคอมพิวเตอร์ปลายปีการศกึ ษา นักเรียนร้อยละ 75.81 มีคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ในระดบั ดีขึ้นไป สูงกว่าปีการศึกษาที่ผ่าน มา 3%
ตวั อย่าง 39 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ : ดี หลักฐานสนับสนนุ สถานศึกษามีเป้าหมายวิสัยทศั น์ และพันธกิจที่โรงเรียนกาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียน ความต้องการของชมุ ชน และมีการปรับให้สอดคล้องกับผลการประเมินท่านมา และบริบทของสถานศึกษาทุกปี สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูทุกคนได้รับการพฒั นาศกั ยภาพในโครงการคปู องครู ผ้ปู กครองมีระดบั ความพึงพอใจตอ่ การดาเนินงานของสถานศกึ ษาระดับดีขึ้นไป 3 ปีติดต่อกัน สถานศึกษามีจานวนอัตราส่วนคอมพิวเตอร์ ต่อจานวนนกั เรียนสงู กว่า จานวนที่ สพฐ.กาหนด สถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การคณุ ภาพอย่างเปน็ ระบบ มีการพฒั นางานอย่างต่อเนือ่ ง และมีสถานศึกษาอืน่ มาศึกษาดงู าน
ตวั อย่าง 40 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ หลกั ฐานสนับสนุน ครรู ้อยละ 100 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียน สงู ขึ้น จากปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทกุ คนจดั การเรียนการสอนในรปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบเชิงรกุ (Active Learning) ครรู ้อยละ 100 ได้ทาการวิเคราะห์หลักสตู รและจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยการออกแบบหน่วย การเรียนรู้ ครูผ้สู อนวิชาภาษาไทยทุกคน นาผลการประเมินการอ่านของนกั เรียนมาใช้ในการพฒั นาการ เรียนร้ขู องนักเรียน
ตัวอย่าง 41 แผนพฒั นาเพือ่ ใหไ้ ด้มาตรฐานทีส่ งู ขึ้น จ้างครูทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแรก 3 คน มาประจาวิชาภาษาองั กฤษ จดั ซื้อคอมพิวเตอร์ จานวน 10 เครือ่ ง ให้เพียงพอกบั จานวนนักเรียน จัดประชมุ ผู้ปกครอง ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพือ่ ให้ผ้ปู กครองนักเรียนได้สะท้อน ผล และเพิ่มระดบั ความร่วมมือในการพฒั นาการเรียนการสอน ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เพื่อพฒั นาการวัดประเมินผล ในช้ันเรียน
42 ซงึ่ อาจวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ไว้ ดงั นี้
กาหนด มาตรฐาน รายงานการประเมนิ พัฒนาเข้า ภายนอก ส่มู าตรฐาน EQA กฏกระทรวงฯ IQA การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 สมศ. จดั ทา SAR ประเมนิ วเิ คราะ์ห ประเดน็
Search