SIAM GS BATTERY CO., LTD. HAZARD IDENTIFICATION & RISK ASSESSMENT การบง่ ชอี้ นั ตรายและการประเมนิ ความเสย่ี ง
INTRODUCTION คานยิ าม อนั ตราย สง่ิ หรอื สถานการณ์ทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ หรอื ความเจ็บป่ วยจาก การทางาน ทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ การชบี้ ง่ อนั ตราย การแจกแจงอนั ตรายทม่ี แี ละทแี่ อบแฝงอยใู่ นทกุ งาน ทกุ จดุ ทางาน ทกุ กจิ กรรม ทกุ ขนั้ ตอนงาน ตลอดจน วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร และสงิ่ แวดลอ้ มการทางาน เป็ นตน้ ความเสย่ี ง ความน่าจะเป็ นของการเจ็บป่ วย บาดเจ็บหรอื สญู เสยี อนั เนอ่ื งจากอบุ ตั เิ หตจุ ากการทางานในสถานประกอบกจิ การ
INTRODUCTION คานยิ าม การประเมนิ ความเสยี่ ง กระบวนนการวเิ คราะหถ์ งึ ปัจจัยตา่ งๆ ทอี่ าจเป็ นเหตทุ าใหอ้ นั ตรายทมี่ ี และทแ่ี อบแฝงอยกู่ อ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ การเจ็บป่ วย โรคจากการทางาน หรอื อบุ ตั ภิ ัยรา้ ยแรง โดยพจิ ารณาถงึ โอกาสทจ่ี ะเกดิ และความรนุ แรง ของอนั ตรายเหลา่ นัน้ และการนามาตดั สนิ วา่ ความเสย่ี งนัน้ อยใู่ นระดบั ท่ี ยอมรบั ไดห้ รอื ไม่ อบุ ตั เิ หตุ เหตกุ ารณ์ทไ่ี มไ่ ดค้ าดคดิ ไวล้ ว่ งหนา้ ซง่ึ มผี ลใหเ้ กดิ การเสยี ชวี ติ ความ เจ็บปวย การบาดเจ็บ ความเสยี หาย หรอื ความสญู เสยี อน่ื ๆ ความเจ็บปวยจากการทางาน ความเจ็บปวยทไ่ี ดพ้ จิ ารณาวา่ มสี าเหตจุ ากกจิ กรรมการทางาน หรอื สงิ่ แวดลอ้ มของทที่ างาน
INTRODUCTION ขอ้ กาหนด ISO 45001 6.1.2.1 การชบี้ ง่ อนั ตราย 6.1.2.2 การประเมนิ ความเสยี่ ง 8.1 การวางแผนและการ 8.1.2 ควบคมุ การกาจดั อนั ตราย และลดความเสย่ี ง
INTRODUCTION ขอ้ กาหนด ISO 45001 การกาจดั อนั ตราย และลดความเสย่ี ง การกาจดั อนั ตรายและความเสยี่ งควรดาเนนิ การตาม “ลาดบั ชนั้ ของการควบคมุ อนั ตราย” หรอื “Hierarchy of Controls”
ขนั้ ตอนการประเมนิ ความเสย่ี ง ขน้ั ตอนพน้ื ฐานของการประเมนิ ความเสย่ี ง 1. แยกประเภทกจิ กรรม 2. ชบี้ ง่ อนั ตราย 3. กาหนดความเสย่ี ง 4. ตดั สนิ วา่ เป็ นความเสย่ี งทยี่ อมรบั ได้ หรอื ไม่ 5. จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ ความเสย่ี ง (ถา้ จาเป็ น)
แยกประเภทกจิ กรรม 1. แยกประเภทกจิ กรรม สารวจพน้ื ทห่ี รอื บรเิ วณทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย เชน่ พน้ื ทที่ างาน พน้ื ทท่ี างเดนิ พนื้ ทเี่ ก็บสารเคมี โดยครอบคลมุ ทกุ กจิ กรรม หรอื การเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ o งานประจา เชน่ งานผลติ ตาม WI งานเอกสาร o งานทที่ าเป็ นครงั้ คราว เชน่ การลา้ งทาความสะอาดประจาปี งานบารงุ รักษา งานซอ่ มแซม งานกอ่ สรา้ งหรอื ตอ่ เตมิ เป็ นตน้ โดยระบลุ งในฟอรม์ ทะเบยี นกจิ กรรม (SE-F-SHE-003) New !! SE-F-SHE-003 Rev.01
แยกประเภทกจิ กรรม หวั ขอ้ ทตี่ อ้ งนามาพจิ ารณา พฤตกิ รรม ความสามารถ และปจั จยั ตา่ งๆ ของบคุ คล ปจั จยั ทางสงั คม เชน่ ภาระงาน, ชว่ั โมงทางาน, การเป็ นเหยอ่ื , การขม่ ข,ู่ ความเครยี ดจากการทางาน อนั ตรายทเี่ กดิ ภายนอกสถานทท่ี างาน เชน่ ออกไปทางานนอกบรษิ ทั ฯ การเปลย่ี นแปลง กระบวนการ หรอื วตั ถดุ บิ การออกแบบพนื้ ที่ กระบวนการ การตดิ ตง้ั เครอื่ งจกั ร/อปุ กรณ์ ระเบยี บ การปฏบิ ตั งิ าน
แยกประเภทกจิ กรรม ระบงุ าน/กจิ กรรมทท่ี า ใหก้ รอกรายละเอยี ดกจิ กรรม/ลักษณะพน้ื ท/่ี งาน ลงในแบบฟอรม์ การชบี้ ง่ อันตรายและ ประเมนิ ความเสย่ี ง SE-F-SHE-004 การบง่ ชอี้ นั ตราย ประเมนิ ความเสย่ี ง 1 ประเมนิ ความเสยี่ ง 2 ลาดบั ระบอุ นั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ กฎหมาย ลาดบั รายละเอยี ดกจิ กรรม/ รปู ถ่าย (ถา้ ม)ี ผลกระทบ โอกาส (Likelihood) % โอกาส การจดั การ ลกั ษณะพ้นื ท/่ี งาน L1 L2 L3 L4 L5 L6 L7 L8 L9 L10 ระดับโอกาส ความรุนแรง ระดับความเส่ียง ระดับความเส่ียง ลาดบั รายละเอยี ดกจิ กรรม/ รปู ถา่ ย (ถา้ ม)ี ลาดบั ลกั ษณะพืน้ ท/ี่ งาน
แยกประเภทกจิ กรรม ระบงุ าน/กจิ กรรมทที่ า ตัวอยา่ งการระบงุ าน/กจิ กรรมทที่ า แผนก : LABORATORY งานทร่ี บั ผดิ ชอบ : วเิ คราะหค์ ณุ ภาพวตั ถดุ บิ และชน้ิ สว่ น 1 รายละเอยี ดงาน : 1. สมุ่ ตวั อย่าง Pure lead , Lead alloy , Grid , Lead sheet และ Lead powder 2. สมุ่ ตวั อยา่ ง Concentrated sulphuric acid 2 3. สมุ่ ตวั อยา่ งแผน่ ธาตุ ( Unformed plate , Formed plate ) 3 4. สมุ่ ตวั อย่าง Electrolyte 5. เตรยี มตวั อยา่ ง Pure Lead , Lead Alloy, Grid , Lead sheet 4 5
แยกประเภทกจิ กรรม ระบงุ าน/กจิ กรรมทที่ า ตัวอยา่ งการระบงุ าน/กจิ กรรมทที่ า แผนก : OEM งานทรี่ บั ผดิ ชอบ : การชารจ์ ไฟ Battery รถ Forklift ไฟฟ้ า 1 รายละเอยี ดงาน : 1. ถอดตวั ลอ๊ คฝาครอบเครอื่ ง 2 2. ถอดสายชารจ์ เพอ่ื ตัดสญั ญาณไฟ 3. ใชม้ อื จบั ฝาครอบเครอื่ งเปิดยกขน้ึ ยกขนึ้ 3 4. ใสแ่ ขนค้ายนั ฝาคลมุ เครอื่ ง 4 5. ใชม้ อื เปิดจกุ Battery ออก 6. เทน้ากลนั่ ลงในชอ่ งของ Battery 5
การชบี้ ง่ อนั ตราย 1. ระบุอนั ตรายทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ระบอุ ันตรายทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ รวมถงึ ผลกระทบ ลงในแบบฟอรม์ การชบี้ ง่ อันตรายและ ประเมนิ ความเสย่ี ง SE-F-SHE-004 การบง่ ชอ้ี ันตราย ประเมนิ ความเสยี่ ง 1 ประเมนิ ความเสยี่ ง 2 ลาดบั ระบอุ นั ตรายทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ กฎหมาย ลาดบั รายละเอยี ดกจิ กรรม/ รปู ถา่ ย (ถา้ ม)ี ผลกระทบ โอกาส (Likelihood) % โอกาส การจดั การ การบง่ ชอ้ี นั ตราย ลกั ษณะพืน้ ท/่ี งาน L1 L2 L3 L4 L5 L6 L7 L8 L9 L10 ระดับโอกาส ความรุนแรง ระดับความเสี่ยง ระดับความเส่ียง ยละเอยี ดกจิ กรรม/ รปู ถา่ ย (ถา้ ม)ี ลาดบั ระบอุ นั ตรายทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ผลกระทบ ลกั ษณะพน้ื ท/่ี งาน L
การชบี้ ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย HAZARD IDENTIFICATION อนั ตรายทางชวี ภาพ อนั ตรายทางกายภาพ (Biological) (Physical) ปัจจัยของสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ กดิ จาก แสงสวา่ ง เสยี ง ฝ่ ุน รงั สี แรงดนั รวมถงึ สงิ่ มชี วี ติ เชน่ การตดิ เชอื้ โรคจาก อันตรายตามลักษณะประเภทของการบาดเจ็บ ไวรสั แบคทเี รยี เชอ้ื รา ตามลักษณะการเกดิ เชน่ การถกู ตัด ถกู บาด ถกู หนบี ฟกช้า ถกู กระแทก ไฟฟ้าชอ๊ ต อนั ตรายดา้ นเคมี (Chemical) อนั ตรายดา้ นการยศาสตร์ (Ergonomics) ปัจจัยของสง่ิ แวดลอ้ มในรปู สารเคมชี นดิ ตา่ งๆ ทม่ี กี ารใช ้ ทาใหเ้ กดิ ขน้ึ หรอื มกี าร เกดิ ขน้ึ จากลักษณะการจัด ปะปนในพนื้ ทป่ี ฏบิ ัตงิ าน เชน่ การกัดกรอ่ น สภาพแวดลอ้ มในการทางานทไ่ี ม่ ระคายเคอื ง การระเบดิ สารพษิ สารไวไฟ เหมาะสม การทางานซ้าซาก ออก แรงเกนิ กาลัง ทา่ ทางไมถ่ กู ตอ้ ง อนั ตรายดา้ นจติ สงั คม (Psychological) เชน่ ความเครยี ด วัฒนธรรมทไี่ มเ่ ขา้ กัน การขม่ ขู่ กดขี่ ชม่ เหง รังแก เวลาการ ทางาน งานลว่ งเวลา ทางานเกนิ กาลัง
การชบี้ ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายทางชวี ภาพ ปัจจยั ของสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กดิ จากสง่ิ มชี วี ติ เชน่ การตดิ เชอ้ื โรคจาก (Biological) ไวรัส แบคทเี รยี เชอ้ื รา • อาหารหมดอายุ • สตั วม์ พี ษิ • อาหารเป็ นพษิ • พชื มพี ษิ • เชอ้ื โรค เชอื้ ราตา่ งๆ • เชอ้ื แบคทเี รยี • พยาธิ หนอน • เชอื้ ไวรสั เชน่ COVID-19 • สตั วพ์ าหะ เชอ้ื H3N2
การชบี้ ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายดา้ นเคมี (Chemical) ปัจจัยของสงิ่ แวดลอ้ มในรปู สารเคมชี นดิ ตา่ งๆ ทมี่ กี ารใช ้ ทาใหเ้ กดิ ขนึ้ หรอื มกี าร ปะปนในพน้ื ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน อปุ กรณช์ ดุ เชอ่ื มก๊าซไมร่ ัดป้ องกนั การลม้ • พนื้ ทอี่ บั อากาศ (Confined Space) การจดั เก็บสารเคมหี ลายชนดิ รวมกนั • สารเคมไี วไฟ • ระเบดิ จากการทาปฏกิ รยิ าของสารเคมี • สารกอ่ มะเร็ง • การหกร่ัวไหล • การฟ้งุ กระจาย • การกดั กรอ่ น ระคายเคอื ง • การปนเป้ือน
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายทางกายภาพ (Physical) • สะดดุ ลม้ • รงั สี • ตกหลมุ ตกทอ่ • ไฟไหม ้ • ชน กระแทก • แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ • เสยี งดงั • ถกู ตดั ถกู บาด เจาะ • แสงจา้ • ตกจากทส่ี งู • ถกู เกย่ี ว • สนั่ สะเทอื น • แรงดนั • ถกู หนบี บบี อดั • ไฟฟ้าชอ็ ต • ครดู • ไฟฟ้าดดู • ทมิ่ แทง เสยี บ • ฝ่ นุ • กระเดน็ ดดี สะบดั • ฟมู • วสั ดตุ ก หลน่ ทบั • ลนื่
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายทางกายภาพ (Physical) Hand-Arm vibration แรงสน่ั สะเทอื นทมี่ อื และแขน เกดิ จากเครอ่ื งมอื ใน การทางานทมี่ คี วามสน่ั สะเทอื น เชน่ สวา่ นไฟฟ้ า เลอื่ ยไฟฟ้ า เครอื่ งเจาะ คอนกรตี Whole Body Vibration ความสน่ั สะเทอื นทว่ั รา่ งกาย เป็ นความ สนั่ สะเทอื นทสี่ ง่ ผา่ นมาจากพนื้ ของสถานทที่ างาน หรอื โครงสรา้ งของวัตถมุ ายงั ทกุ สว่ นของรา่ งกาย เชน่ การสน่ั สะเทอื นจากการขบั รถโฟลค์ ลฟิ
การชบี้ ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายทางกายภาพ (Physical) ไฟฟ้ าช็อต (Short Circuit) หรอื ไฟฟ้ าลดั วงจร คอื กระแสไฟฟ้ าไหลครบวงจร โดยไมผ่ า่ น ไฟฟ้ าดดู (Electric Shock) เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ า (Load) ทาใหก้ ดิ ความรอ้ นสงู ในจดุ เกดิ จากไฟรัว่ จากวงจรมายังอปุ กรณ์ไฟฟ้ า เมอ่ื เราสมั ผัส ลดั วงจร เป็ นเหตเุ กดิ ไฟไหม ้ กระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นรา่ งกาย ทาใหก้ ลา้ มเนอื้ ภายใน ไดร้ ับความเสยี หาย มแี ผลไหม ้ ชกั หมดสติ
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายดา้ นการยศาสตร์ (Ergonomics) • สภาพแวดลอ้ มในการทางานทไ่ี มเ่ หมาะสม พน้ื ทจี่ ากัด • การทางานซา้ ซาก เป็ นเวลานาน • ออกแรงเกนิ กาลงั • ทา่ ทางไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ ยกของผดิ ทา่ นั่งทางานผดิ ทา่ • การเอยี้ ว เออื้ ม เขยง่ มดุ กม้ • การใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เดมิ ซา้ เชน่ การจอ้ งจอคอมนานๆ • โรคออฟฟิศซนิ โดรม
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายดา้ นจติ สงั คม (Psychological) • ความเครยี ดจากการทางาน ความกดดนั • การทางานกะ งานลว่ งเวลา ชว่ั โมงการทางานทม่ี ากเกนิ ไป • การกดี กนั ทางสงั คม • การถกู ขม่ ข่ี กดขี่ ขม่ เหง รังแก หรอื ทาใหอ้ ับอาย • การคกุ คามทางเพศ (Sexual Harassment)
การชบี้ ง่ อนั ตราย ประเภทของอนั ตราย อนั ตรายอนื่ ๆ • ภัยธรรมชาติ เชน่ น้าทว่ ม ฟ้าผา่ พายุ • งานกอ่ สรา้ ง งานตอ่ เตมิ • อบุ ัตเิ หตทุ เ่ี กดิ ขนึ้ (Injury Person, Fire Accident, Property Damage & Traffic Accident) • ไฟดับ • อนื่ ๆ
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ผลกระทบจากอนั ตราย ควรระบผุ ลกระทบจากอนั ตรายใหช้ ดั เจน เพอ่ื งา่ ยตอ่ การระบคุ วามรนุ แรง ในขนั้ ตอนถัดไป • สรา้ งความราคาญ • บาดแผลตน้ื • เคล็ดขดั ยอก ถลอก ฟกชา้ บวม • บาดแผลลกึ บาดแผลฉกรรจ์ • กลา้ มเนอ้ื อกั เสบ ปวด • ถกู อดั กระแทกจนเละ • กระทบกระเทอื น และชา้ ภายใน • ถกู ไฟไหม ้ • พอง แสบรอ้ น ระคายเคอื ง • ถกู สารพษิ กดั กร่อน • ขอ้ ตอ่ เคลอื่ น • การสลบ หมดสติ • กระดกู หกั แตก รา้ ว • ระบบทางเดนิ หายใจตดิ ขดั • ถกู ตดั หรอื เฉอื นเนอ้ื หรอื อวยั วะ • โรคชนดิ เฉยี บพลนั โรคเรอื้ รัง
การชบ้ี ง่ อนั ตราย ระบอุ นั ตรายทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ตัวอยา่ งการระบอุ ันตราย ควรระบุใหช้ ดั เจน วา่ อนั ตรายเกดิ จาก อะไร? และสง่ ผลกระทบอยา่ งไร? เชน่ ไฟฟ้ าดดู จากการใชเ้ ครอ่ื งวเิ คราะห์ สง่ ผลกระทบใหห้ มดสติ หวั ใจหยุดเตน้
การประเมนิ ความเสยี่ ง เกณฑป์ ระเมนิ โอกาส (ตอ่ ) ประเมนิ ความเสยี่ งตามหลกั เกณฑข์ องโอกาสทจี่ ะเกดิ และความรนุ แรง ลงแบบฟอรม์ SE-F-SHE-004 L1 L2 L3 L4 L5 Person Time (hr/w) Training 1 = กาหนด และ 1 = 1-5 1 = < 10 1 = เล็กน้อย 1 = มี อบรม 2 = 6-10 2 = 10-30 2 = ใชเ้ วลา เหมาะสม 2 = กาหนด 3 = > 10 3 = > 30 3 = ทนั ที 2 = มี ไม่ แต่ไมอ่ บรม เหมาะ 3 = ไมก่ าหนด ไม่ 3 = ไม่มี อบรม • L1 = จานวนพนักงานทอี่ ันตราย • L2 = ระยะเวลาทสี่ มั ผัสอันตราย • L3 = การสมั ผสั กับสง่ิ อันตราย (ความเป็ นอนั ตราย) • L4 = วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน ( WI, PROCEDURE, ประกาศ, คมู่ อื ) • L5 = การฝึกอบรม
การประเมนิ ความเสย่ี ง เกณฑป์ ระเมนิ โอกาส (ตอ่ ) ประเมนิ ความเสยี่ งตามหลกั เกณฑข์ องโอกาสทจี่ ะเกดิ และความรนุ แรง ลงแบบฟอรม์ SE-F-SHE-004 L6 L7 L8 L9 L10 PPE Safety Guard Safety Patrol Warning ตรวจสอบ 1 = ม+ี 1 = ม+ี เหมาะสม 1 = มี 1 = มี และ 1 = มอี ยา่ ง เหมาะสม 3 = ไมม่ ี /มี 2 = มี แต่ไม่ เหมาะสม ต่อเน่ือง 3 = ไม่ม/ี แต่ บนั ทกึ 2 = มี แต่ไม่ 2 = มแี ตไ่ ม่ 3 = ไมม่ ี เหมาะ ตอ่ เน่ือง มแี ตไ่ ม่ใช้ ไม่ 3 = ไม่มี 3 = ไม่มี เหมาะสม • L6 = การตรวจสอบวธิ ปี ฏบิ ตั ิ • L7 = PPE และอัตราการใช ้ • L8 = เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจักร อปุ กรณค์ วามปลอดภยั • L9 = การตรวจสอบความ ปลอดภัย • L10 = การเตอื นอันตราย
การประเมนิ ความเสยี่ ง โอกาสทจี่ ะเกดิ อนั ตราย เกณฑก์ ารประเมนิ โอกาส ถา้ ขอ้ ใดไมเ่ กยี่ วขอ้ ง ไมต่ อ้ งพจิ ารณาขอ้ นัน้ โอกาส = (ผลบวกของคะแนน ของข้อที่เก่ียวข้อง X 100) ผลบวกของคะแนนสงู สดุ ของข้อท่ีเกี่ยวข้อง ระดบั ของโอกาสทจี่ ะเกดิ อนั ตราย • นอ้ ย ≤ 50% • ปานกลาง > 50 – 75 % • สงู > 75 % ขน้ึ ไป
การประเมนิ ความเสยี่ ง เกณฑป์ ระเมนิ ระดบั ความรนุ แรง แบง่ ไดเ้ ป็ น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ มาก ปานกลาง นอ้ ย ระดบั ความรนุ แรงตอ่ คน ความรนุ แรงตอ่ ทรพั ยส์ นิ มาก เสยี หาย > 100,000 บาท ปานกลาง บาดเจ็บ/เจ็บป่ วยหยดุ งาน เชน่ ทพุ พลภาพ สญู เสยี อวยั วะ นอ้ ย เสยี ชวี ติ โรคมะเร็ง เสยี หาย 10,000-100,000 บาท บาดเจ็บ/เจ็บป่ วยหยดุ งาน < 3 วนั เชน่ เกดิ บาดแผล กระแทก เสยี หาย < 10,000 บาท เคล็ด กระดกู รา้ ว หหู นวก ผวิ หนังอักเสบ โรคทางเดนิ หายใจ บาดเจ็บ/เจ็บป่ วยทไ่ี มท่ าใหห้ ยดุ งาน เชน่ ฟกชา้ ระคายเคอื ง ราคาญ ระดบั มาก (A) ตาย พกิ าร หรอื สญู เสยี อวยั วะ ระดบั ปานกลาง (B) บาดเจ็บ หรอื หยดุ การผลติ ระดบั นอ้ ย (C) บาดเจ็บเล็กนอ้ ย (ไมห่ ยดุ งาน) หรอื ไมห่ ยดุ การผลติ
การประเมนิ ความเสย่ี ง เกณฑป์ ระเมนิ ทางกฎหมาย ระดบั ความเสย่ี งดา้ นกฎหมาย แบง่ ไดเ้ ป็ น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ไมส่ อดคลอ้ ง ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง สอดคลอ้ ง NC = NON COMPLIANCE ไมส่ อดคลอ้ งกบั กฎหมาย NA = NOT APPLICABLE ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั กฎหมาย C = COMPLIANCE สอดคลอ้ งกบั กฎหมาย
การจดั ลาดบั ความเสย่ี ง เกณฑก์ ารตดั สนิ ความเสย่ี ง เกณฑใ์ นการจัดลาดับความเสยี่ ง ใชต้ ารางดงั ตอ่ ไปน้ี
การควบคมุ ความเสยี่ ง การเตรยี มแผนควบคมุ ความเสยี่ ง ระดบั ความเสย่ี งแตล่ ะระดบั จะถกู นามาดาเนนิ การป้องกนั ควบคมุ และแกไ้ ขอยา่ งเหมาะสม ตามทรี่ ะบไุ วใ้ นแตล่ ะระดบั ความเสยี่ ง ซงึ่ อาจมมี ากกวา่ 1 อยา่ งก็ได ้ ดงั นี้ ความเสยี่ งเล็กนอ้ ย ไมต่ อ้ งดาเนนิ การใดๆ ความเสย่ี งทยี่ อมรบั ได้ ไมต่ อ้ งดาเนนิ การใดๆ ตอ้ งมกี ารเฝ้ าระวงั เพอ่ื ใหร้ ะดบั ความเสยี่ งนี้ ความเสย่ี งปานกลาง ไมเ่ พม่ิ ขนึ้ กวา่ ระดบั น้ี ตอ้ งมมี าตรการควบคมุ ความเสย่ี งภายในเวลาทเี่ หมาะสม จาเป็ นใน ความเสย่ี งสงู การเฝ้ าระวงั ความเสย่ี งนเ้ี ป็ นระยะๆ เพอื่ ใหร้ ะดบั ความรนุ แรงนล้ี ดลง ความเสยี่ งยอมรบั ไมไ่ ด้ จดั ทาแผนงานดา้ นความปลอดภยั และตอ้ งลดความเสย่ี งจงึ จะเรม่ิ งานได ้ หยดุ งานทนั ที หา้ มทางานจนกวา่ จะปรับปรงุ และจดั ทาแผนงาน ดา้ นความปลอดภัย
การควบคมุ ความเสยี่ ง แผนปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ ความเสย่ี ง • ความเสย่ี งระดบั ยอมรบั ได้ ถงึ ระดบั เล็กนอ้ ย ไมต่ อ้ งดาเนนิ การใดๆ แตส่ ามารถอา้ งองิ ตาม Procedure หรอื WI ได ้ (ถา้ ม)ี • ความเสยี่ งระดบั ปานกลาง การจดั การสามารถอา้ งองิ เป็ น Procedure หรอื work instruction เชน่ SE-P-SHE-009 (safety standard) , SE-W-SHE-003 การทางานกบั ไฟฟ้าอยา่ งปลอดภัย
การควบคมุ ความเสย่ี ง แผนปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ ความเสย่ี ง • ความเสย่ี งระดบั สงู ตอ้ งจดั ทาแผนงาน SHEMP ตามแบบฟอรม์ SE-F-SHE-032 และลดความเสย่ี ง จงึ จะเรมิ่ งานไดแ้ ละใหอ้ า้ งองิ หมายเลข SHEMP ตวั อยา่ งความเสย่ี งระดบั สงู ตวั อยา่ ง SHEMP : 2019/CA-001 • ความเสยี่ งยอมรบั ไมไ่ ด้ ใหห้ ยดุ งานทนั ที และทาแผนงาน SHEMP
การควบคมุ ความเสย่ี ง การจดั การ PROCEDURE ISO 14001 & ISO 45001 สาหรบั อา้ งองิ • SE-P-SHE-001 Communication • SE-P-SHE-002 Risk Assessment & Opportunities • SE-P-SHE-003 Hazard Identification & Risk Assessment • SE-P-SHE-004 Environmental Aspect • SE-P-SHE-005 Law & Other Requirement • SE-P-SHE-006 Incident & Accident Investigate • SE-P-SHE-007 Document Information Control • SE-P-SHE-008 Chemical & Oil Handing • SE-P-SHE-009 Safety Standard • SE-P-SHE-010 Occupational Health Management • SE-P-SHE-011 Personal Protective Equipment
การควบคมุ ความเสยี่ ง การจดั การ PROCEDURE ISO 14001 & ISO 45001 สาหรบั อา้ งองิ • SE-P-SHE-012 Vendor control • SE-P-SHE-013 Contractor & outsourcing control • SE-P-SHE-014 Waste management • SE-P-SHE-015 Water pollution control • SE-P-SHE-016 Air pollution control • SE-P-SHE-018 Emergency preparedness and response • SE-P-SHE-019 Monitoring & measurement • SE-P-SHE-020 Internal audit • SE-P-SHE-021 Management review • SE-P-SHE-022 Nonconformity and corrective actions • SE-P-TD-001 Resource using control
การควบคมุ ความเสยี่ ง การจดั การ WORK INSTRUCTION ISO 14001 & ISO 45001 ทเี่ กย่ี วขอ้ งสาหรบั อา้ งองิ • SE-W-SHE-001 การใชเ้ ครนและดแู ลรกั ษาอยา่ งปลอดภยั • SE-W-SHE-002 การใชร้ ถ Fork Lift อยา่ งปลอดภัย • SE-W-SHE-003 การทางานเกยี่ วกบั ไฟฟ้า • SE-W-SHE-004 การทางานทอ่ี บั อากาศอยา่ งปลอดภัย • SE-W-SHE-005 การปฏบิ ัตงิ านบนทสี่ งู อยา่ งปลอดภัย • SE-W-SHE-006 แผนป้องกันและระงับอคั คภี ัย • SE-W-SHE-007 แผนป้องกนั และตอบโตส้ ารเคมแี ละน้ามันหกรั่วไหล • SE-W-SHE-008 แผนป้องกนั และตอบโตภ้ าวะกา๊ ซรวั่ ไหล • SE-W-SHE-009 แผนป้องกันและตอบโตภ้ าวะน้าทว่ ม • SE-W-SHE-011 การปฏบิ ตั งิ านกบั เครอื่ งจักร • SE-W-SHE-012 การปฏบิ ตั งิ านทเี่ กดิ ประกายไฟอยา่ งปลอดภยั
การควบคมุ ความเสย่ี ง การจดั การ WORK INSTRUCTION ISO 14001 & ISO 45001 ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสาหรบั อา้ งองิ • SE-W-SHE-029 PM Scrubber • SE-W-SHE-030 PM Bag fiter • SE-W-SHE-031 Operate Scrubber • SE-W-SHE-032 Operate Bag fiter • SE-W-SHE-039 Yokoten • SE-W-SHE-041 Log out tag out
Hazard Identification & Risk Assessment No Detail Due Date 1 ทกุ หน่วยงานทบทวนทกุ กจิ กรรม ทกุ งาน ครอบคลมุ ในพนื้ ที่ 7 Feb 2022 ของตนเอง 11 Feb 2022 2 เมอื่ ทบทวนแลว้ นามาชบ้ี ง่ อนั ตรายและประเมนิ ความเสยี่ งลง 15 Feb 2022 แบบฟอรม์ และสง่ กลบั มายังหน่วยงาน SHE 3 หน่วยงาน SHE ตรวจสอบการประเมนิ ความเสย่ี ง และสง่ ใหต้ น้ สังกดั เซ็น Thank you for your attention
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: