Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสาวภคนันท์ จิรสินสุนทร ใบงานบทที่4

นางสาวภคนันท์ จิรสินสุนทร ใบงานบทที่4

Published by jirasinsuntorn, 2021-09-08 13:49:08

Description: ใบงานบทที่4

Search

Read the Text Version

คำถามทบทวน บทท่ี 4 1.การประเมินคุณภาพภายนอกมีพัฒนาการความเปน็ มาทสี่ ำคัญในดา้ นไหน อย่างไรบา้ ง การประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบหนึ่ง (พ.ศ. 2544 – 2548) ดา้ นท่ี 1 ด้านผ้เู รยี น มี7 มาตรฐาน มงุ่ ประเมินดา้ นความตระหนักของสถานศกึ ษา ดงั น้ี ระดับก่อนประถมศึกษา มาตรฐาน 1,4,5,6,9,10,12 ระดบั ประถมศึกษา หรอื ระดับประถมศกึ ษา-มัธยมศึกษา มาตรฐาน 1,4,5,6,9,10,12 ดา้ นท่ี 2 ดา้ นครูมี 2 มาตรฐาน มาตรฐาน 22,24 ดา้ นที่ 3 ด้านผบู้ ริหาร มี 5 มาตรฐาน มาตรฐาน 13,14,18,20,25 การประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสอง (พ.ศ. 2549 – 2553) ดา้ นที่ 1 ด้านผ้เู รียน มี 7 มาตรฐาน มาตรฐาน 1-7 ด้านท่ี 2 ดา้ นครูมี 2 มาตรฐาน มาตรฐาน 8-9 ด้านท่ี 3 ด้านผู้บรหิ าร มี 5 มาตรฐาน มาตรฐาน 10-14 การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั (2 - 5 ปี) ได้กำหนดตัวบ่งชี้ เป็น 3 กล่มุ คือ กลุ่มตัวบ่งชีพ้ ้นื ฐาน กลุ่มตัวบง่ ช้ีอัตลักษณ์ และกลุม่ ตัวบง่ ช้ี มาตรการส่งเสรมิ ให้ สอดคล้องกบั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 และกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 38 สมศ. ทำการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศึกษาแตล่ ะแหง่ ตาม มาตรฐานการศึกษา ของชาติและครอบคลุมหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี 1) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาใน แต่ละระดับและประเภทการศึกษา 2) มาตรฐานท่วี า่ ดว้ ยการบริหารจัดการศึกษา 3) มาตรฐานที่วา่ ดว้ ยการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 4) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพ ภายใน การประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ. 2559 – 2563) ตามมตขิ องส านักงานรบั รอง มาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประชมุ คร้ังที่ 10/2560 เมอื่ วนั ที่ 12 กนั ยายน 2560 ก าหนดก

รอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ไว้ดงั น้ี การแบ่งระดับการประเมิน ระดับการประเมิน แบ่ง ออกเปน็ 4 ระดบั ดังนี้ 1) ระดับการศึกษาปฐมวยั (Early Childhood Education) ประเมนิ สถานศึกษาที่จัด การศกึ ษา ระดับวัยต่ ากว่า 6 ปี ทอี่ าจมีชอ่ื เรียกวา่ โรงเรยี นอนบุ าล ศูนยเ์ ดก็ เลก็ หรือมีชื่อเรยี กเป็นอ่นื 2) ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (Basic Education) ประเมินสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 3) ระดบั อาชวี ศึกษา (Technical and Vacational Education) ประเมินสถานศึกษา ประเภท อาชีวะ 4) ระดับอดุ มศึกษา (Higher Education) ประเมนิ สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาระดบั ปรญิ ญา ตรี ปริญญาโทและปรญิ ญาเอก 2.การประเมินคุณภาพภายนอกในระดับตา่ งๆมแี นวทางการดำเนินงานอยา่ งไร 1) การศึกษาปฐมวัย - ใช้กลไกการประเมินคณุ ภาพ ภายนอก เพอ่ื กระตุ้นและจูง ใจใหเ้ กิดการ ยกระดบั คุณภาพ การศกึ ษาท่ีสอดคล้องกบั ความต้องการจำเป็นและ ยุทธศาสตรข์ องประเทศ - เน้นการประเมนิ เพ่ือรับรอง คุณภาพของระบบประกัน คุณภาพภายในของ สถานศกึ ษา เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ สถานศึกษาและต้นสังกดั รบั ผดิ ชอบในการพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาให้เป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาชาติ ตามจดุ ม่งุ หมายของ หลักสูตรและมคี วามพร้อมในการ แขง่ ขันในระดบั สากล - ใหค้ วามสำคัญกบั การประเมิน ที่มุ่งสกู่ ารพัฒนาแบบย่ังยืน เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รยี นมี สมรรถนะทจำเป็นสำหรับดำเนินชวี ติ ในอนาคต และสถานศึกษามขี ดี สมรรถนะสงู สามารถพัฒนา ตนเองได้อยา่ ง ต่อเนื่องในอนาคต - เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้าง ความโดดเด่นเฉพาะทาง หรือ เป็นตน้ แบบในการพัฒนาใน ระดบั ภูมภิ าค ระดับชาติ และ ระดบั นานาชาติ 2) การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน - ใชก้ ลไกการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก เพ่ือกระตุน้ และจูง ใจให้เกิดการ ยกระดับคณุ ภาพ การศึกษาท่สี อดคล้องกบั ความต้องการจ าเป็นและ ยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ - เน้นการประเมินเพ่ือรับรอง คุณภาพของระบบประกนั คุณภาพภายในของ สถานศึกษา เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ สถานศึกษาและต้นสงั กดั รับผิดชอบในการพฒั นา คุณภาพการศึกษาใหเ้ ป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาชาติ ตามจดุ มุง่ หมายของ หลกั สตู ร และมีความพร้อมในการแข่งขนั ในระดบั สากล - ให้ความสำคญั กับการประเมนิ ที่มุ่งสกู่ ารพัฒนาแบบยั่งยืน เพื่อส่งเสริมให้ ผูเ้ รียนมี สมรรถนะทีจ่ าเปน็ สำหรับดำเนนิ ชวี ติ ในอนาคต และสถานศึกษามขี ดี สมรรถนะสูง สามารถพัฒนา ตนเองไดอ้ ยา่ ง ต่อเนื่องในอนาคต - เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้าง ความโดดเด่นเฉพาะทาง หรอื เปน็ ตน้ แบบใน การพฒั นาใน ระดับภมู ภิ าค ระดับชาติ และ ระดับนานาชาติ

3) อาชีวศกึ ษา - การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ต้องมีความเชื่อมโยงกบั ระบบ ประกันคุณภาพ ภายในของ สถานศกึ ษาและหนว่ ยงาน ต้นสงั กัดในรูปแบบของการ ตรวจทานซ้ำ(Double Check) - การประเมินคุณภาพภายนอก ตอ้ งสง่ เสริมให้เกดิ การยกระดบั คุณภาพการ จดั การ อาชวี ศกึ ษาใหม้ ีมาตรฐานใน ระดับสากล 4) อดุ มศึกษา - ประเมินตามพันธกจิ ของ สถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาท่ี สอดคล้องกบั ความ ตอ้ งการตาม แผน ยทุ ธศาสตร์ชาติ - ใชข้ ้อมูลพ้นื ฐานร่วมกันและ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ต้องสามารถ ตอบสนองกบั การ การ ประกนั คุณภาพภายในท่ีมี ความหลากหลาย และ พจิ ารณาประเดน็ ความเป็น นานาชาติและการเรียนรู้ที่ หลากหลาย (Diversity of Knowledge) ของสถานศึกษา ระดบั อุดมศึกษา 3.เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพแต่ละระดบั มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไร มเี หตุผลอย่างไรในการจัดทำเกณฑท์ ่ี แตกต่างเหล่านัน้ เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพแต่ละระดับมีความแตกต่างตามขำนวนตัวช้วี ดั และการตัดสินคุณภาพแต่ ละระดับ 4.ขั้นตอนการดำเนินงานในการประกันคณุ ภาพภายนอก มีการดำเนนิ การอย่างไร 1) สถานศึกษาประเมินตนเอง (Self-Assessment) วิเคราะห์ สังเคราะหผ์ ลการด าเนินงาน ตาม ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน แล้วจดั ส่งรายงาน การประเมนิ ตนเองที่ได้รบั ความเห็นชอบจาก ต้นสงั กัดให้ สมศ. ตามระยะเวลาและเง่ือนไขที่ก าหนด 2) สมศ. วิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษา (Pre-Analysis) จากฐานขอ้ มลู ของ หน่วยงานต้น สงั กัด เพ่ือตรวจสอบความพร้อมดา้ นปัจจัยการ ด าเนนิ งานของสถานศึกษาขั้นตน้ ตาม โปรแกรมการ ตรวจสอบท่ีก าหนด 3) คณะผู้ประเมนิ ภายนอกประชมุ พจิ ารณาผลการด าเนนิ งานของสถานศึกษาจากรายงาน การ ประเมนิ ตนเองรว่ มกับผลการวิเคราะห์ข้อมลู พ้ืนฐาน (Pre-Assessment) เพื่อวางแผนการลง พ้นื ท่ีตรวจเย่ียม ตามมาตรฐานและเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายนอก รวมทั้งระบุประเด็น จดุ แขง็ ประเดน็ ปรับปรุง และก าหนดวนั ลงพน้ื ท่ตี รวจเย่ยี ม 4) คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นทตี่ รวจเยี่ยม (Site Visit) เพ่อื ประชมุ เสวนาสร้างสรรค์ ร่วมกับผูม้ ี สว่ นไดส้ ่วนเสีย และเก็บรวบรวมข้อมลู เชิงคุณภาพกับบคุ ลากร หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และ หน่วยงาน/บุคคลท่ี มสี ว่ นเก่ยี วข้องเพมิ่ เติม รวมท้ังทำฒการรายงานผลประเมนิ ด้วยวาจา 5) คณะผูป้ ระเมินภายนอกจัดท ารายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก (EQA Report) พรอ้ ม ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา แล้วจดั ส่งให้ สมศ. เพอื่ พจิ ารณาให้ การรับรองผลการ ประเมนิ จากนั้น สมศ. จะจัดส่งให้กบั สถานศึกษาและหนว่ ยงานต้นสงั กัดหรือ หนว่ ยงานทกี่ ำกบั ดูแล

สถานศกึ ษานนั้ ๆ เพ่ือใช้ประโยชน์ต่อไป ภายในระยะเวลา 7 วัน นบั ถดั จาก วันที่คณะกรรมการบรหิ าร สมศ. ให้การรบั รองผลการประเมิน 5.การประกันคุณภาพภายในและการประกนั คณุ ภาพภายนอกมีจดุ เช่ือมประสานตอ่ กันอย่าไร การประกนั คณุ ภาพภายในกบั กรประเมินคุณภาพคณุ ภาพภายนอกเชื่อมโยงดว้ ยมาตรฐานการศึกษา โดยสถานศกึ ษาจะใช้มาตรฐานการศกึ ษาใดก็ได้ให้เหมาะสมและบรบิ ทของสถานศึกษา แต่ควรมสี ว่ นท่ี สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการประเมนิ ภายนอก ซึ่งพัฒนาตามจุดมุง่ หมาย หลักการ และแนวทางการจดั ศึกษา ของพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติรวมอยูด่ ว้ ย 6.ในฐานะทท่ี า่ นเปน็ ครูผู้สอน ท่านมีบทบาทโดยตรงหรือโดยทางอ้อมอย่างไรในกระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอก มบี ทบาทโดยตรงในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก เพราะ 1 สรปุ ขอ้ มูลสารสนเทศเกยี่ วกบั ผลการด าเนินงานของสถานศกึ ษา ผลการ ประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น ผลงานดีเดน่ ของผูเ้ รยี น ศกั ยภาพของครู สภาพการจดั การเรยี นการสอน ปัญหาและสภาพความต้องการจ าเปน็ นโยบาย ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ความ ตอ้ งการของผู้ปกครอง ผูเ้ รียนและชมุ ชน 2 ร่วมประชุมหรือ สมั มนา วเิ คราะหส์ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ปญั หาและความ ตอ้ งการจ าเปน็ ก าหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์และเป้าหมายความสำเรจ็ ของ สถานศกึ ษา ร่วมกับ บุคลากรและผู้มสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย รวมทง้ั ก าหนดเป้าหมาย/ความสำเรจ็ สกู่ าร พฒั นางานในหน้าท่ี รบั ผดิ ชอบ 3 ดำเนนิ กิจกรรม/โครงการ สรุปรวบรวมรายงาน และประเมินผลกิจกรรม/ โครงการ ตาม แผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทม่ี ่งุ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษาและแผนปฏบิ ัติ การประจำปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook