Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลองยาวสุโขทัย

กลองยาวสุโขทัย

Published by Tanakorn Boonphasuk, 2022-01-30 05:14:01

Description: กลองยาวสุโขทัย

Search

Read the Text Version

ภาพประกอบท่ี 29 เครอื่ งแตง่ กายผ้แู สดงหญิงท่ีใชแ้ สดงในตอนกลางคนื 6. เสียงกลองยาว เสียงปะ๊ เปน็ เสียงท่เี กิดจากการตดี ้วยมือขวาไปท่หี น้ากลอง โดยตกี ดมือให้มอื แนบตดิ ไปกบั หนา้ กลองกางนวิ้ เลก็ น้อย หา้ มเสยี งไม่ใหก้ งั วาน เสยี งบอ่ ม เป็นเสยี งทีเ่ กดิ จากการใชฝ้ า่ มือหรือกาปั้นตีลงบนกลางหนา้ กลอง บรเิ วณท่ีติดขาว สกุ เมื่อตีแลว้ จะต้องยกฝา่ มือหรอื กาปน้ั ขน้ึ จากหนา้ กลอง เพือ่ ใหเ้ สียงกังวาน เสยี งเพริ่ง เป็นเสยี งทเี่ กิดจากการตโี ดยใชม้ ือขวาและมือซ้ายตีลงทีห่ น้ากลองดว้ ยนา้ หนักท่ี เท่ากัน อาจใชม้ อื ซ้ายตีก่อนแลว้ ตามดว้ ยมอื ขวาเหลอื่ มกันเล็กนอ้ ย และต้องตีเปิดมือ เสยี งพรู เป็นเสียงทเี่ กิดจากการตีดว้ ยมือขวาและมือซ้ายบริเวณขอบกลอง โดยตีสลับกันใน ลกั ษณะ “รวั ” กลองยาวสุโขทยั หนา้ 47

7. มือกลอง การเล่นกลองยาวสุโขทัย คณะทองหลอมสุโขทัยจะมีแบบแผนการบรรเลงและแบบแผนการ แสดงคือก่อนที่จะเร่ิมการแสดงผู้บรรเลงและผู้แสดงจะต้องไหว้ครูเสียก่อน เมื่อไหว้ครูเสร็จแล้วจึง เริ่มต้นการบรรเลงซึ่งจะต้องเริ่มต้นด้วยการโหมโรงกลองชุดใหญ่และเม่ือจะเริ่มการแสดงก็จะต้อง เร่มิ ตน้ ดว้ นการราไหว้ครู แล้วจึงเริ่มการแสดงชุดต่าง ๆ เช่น ราหมู่ชาย ราล้อหญิง ราหมู่ชายหญิง รา ซึ่งการแสดงแต่ละชดุ จะมมี ือกลองท่ีไดร้ ้อยเรยี งเปน็ แบบเฉพาะของการแสดงแต่ละชดุ การบรรเลงประกอบการแสดงจะมีการใช้มือบากเพ่ือเป็นสัญลักษณ์ให้ผู้แสดงเปล่ียนท่าได้ พรอ้ มเพรยี งกัน และขณะเดียวกันผู้บรรเลงก็จะต้องคอยสังเกตท่าราว่าผู้แสดงราหมดท่าแต่ละท่าแล้ว หรือยงั เม่ือหมดท่าจึงใชม้ อื บาก ซึ่งผูบ้ รรเลงจะต้องใช้ความสามารถในการบรรเลงเป็นอย่างมาก คน ตีกลองจะไม่ฟังจนหมดเพลงป่ีแต่จะดเู พียงท่าราเปน็ สาคัญเท่านั้น แต่ในการโหมโรงก็จะพบว่าบางช่วง บางตอนมกี ารตกี ลองให้เขา้ กบั ทานองของป่ีด้วยเช่นกัน ภาพประกอบที่ 30 การไหว้ครู กลองยาวสุโขทัย หนา้ 48

โหมโรงกลองชุดใหญ่ ไม้ 1 ปข่ี นึ้ นา - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง -ปะ๊ –เพริ่ง -ปะ๊ –เพริ่ง -ปะ๊ –เพริ่ง -ป๊ะ–เพร่ิง ตเี ร่งจงั หวะขนึ้ จบห้องสดุ ทา้ ยใหร้ ัว เล่นท้ังหมด 3 ครัง้ ไม้ 2 - - - เพร่ิง - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง - - - เพร่ิง - - - เพร่ิง - - - เพร่ิง ไม้ 3 - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง - - - ปะ๊ - - - เพริ่ง - - - ปะ๊ - - - เพร่ิง ไม้ 4 - - - ปะ๊ - เพริ่ง-เพริ่ง - - - ปะ๊ - เพร่ิง-เพร่งิ - - - ปะ๊ - เพรง่ิ -เพรง่ิ - - - ปะ๊ - เพร่ิง-เพริ่ง ไม้ 5 - - - ปะ๊ -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพร่ิง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพร่ิง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพริ่ง-ปะ๊ เพร่ิง-เพรงิ่ เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 6 - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม - - -บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - -บอ่ ม - - -บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม - - -บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บอ่ ม - - -บ่อม -ป๊ะ–เพริ่ง - เพร่ิง-เพรงิ่ - - - เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 7 - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม -ป๊ะ–เพร่ิง - เพริ่ง-เพริง่ - - - เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 49

ไม้ 8 - - - - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม -ป๊ะ–เพร่ิง - เพร่ิง-เพริ่ง - - - เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 8 เล่น 2 คร้งั ไม้ 9 - - -บอ่ ม - - -บอ่ ม - - -บอ่ ม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บอ่ ม - - -บ่อม - - -บอ่ ม - - -บอ่ ม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บ่อม - - -บอ่ ม 2 บรรทัดแรก จะต้งั จงั หวะเรว็ แล้วเรม่ิ ต้งั จังหวะชา้ ในบรรทดั ที่ 3 - - -เพรง่ิ - - -เพริง่ - - - - - - -เพร่งิ - - -เพร่ิง - - - - -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - -เพรงิ่ - - -เพริ่ง ---- -เพร่ิง-บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพรงิ่ - - -เพริ่ง ---- -เพร่ิง-บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพรงิ่ รวั ตรงเพริง่ ทา้ ย -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -เพร่งิ ---- - - - เพริ่ง รัว - - - เพร่ิง - - -เพรง่ิ ---- ---- - - - เพริ่ง ---- ---- รัว ---- - - -เพริ่ง - - - - รัว - - - เพริ่ง - - - - ไม้ 11 - - - - - เพรงิ่ -เพริ่ง - - - - - เพร่งิ -เพรง่ิ - - - - - เพริง่ -เพร่งิ - - - - - เพริ่ง-เพรง่ิ - - - - - เพร่ิง-เพริง่ - - - - - เพรงิ่ -เพร่งิ - - - - - เพริ่ง-เพร่ิง - - - - - เพรง่ิ -เพรง่ิ ไม้ 12 -เพริ่ง - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -บ่อม - - -เพริ่ง - - -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -บ่อม - - -เพร่ิง - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บ่อม -บอ่ ม - - -เพร่ิง - - -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -บอ่ ม - - -เพริ่ง - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม -บอ่ ม - - -เพริ่ง - - -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 13 - - -เพร่งิ -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพรง่ิ -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 14 - - -เพร่งิ - - -เพรง่ิ - - -เพริ่ง - - -เพรง่ิ - - -เพรงิ่ - - -เพริ่ง - - -เพรงิ่ - - -เพริ่ง ไม้ 15 - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 50

ไม้ 16 - - -เพรงิ่ - - -เพริ่ง - - -เพริ่ง - - -เพริง่ - - -เพรง่ิ - - -เพริ่ง - - -เพรงิ่ - - -เพริง่ ไม้ 17 - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม ไม้ 18 - - - ปะ๊ -เพริ่ง-เพร่งิ - - -เพรงิ่ -เพร่ิง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพริ่ง-เพริ่ง - - -เพริ่ง -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพร่ิง-เพรงิ่ - - -เพรง่ิ -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพร่ิง-เพร่งิ - - -เพรง่ิ -เพริ่ง-ปะ๊ - - - ปะ๊ -เพร่ิง-เพรง่ิ -ป๊ะ–เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 19 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพริ่ง -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บ่อม - - -เพริ่ง -เพร่ิง-เพริ่ง - - -เพรง่ิ -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -บ่อม - - -เพร่ิง-เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม - - - ปะ๊ - - -เพรงิ่ - - -เพรง่ิ - - -เพริ่ง - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพรง่ิ -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม - - -เพรง่ิ -เพร่ิง-เพรงิ่ - - -เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -บ่อม - - -เพร่ิง-เพรง่ิ -เพริ่ง-บอ่ ม - - - ปะ๊ - - -เพร่งิ -ปะ๊ –เพร่ิง -เพร่ิง-เพริง่ -ปะ๊ –เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 20 - - - - - - - ปะ๊ - - -เพริ่ง - - -บอ่ ม - - - - - - - ปะ๊ - - -เพรง่ิ - - -บ่อม - - - - -บอ่ ม-บ่อม - - -เพรง่ิ - - -เพรง่ิ - - - - - - - ปะ๊ - - -เพริ่ง - - -บ่อม - - - - - - - ปะ๊ - - -เพรง่ิ - - -บอ่ ม - - - - -บ่อม-บอ่ ม - - -เพรง่ิ - - -เพร่งิ - - - - - - - ปะ๊ - - -เพร่งิ - - -บ่อม - - - ปะ๊ -เพร่ิง-เพริ่ง -ปะ๊ –เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 21 -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บ่อม - - -บ่อม -บอ่ ม- - -เพริ่ง-เพร่งิ -เพร่ิง-บ่อม - - -บ่อม -บอ่ ม- - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -บ่อม- - -เพร่ิง-เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -บอ่ ม- - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -บอ่ ม- - -เพร่ิง-เพร่ิง -เพริ่ง-เพริง่ กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 51

ไม้ 22 - - -เพริง่ -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -ปอ่ ม-บอ่ ม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -ปอ่ ม-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม -ป่อม-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -ปอ่ ม-บอ่ ม - - - ปะ๊ -เพริ่ง-เพริง่ -ป๊ะ–เพริ่ง รวั ---- ---- - - - เพร่ิง -เพริ่ง-บ่อม ---- ---- ---- รวั - - - - - - - เพริ่ง -เพร่ิง-เพริง่ รวั - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง ไม้ 23 -เพริ่ง - - ฮา ไฮ ฮา ไฮ -เพริ่ง - - -เพรง่ิ - - - - -เพริ่ง - - -เพริ่ง -เพรง่ิ - - -เพริง่ - - - - -เพรงิ่ - - -เพร่ิง -เพร่งิ - - ฮา ไฮ - - -บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -เพร่งิ - - -เพรง่ิ - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - -บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - -เพรง่ิ - - -เพร่ิง - - -เพริ่ง - - -เพร่งิ - - -เพริ่ง - - -เพรง่ิ - - - - - - -เพริง่ - - -เพริ่ง - - -เพริง่ - - - - - - -เพรง่ิ - - -เพร่ิง - - -เพริง่ - - - - - - -เพริ่ง - - -เพรง่ิ - - -เพรง่ิ - - -เพรง่ิ - - -เพรง่ิ - - -เพรง่ิ -เพร่ิง-ปะ๊ กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 52

ราไหว้ครู ไม้ 1 - - - - - บอ่ ม - - - บอ่ ม - 3 -เพริ่ง-บ่อม - - - - - บ่อม - - - บ่อม - - -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 2 - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 3 ---- - - - - - บ่อม - - - บอ่ ม - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - ไม้ 4 - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม ไม้ 5 - - - - - บอ่ ม - - - บอ่ ม - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - - บอ่ ม - - - บอ่ ม - - -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 6 ท่ายนื -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - กลองยาวสุโขทัย หน้า 53

ราหมู่คู่ชายหญิง ไม้ 1 - - - - -เพริ่ง–ปอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง–ป่อม -ปะ๊ –เพิง่ -เพร่ิง-เพริ่ง -ปะ๊ -เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 2 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 3 - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม - - -บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 4 - - - - - บ่อม – - - บ่อม - - -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บ่อม ไม้ 5 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม ไม้ 6 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม ไม้ 7 - - - - -เพร่ิง-บ่อม - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 8 - - - - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บ่อม เม่อื บากแลว้ กลองจะหยุดนดิ หนงึ่ แลว้ เลน่ มอื บาก จากน้ันเลน่ ไมท้ ่ี 9 ต่อไป ไม้ 9 - - - - -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม ไม้ท่ี 9 กลองจะต้องบาก 2 ครั้ง ไม้ 10 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 11 - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - เพร่ิง - - - เพร่ิง - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - เพริ่ง - - - เพร่ิง ไม้ 12 -เพริ่ง-ปะ๊ - - - เพร่ิง - - - เพริ่ง - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - เพริ่ง - เพริ่ง - เพร่ิง ---- กลองยาวสุโขทัย หน้า 54

ไม้ 13 - - - - -เพร่ิง-ปะ๊ - - - เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-ปะ๊ - - - เพริ่ง -เพริ่ง-บ่อม ไม้ 14 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม กลองบากแล้วรวั รวั จนกวา่ ผูแ้ สดงจะน่งั ลง จากนน้ั กลองบากอีกหนึ่งครั้งแล้วเลน่ ไมท้ ี่ 15 ไม้ 15 - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม กลองบากแลว้ รวั รวั จนกวา่ ผู้แสดงจะนั่งลง จากนั้นกลองบากอกี หนึง่ คร้งั แล้วเลน่ ไมท้ ่ี 16 ไม้ 16 - - - - -เพร่ิง-บ่อม - - - เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บ่อม - - - เพร่ิง -เพริ่ง-บ่อม เมื่อบากแล้ว กลองจะหยดุ นิดหนงึ่ แล้วเลน่ มือบาก จากนั้นเลน่ ไมท้ ่ี 17 ตอ่ ไป ไม้ 17 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม - - - เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม เมอ่ื บากแลว้ กลองจะหยดุ นดิ หนง่ึ แลว้ เล่นมือบาก จากนน้ั เลน่ ไมท้ ี่ 18 ต่อไป ไม้ 18 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บ่อม ไม้ 19 - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บอ่ ม ไม้ 20 - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บ่อม ไมท้ ี่ 20 ผแู้ สดงจะโยนกลอง และตอนบากกลองจะตอ้ งบาก 2 ครั้ง ตดิ ตอ่ กนั ไม้ 21 - - - - -เพริ่ง-เพร่ิง - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-เพร่ิง - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-เพริ่ง - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-เพร่ิง - - -เพริ่ง -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-เพร่ิง - - -เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม -ปะ๊ -เพริ่ง -เพริ่ง-เพร่ิง -ปะ๊ -เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม รอบที่ 2 - - - - -เพร่ิง-เพริ่ง - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-เพริ่ง - - -เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -เพร่ิง-เพร่ิง - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บอ่ ม -ปะ๊ -เพริ่ง -เพริ่ง-เพร่ิง -ปะ๊ -เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม กลองยาวสุโขทัย หน้า 55

ไม้ 22 - - - - -บ่อม-บ่อม - - -เพร่ิง -เพริ่ง-บอ่ ม - - - - -บ่อม-บ่อม - - -เพริ่ง -เพร่ิง-บ่อม -ปะ๊ -เพร่ิง -เพร่ิง-เพร่ิง -ปะ๊ -เพร่ิง -เพร่ิง-บอ่ ม เล่นทัง้ หมด 4 ครง้ั คร้งั ที่ 4 กลองต้องบาก 2 คร้ัง ไม้ 23 - - - - -บอ่ ม-บ่อม - - -เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม - - - - -บ่อม-บอ่ ม - - -เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม -ปะ๊ -เพริ่ง -เพร่ิง-เพริ่ง -ปะ๊ -เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม ไม้ 24 - - - - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพริ่ง-บอ่ ม -เพริ่ง-บอ่ ม -เพร่ิง-บอ่ ม -ปะ๊ -เพริ่ง -เพริ่ง-เพริ่ง -ปะ๊ -เพริ่ง -เพร่ิง-บอ่ ม บาก 2 ครงั้ ไม้ 25 - - - - -เพร่ิง-บอ่ ม -เพริ่ง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม - - - - -เพร่ิง-บ่อม -เพริ่ง-บ่อม -เพร่ิง-บ่อม ไมท้ ่ี 25 เล่น 2 ครงั้ ไม้ 26 - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ - - - - - เพร่ิง–ปะ๊ - - -เพริ่ง - - -เพร่ิง เล่น 2 คร้งั ไม้ 27 - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ -ปะ๊ -เพริ่ง -เพริ่ง-ปะ๊ - - - เพริ่ง -เพร่ิง-ปะ๊ ไม้ 28 - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ - - - - - เพร่ิง -ปะ๊ - - - - - เพริ่ง -ปะ๊ - - - - - เพริ่ง–ปะ๊ ลูกลง - - - เพริง่ - - - เพริ่ง - - - เพร่ิง - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง - - - เพร่ิง - - - เพริ่ง - - - เพริ่ง - - - เพร่ิง -เพริ่ง-เพริ่ง - - - เพร่ิง -เพร่ิง-เพริ่ง - - - เพริ่ง - เพริ่ง-เพริ่ง - - - เพร่ิง -เพริ่ง-เพริ่ง - - - เพริ่ง -เพร่ิง- - -เพร่ิง-เพริ่ง - - - ปะ๊ กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 56

8. เพลงปี่ ปี่เป็นเคร่ืองดาเนินทานองเพลงช้ินเดียวในวงกลองยาวสุโขทัย และปี่ท่ีใช้จะเป็นป่ีมังคละ เพราะเป็นปี่ท่ีมีอยู่ในจังหวัดสุโขทัย ราคาไม่แพง และคนที่เป่าปี่สามารถนาไปเป่าได้ท้ังวงกลองยาว และวงมังคละ อีกท้ังปี่มังคละเป็นปี่ท่ีมีเสียงดังและแหลมทาให้เสียงน้ันเหมาะกับการใช้ในขบวนแห่ เพราะทัง้ วงมงั คละ และวงกลองยาวสโุ ขทัยมักใชใ้ นการเดินแหเ่ สยี งเปน็ สว่ นใหญ่ สาหรับทานองเพลงป่ีท่ีใช่เป่าในกลองยาวสุโขทัยน้ัน แต่ละวงจะใช้ทานองเพลงไม่เหมือนกัน ลักษณะการเปา่ มีทง้ั เปา่ ทานองเพลงและเป่าดน้ ข้นึ อย่กู บั ผู้เป่า ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว หรืออาจนาเพลง ลกู ท่งุ ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มมาเป่ากไ็ ดเ้ ช่นกัน รัว ---ร ---ซ ---ท -ซ–ล ---- ---- ---- ---ท - - - - - - - ร - - - - - - - -ซ - - - ล - - - ท - - - - - - - ล ---- ---ท ---ซ ---ล ---ท ---ร ---ท ---ซ ---ล ---- ---- ---ม ---- ---- ---- ---- ทานองขึน้ เพลง ---ซ ---- ---- ---- - - -ท ---ซ ---ร ---- ---ซ ---ล ---ท ---- ---ล - - ลล ---ล ---ท ---ล ---- -ซ–ท ---ร ---ล ---ล --- ท ---ซ ---ซ ---ล ---ม ---ม ---- -ซ–ล ---ม ---- --ซท -ร–ล --ซท -ร–ล --ซม -ซ–ล ---- -ซ–ล ---ท --รล -ซมซ -ล–ซ ---ท --รล ---- -ม–ซ -ซมซ -ล–ซ -ล–ท -ล–ซ -ซมซ -ล–ซ -ลซท --รล ทานองหลัก ---ล --ซท ---ล -ร–ท --รม --รท ---ล -ร–ท --รม -ท–ร ---- ---ล --รล --รล --รล --รท -ซมซ ---ล -ท–ล - ซ –ล -ท–ล -ซ–ล --ซล --มล -ลซม ซล–ซ --ลท รทลซ -มซซ -ล–ซ -ซมซ ---ซ --ลท รทลซ กลับต้น กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 57

9. ท่ารา ท่าราของกลองยาวสุโขทัยแต่ละคณะจะไม่เหมือนกัน เป็นท่าราที่แต่ละคณะประดิษฐ์ข้ึนเอง ซึ่งจะมคี วามโดดเด่นไปคนละแบบ ท่ารากลองยาวสโุ ขทยั คณะทองหลอมศรีวิไลนั้น นายทองหลอม ขามั่น เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารา ซง่ึ ประดษิ ฐไ์ ว้หลายชดุ ได้แก่ การราหมู่ชาย เป็นการราหมู่เฉพาะนักแสดงชายเพื่อแสดงความสามารถ ลีลาท่ารา ความ แข็งแรงและความพร้อมเพรียงของนักแสดงชาย การราล้อหญิง เป็นการแสดงลีลาท่าทางของผู้ชายที่จะไปเกี้ยวพาราสีผู้หญิง โดยใช้วิธี หยอกลอ้ และเชญิ ชวนผ้หู ญิงใหอ้ อกมาร่ายราดว้ ย การราลอ้ ฉาบ เปน็ การแสดงที่ใช้ผู้แสดงชายเพยี ง 1 คน มาทาหน้าทีต่ ีฉาบเพือ่ หยอกลอ้ นักดนตรีท้งั วง ซง่ึ เปน็ การเพิ่มความครึกคร้นื สนุกสนานและเฮฮาใหก้ ับการแสดง การราหมู่คู่ชาย – หญงิ เป็นการแสดงหมู่คูช่ าย – หญงิ ทอ่ี อกมารา่ ยรา และเก้ียวพาราสี รวมถงึ ความพร้อมเพรยี งและสวยงามของกระบวนทา่ ก่อนการราจะต้องราไหว้ครูก่อนทุกครั้ง ซ่ึงเป็นแบบแผนของกลองยาวสุโขทัยของคณะ ทองหลอมศรีวไิ ล กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 58

ท่าราหมูค่ ่ชู าย-หญิง คณะทองหลอม ศรวี ิไล ทา่ ที่ 1 ทา่ ท่ี 1.1 ทา่ เตรียม หญิง ยนื เทา้ ชดิ มอื วางแนบลาตวั ชาย ยนื แยกขาพอประมาณ มอื วางทหี่ นา้ กลอง ทา่ ท่ี 1.2 ทา่ ไหว้ หญงิ พนมมือ ก้มศรี ษะ ยอ่ เขา่ ทา่ ที่ 1 ชาย ยนื แยกเท้าพอประมาณ มือตีกลอง ท่าท่ี 2 หญงิ วางส้นเทา้ ขวาสลับเทา้ ซ้ายเดินออกมาคูก่ บั ผู้ชาย มอื ซ้ายจีบคว่าระดับเอว มือขวาหงายฝา่ มอื ออกดา้ นขา้ งลาตัวปลายนิว้ แทงลงงอศอกเล็กน้อย เอียงศีรษะขา้ งเดียวกับมือทจ่ี ีบ ชาย วางสน้ เท้าขวาสลับเทา้ ซ้าย เดนิ ออกมาค่กู บั ท่าท่ี 2 ผหู้ ญิง มอื ท้ังสองตกี ลองตามจังหวะ หมายเหตุ ปฏิบตั ิสลับ ขวา – ซา้ ย ตามจังหวะ ทา่ ท่ี 3 หญิง เฉียงตวั ไปทางด้านซา้ ย วางเท้าซา้ ยแลว้ ขยับเทา้ มอื ขวาจบี ตะแคงเข้าหาลาตัวอยดู่ ้านหน้า ระดับอกมือขวาตั้งวงระดับเดียวกบั มือซา้ ย ศีรษะ เอยี งซา้ ย ชาย เฉียงตัวไปทางดา้ นซา้ ย วางเท้าซา้ ยแลว้ ขยบั เทา้ มอื ขวาจีบตะแคงเข้าหาลาตวั อยู่ด้านหน้า ทา่ ที่ 3 ระดับอกมือขวาตัง้ วงระดบั เดียวกบั มือซา้ ย ศรี ษะ เอียงซ้าย หมายเหตุ ปฏบิ ตั ิสลับ ซ้าย – ขวาตามจงั หวะ กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 59

ทา่ ที่ 4.1 ท่าท่ี 4 ทา่ ท่ี 4.2 ทา่ ที่ 4.1 ทา่ ท่ี 5 หญงิ เท้าขวาก้าวหน้าเปิดสน้ เทา้ ซา้ ย มือขวาจบี ทา่ ท่ี 6 เข้าหาลาตัวข้างหน้าระดับศรี ษะ มอื ซ้ายจีบเข้าหา กลองยาวสุโขทยั ลาตัวขา้ งมอื ขวาลดหลัน่ ลงมาเลก็ น้อย ศีรษะเอยี งซา้ ย และกระทุง้ เท้าหลัง ชาย เท้าขวากา้ วหนา้ เปิดสน้ เท้าซา้ ย มือขวาจีบ เขา้ หาลาตวั ขา้ งหนา้ ระดบั ศรี ษะ มือซ้ายจีบเขา้ หา ลาตวั ข้างมือขวาลดหลัน่ ลงมาเลก็ น้อย ศรี ษะเอยี งซา้ ย และกระท้งุ เทา้ หลัง ทา่ ท่ี 4.2 หญิง ปฏิบตั ใิ นลักษณะเดิม มือท้งั สองสะบดั จบี ปล่อยเป็นตง้ั วงในระดับเดิม ชาย ปฏิบัตใิ นลกั ษณะเดมิ มือทงั้ สองสะบดั จีบ ปล่อยเป็นตัง้ วงในระดับเดมิ หมายเหตุ เดนิ ยา่ เท้าถอยหลงั กระทุ้งเทา้ ซ้าย มอื จบี เขา้ หาลาตัวในลักษณะเดยี วกันดา้ นซา้ ย และสะบัด จีบ ปฏิบตั ิสลบั ขวา – ซา้ ย ตามจงั หวะ ท่าท่ี 5 หญงิ วางสน้ เท้าขวาสลับเท้าซ้าย เดินหมนุ รอบ ตัวเองทางด้านซ้าย มือซ้ายจีบคว่าระดบั เอว มือขวา หงายฝา่ มือออกดา้ นขา้ งลาตวั ตกปลายนว้ิ มือ งอศอก เล็กน้อย ศรี ษะเอียงขา้ งเดยี วกับมอื ทจี่ บี ชาย วางส้นเทา้ ขวาสลับเท้าซา้ ย เดนิ หมุนรอบ ตัวเองทาดา้ นซ้าย มอื ท้งั สองตีกลองตามจงั หวะ ท่าท่ี 6 หญงิ เฉียงตวั ด้านขวา วางส้นเท้าขวา มอื ขวาต้งั วงบน มือซ้ายจบี หงายระดับชายพก ศีรษะเอียงซา้ ย ชาย เฉียงตัวด้านขวา วางส้นเทา้ ขวา มือขวาต้ัง วงบน มอื ซา้ ยจบี หงายระดับชายพก ศรี ษะเอียงซ้าย หมายเหตุ ปฏิบัติสลับขวา – ซ้าย ตามจงั หวะ หน้า 60

ทา่ ที่ 7 ทา่ ท่ี 7 หญงิ ย่าเทา้ เดินตามจงั หวะ มือซา้ ยตัง้ วงบนมือ ทา่ ที่ 8.1 ทา่ ที่ 8.2 ขวาจีบหงายแขนระดบั ไหล่ ศีรษะเอียงข้างเดยี วกับมือ ท่าท่ี 8.3 ท่จี ีบ (เดินครึ่งวงกลมสลบั ที่กับผู้ชาย) กลองยาวสโุ ขทยั ชาย กลบั หลังหันไปดา้ นหลังเวที ยา่ เท้าเดินตาม จังหวะ มือซ้ายตั้งวงบนมอื ขวาจีบหงายแขนตึงระดบั ไหล่ ศีรษะเอยี งข้างเดยี วกบั มือทีจ่ ีบ (เดนิ คร่งึ วงกลม สลบั ที่กบั ผหู้ ญงิ ) หมายเหตุ ปฏบิ ัติทั้งหมด 4 ครงั้ ท่าท่ี 8.1 หญิง วางเทา้ ซา้ ยแตะจมูกเท้าขวาด้านหน้า มอื ซ้ายตง้ั วงบนมือขวาหงายฝ่ามือออกด้านข้างลาตัว ตกปลายน้วิ มอื งอศอกเล็กนอ้ ย ศีรษะเอยี งซา้ ย ชาย วางเท้าขวาแตะส้นเทา้ ซ้ายดา้ นขา้ ง มือ ซา้ ยแบมือหงายฝา่ มือข้ึนรบั มือผหู้ ญงิ มอื ขวาต้ังวงบน ศีรษะเอียงขวา ทา่ ที่ 8.2 หญิง ปฏบิ ัตติ อ่ เน่อื งโดยยา่ เท้าสามครั้งเรม่ิ จาก เทา้ ขวาแตะจมูกเท้า เดินสลบั ทก่ี ับผชู้ ายแล้ว แตะจมูกเท้าซ้ายดา้ นหน้า มือซา้ ยหงายฝ่ามือออก ดา้ นขา้ งลาตวั ตกปลายน้วิ มอื งอขอ้ ศอกเลก็ น้อย มอื ขวาตัง้ วงบน ศรี ษะเอียงขวา (ปฏิบตั ิ 4 ครงั้ ) ชาย ปฏิบัตติ ่อเนอ่ื งโดยยา่ เท้าสามครั้งเริ่มจาก เท้าซ้ายแตะสน้ เท้า เดินสลับทก่ี บั ผูห้ ญิงแล้วแตะสน้ เทา้ ขวาดา้ นข้าง มือซา้ ยต้ังวงบนมอื ขวาแบมือหงาย ฝา่ มือข้ึนรับมอื ผ้หู ญิง ศีรษะเอียงซ้าย ทา่ ที่ 8.3 หญงิ เทา้ ขวากา้ วหน้าเท้าซ้ายวางหลงั เปดิ ส้น เทา้ มอื ซ้ายตง้ั ข้นึ เหนือศีรษะหงายฝ่ามือข้ึนรบั มือ ผู้ชาย (ให้มือแตะกันในลกั ษณะรูปโค้ง) มือขวาจบี หงายงอศอกด้านข้างลาตวั ปลายจบี แทงมาด้านหน้า ศรี ษะเอียงขวา ชาย เท้าซา้ ยก้าวหน้าเทา้ ขวาวางหลังเปดิ สน้ เท้า มือซ้ายคว่าฝ่ามอื จับลาตัวกลอง มือขวาตัง้ ขึ้นเหนอื ศีรษะควา่ ฝา่ มอื ลงแตะบนมอื ผหู้ ญงิ ศีรษะเอียงซ้าย หมายเหตุ ปฏบิ ัติ 3 ชุด หนา้ 61

ท่าท่ี 9 ทา่ ท่ี 9 หญงิ วางส้นเท้าขวา มอื ขวาต้งั วงบน มือซา้ ยจบี ทา่ ที่ 10.1 ท่าท่ี 10.2 หงายท่ีชายพก เดินหมุนรอบตวั เองทางด้านซ้าย เอยี งศรี ษะขา้ งเดียวกับมอื ที่จีบ ทา่ ท่ี 11.1 กลองยาวสโุ ขทยั ชาย วางส้นเทา้ ขวา มือขวาต้ังวงบน มอื ซา้ ย จบี หงายทชี่ ายพก เดินหมนุ รอบตัวเองทางดา้ นซ้าย เอียงศรี ษะข้างเดียวกับมือทจ่ี ีบ หมายเหตุ ปฏิบัตสิ ลบั ขวา – ซา้ ย 3 ชดุ ทา่ ท่ี 10 ทา่ ที่ 10.1 หญงิ ยกเท้าซา้ ย มือซ้ายหงายฝา่ มือข้นึ ปลาย นิว้ แทงมาด้านหนา้ อยู่ระดับเหนอื ศีรษะ ด้านหน้ามือ ขวาหงายฝา่ มอื ขึ้นปลายน้ิวแทงมาด้านหนา้ ระดับปาก ศีรษะเอยี งขวา ยุบยดื ตามจงั หวะ ชาย ยกเท้าซ้าย มือซ้ายหงายฝา่ มือขนึ้ ปลายน้วิ แทงมาด้านหนา้ อยู่ระดับเหนือศรี ษะ ด้านหน้ามือขวา ตกี ลอง เอยี งศรี ษะขวา ยุบยืดตามจังหวะ ท่าที่ 10.2 หญิง ปฏิบตั ติ ่อเนื่องโดยเท้าซ้ายวางหน้า เท้าขวา กระดกหลัง มอื ทง้ั สองต้ังวงระดบั ชายพกอยู่คูก่ นั ยื่น ออกมาด้านหน้าเลก็ นอ้ ย ศีรษะก้มลงมองพื้นเล็กน้อย ยบุ ยืดตามจังหวะ ชาย ปฏบิ ัตติ อ่ เน่ืองโดยเท้าซา้ ยวางหนา้ เท้าขวา กระดกหลัง มือท้งั สองต้ังวงระดับชายพกอยู่คกู่ นั ย่นื ออกมาด้านหน้าเลก็ น้อย ศรี ษะก้มลงมองพ้ืนเล็กน้อย ยุบยืดตามจงั หวะ หมายเหตุ ปฏบิ ัติสลบั กัน รวม 7 ครง้ั ท่าที่ 11 ท่าที่ 11.1 หญงิ ยืนตรง มอื ทัง้ สองจีบหงายระดับหนา้ อก ศรี ษะตั้งตรง ชาย ยนื ตรง มือท้ังสองจีบหงายระดบั หนา้ อก ศีรษะต้ังตรง หนา้ 62

ท่าที่ 11.2 ท่าท่ี 11.2 หญงิ วางส้นเท้าขวาดา้ นหนา้ มือทั้งสองตั้งวง ท่าที่ 12 กลางข้างลาตัว เอยี งศรี ษะขวา แลว้ กระทบสน้ เท้า ทา่ ท่ี 13.1 ขวาพรอ้ มกบั ขยบั แขนทัง้ สองตามจงั หวะ ท่าท่ี 13.2 กลองยาวสโุ ขทยั ชาย วางสน้ เทา้ ขวาด้านหน้า มือทั้งสองตหี นา้ กลอง เอียงศรี ษะขวา แลว้ กระทบส้นเทา้ ขวาพรอ้ ม กบั ตกี ลองตามจังหวะ หมายเหตุ ปฏบิ ตั ิสลบั ขวา – ซ้าย 6 ชดุ ทา่ ที่ 12 หญงิ สน้ เทา้ ขวาแตะมาดา้ นหนา้ และเปลี่ยนใช้ จมกู เท้าขวาไปแตะด้านข้าง และนาส้นเทา้ ขวามาแตะ ดา้ นหนา้ ตามจงั หวะ (นับ 1 2 3) มอื ซ้ายใช้นวิ้ ชี้ แตะข้างสะโพกมือขวาแบฝ่ามือแตะที่แกม้ ดา้ นขวา เอียงศีรษะขวา ชาย สน้ เทา้ ขวาแตะมาดา้ นหนา้ และเปล่ียนใช้ จมูกเท้าขวาไปแตะด้านหลัง และนาสน้ เท้าขวามาแตะ ดา้ นหนา้ ตามจงั หวะ (นบั 1 2 3) มอื ซ้ายควา่ ฝ่ามือ จับลาตวั กลองมือขวาตีกลอง เอยี งศรี ษะขวา หมายเหตุ ปฏบิ ตั สิ ลบั ขวา – ซา้ ย 5 ชุด ทา่ ท่ี 13 ท่าที่ 13.1 หญิง กระทุ้งเท้าขวา มือซ้ายต้ังวงบน มือขวา จีบสง่ หลงั ศรี ษะเอยี งขวา ชาย กระท้งุ เทา้ ขวา มือทงั้ สองตีกลอง ศรี ษะ เอียงขวา ท่าที่ 13.2 หญิง กระทุ้งเท้าซ้าย มือขวาตั้งวงบน มอื ซ้าย จีบส่งหลัง ศรี ษะเอยี งซา้ ย ชาย กระท้งุ เทา้ ซ้าย มือทง้ั สองตีกลอง ศรี ษะ เอียงซ้าย หมายเหตุ ปฏบิ ตั สิ ลบั ซ้าย – ขวา 5 ชุด จากน้ัน หมุนรอบตวั เองทางซ้าย โดยให้หญงิ ทาท่าสอดสรอ้ ย มาลา ชายตีกลอง หน้า 63

ท่าท่ี 13.3 ท่าที่ 13.3 ท่าที่ 14.1 หญงิ น่ังคุกเข่าต้งั ขาซ้าย มอื ซ้ายจบี ควา่ แขนตึง ท่าท่ี 14.2 ปลายนวิ้ ช้แี ตะทห่ี วั เข่าซ้ายมือขวาช้นี ิว้ ชแี้ ตะทส่ี ะโพก เอยี งศีรษะขวา ชาย นงั่ คุกเข่าตั้งขาซ้าย มอื ซา้ ยตีกลองมือขวาช้ี นวิ้ ชแี้ ตะทส่ี ะโพก ศรี ษะเอยี งขวา หมายเหตุ ปฏิบัติในท่ี 13 รวม 2 ชุด ทา่ ท่ี 14 ท่าที่ 14.1 หญงิ เทา้ ขวาใชจ้ มูกเท้าแตะด้านหน้า มือทง้ั สองต้งั วงกลางอยูด่ า้ นหนา้ ระดบั หนา้ อก ศรี ษะเอยี ง ซา้ ยหนั หนา้ ไปทางซา้ ยเล็กน้อย จากนั้น ปฏิบัติ ตอ่ เนอ่ื งโดยก้าวเท้าสามครงั้ ไปทางขวาเรมิ่ จากเท้า ขวา (เข้าหาผ้ชู าย) แล้วแตะจมูกเท้าซ้ายด้านหนา้ มือทง้ั สองจบี มว้ นปล่อยหงายฝา่ มอื ขน้ึ ปลายน้วิ แทง มาดา้ นหนา้ แตเ่ ฉยี งเขา้ หาผู้ชายอยู่ระดบั อก เอียง ศีรษะขวา (ปฏบิ ตั ิ 5 คร้ัง) ชาย เทา้ ซ้ายใช้จมกู เท้าแตะดา้ นหนา้ มือทงั้ สอง ตีกลอง ศีรษะเอยี งขวาหนั หน้าไปทางขวาเลก็ น้อย ปฏิบตั ติ ่อเนอ่ื งโดยกา้ วเท้าสามคร้งั ไปทางซา้ ยเร่มิ จาก เทา้ ซ้าย (เข้าหาผ้หู ญิง) แล้ววางเท้าขวาไปดา้ นหลงั เปดิ ส้นเทา้ มือท้ังสองตีกลอง เอียงศรี ษะซ้าย หัน หนา้ มองผหู้ ญงิ ท่าท่ี 14.2 หญิง ปฏิบัติต่อเนือ่ งโดยวางเท้าขวาไปด้านหลงั เปดิ ส้นเทา้ มือซ้ายแบฝ่ามือแตะแกม้ ข้าง ซา้ ยมือ ขวากามือหกั ขอ้ มือข้ึนใหม้ ือที่กาอยตู่ ่อศอกแขนซ้าย ศรี ษะเอียงซ้าย ชาย ปฏบิ ตั ติ อ่ เน่ืองโดยวางเท้าขวาไปด้านหลัง เปิดส้นเทา้ มอื ซ้ายคว่าฝา่ มือจับลาตวั กลอง มอื ขวาตี กลอง ศีรษะเอียงขวาหันหน้ามองผู้หญิง หมายเหตุ ปฏบิ ัติ 2 ชดุ กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 64

ทา่ ท่ี 15 ทา่ ที่ 15 หญงิ วางส้นเท้าขวาสลับเท้าซ้ายเดินอยกู่ บั ที่ มือ ท่าที่ 16.1 ทา่ ท่ี 16.2 ซ้ายจีบคว่าระดับเอว มือขวาหงายฝ่ามือออกด้านข้าง ทา่ ที่ 16.3 ลาตวั ปลายน้วิ แทงลงงอศอกเล็กน้อย เอยี งศีรษะขา้ ง กลองยาวสโุ ขทยั เดยี วกับมือท่จี บี ชาย วางส้นเท้าขวาสลับเท้าซา้ ย เดนิ อยู่กับท่ี มือ ทง้ั สองตีกลองตามจังหวะ หมายเหตุ ปฏบิ ัติสลับ ขวา – ซ้าย 6 จงั หวะ ท่าที่ 16 ท่าท่ี 16.1 หญิง ยา่ เท้าขวา ถดั เทา้ ซา้ ย มือท้ังสองทาทา่ รา สา่ ย ชาย ยา่ เท้าขวา ถดั เท้าซา้ ย มือท้งั สองถอด กลองออกจากไหล่ ทา่ ที่ 16.2 หญงิ เท้าซา้ ยกา้ วหน้า มือขวาจบี หงายระดบั ชายพกมือซา้ ยต้ังวงบน ศรี ษะเอียงขา้ งมือทจ่ี ีบ ปฏิบัติสลบั เปล่ียนมือทาตรงข้ามกัน ปฏบิ ัตสิ ลับกนั ไปตามจังหวะ ชาย น่งั คุกเขา่ ตง้ั ขาซ้ายนากลองมาวางตั้ง ดา้ นข้างขวาผหู้ ญงิ มือทั้งสองตกี ลอง ศีรษะตง้ั ตรง มองผู้หญิง ท่าที่ 16.3 หญงิ มอื ขวาจบี หงายข้างหน้าระดบั อก มือซา้ ยต้ัง วงข้างหนา้ ระดับเดยี วกัน ม้วนมอื สลับจบี ซ้าย - ขวา –ซา้ ย กม้ ศีรษะลงเล็กน้อย จากนน้ั ตงั้ แขนขวาใน ระดบั วงบน ส่งปลายน้ิวไปด้านหลัง มอื ซา้ ยจบี สง่ หลงั บิดไหล่ไปทางขวาเล็กน้อย หนา้ มองตามมอื ขวา ชาย โยนกลองควงข้ึนด้านบน โดยใช้มือขวาส่งขึ้น สูง แล้วรับด้วย 2 มือ หมายเหตุ ปฏบิ ัตใิ นทา่ นี้ 3 ชดุ คือ ในทา่ ยืน 1 ครง้ั ทรุดตัวลงน่งั ตัง้ เข่าซ้าย 1 ครง้ั และกลบั ขนึ้ มา ยืนในทา่ เดิมอีก 1 ครง้ั หนา้ 65

ท่าท่ี 17 ท่าท่ี 17 หญงิ เฉียงตัวด้านซา้ ย วางสน้ เท้าซา้ ย มือขวาจบี ทา่ ที่ 18.1 ท่าท่ี 18.2 คว่าระดับเอว มอื ซา้ ยหงายฝ่ามอื ออกด้านข้างลาตวั ปลายนว้ิ แทงลงงอศอกเล็กน้อย เอยี งศีรษะขา้ ง ท่าท่ี 19.1 เดยี วกบั มือทจี่ บี กลองยาวสโุ ขทัย ชาย เฉียงตัวดา้ นซา้ ย วางสน้ เท้าซา้ ย มือทัง้ สองตี กลองตามจงั หวะ หมายเหตุ ปฏบิ ัตสิ ลับ ซ้าย (เดนิ ลงดา้ นหลงั ) – (เดินข้ึนดา้ นหน้า) ตามจังหวะ ทา่ ที่ 18 ทา่ ที่ 18.1 หญงิ เท้าซ้ายกา้ วหนา้ มอื ซา้ ยจบี หงายระดับ ชายพกมือขวาตง้ั วงบน ศีรษะเอียงข้างมอื ที่จีบ ปฏบิ ตั สิ ลับเปลี่ยนมือทาตรงข้ามกัน ปฏบิ ตั ิสลับกัน ไปตามจงั หวะ ชาย น่งั คกุ เข่าตง้ั ขาซ้ายนากลองมาวางตง้ั ด้านข้างขวาผู้หญงิ มือท้ังสองตีกลอง ศีรษะตงั้ ตรง มองผูห้ ญิง ทา่ ที่ 18.2 หญิง เทา้ ซ้ายกา้ วหนา้ มอื ซา้ ยชน้ี ้วิ ชี้แตะที่ สะโพกซา้ ยมือขวากามอื งอแขน แลว้ เอาศอกแตะท่ี หนา้ กลอง ศรี ษะเอยี งขวา ชาย น่ังคุกเขา่ ตัง้ ขาซา้ ยเอนตวั ลงดา้ นซ้าย เล็กน้อย มอื ซ้ายใช้หลังมือแตะท่หี น้าผากมือขวากา มือแตะที่สะโพกข้างขวา ศีรษะเอียงซ้าย หมายเหตุ ปฏิบตั ิ 4 ชดุ ท่าท่ี 19 ท่าท่ี 19.1 หญงิ เดนิ ย่าเทา้ สลับทกี่ ับผู้ชายโดยมอื ซ้ายจบี หงายระดบั ชายพกมือขวาตงั้ วงบน ศรี ษะเอียงข้างมือ ทจ่ี บี ปฏบิ ัตสิ ลับเปลีย่ นมือทาตรงข้ามกนั ปฏิบตั ิ สลบั กนั ไปตามจังหวะ เดินวนด้านล่างไปอยแู่ ทนที่ ผชู้ าย แล้วทาท่าสอดสรอ้ ยมาลาอย่กู ับท่ี ชาย เดินย่าเท้าสลับทกี่ บั ผ้หู ญิงโดยใชศ้ อกขวา หนา้ 66

ท่าท่ี 19.2 แตะทหี่ นา้ กลองสลบั กบั การใชม้ ือตีเดนิ วนหน้าไปอยู่ แทนที่ผ้หู ญิง แล้วนั่งคกุ เข่า ตั้งเขา่ ซา้ ย ทา่ ที่ 20.1 ท่าที่ 20.2 ท่าท่ี 19.2 หญิง เท้าซ้ายกา้ วหนา้ มือซา้ ยแบฝ่ามือแตะที่ แกม้ ข้างซ้ายมือขวาตีกลอง นา้ หนกั ตวั เอนไปที่ขา หลัง เอยี งศรี ษะซา้ ย ชาย นั่งคกุ เข่าตงั้ ขาขวาเอนตวั ลงด้านขวา เล็กน้อย มอื ซา้ ยกามือแตะท่ีสะโพกข้างซา้ ย มือขวา ใชห้ ลังมอื แตะท่หี น้าผาก เอียงศีรษะขวา หมายเหตุ ปฏิบัติ 4 ชุด ท่าท่ี 20 ท่าที่ 20.1 หญงิ เดนิ ย่าเท้าสลับทกี่ ับผชู้ ายโดยมอื ซา้ ยจบี หงายระดบั ชายพกมือขวาตัง้ วงบน ศรี ษะเอยี งขา้ งมือ ที่จีบ ปฏบิ ัตสิ ลบั เปล่ียนมอื ทาตรงขา้ มกัน ปฏิบัติ สลบั กนั ไปตามจังหวะ เดินวนดา้ นหนา้ ไปอยแู่ ทนที่ ผู้ชาย แล้วทาทา่ สอดสรอ้ ยมาลาอยู่กับที่ ชาย เดนิ ยา่ เท้าสลับท่ีกบั ผู้หญงิ โดยใช้ศอกขวา แตะที่หน้ากลองสลบั กับการใชม้ อื ตีเดนิ วนหนา้ ไปอยู่ แทนทีผ่ หู้ ญงิ แลว้ นัง่ คุกเข่า ต้ังเขา่ ซา้ ย ท่าท่ี 20.2 หญิง เท้าซ้ายกา้ วหนา้ มือซา้ ยชน้ี ้ิวชแี้ ตะที่ สะโพกซา้ ยมือขวากามอื งอแขน แลว้ เอาศอกแตะที่ หนา้ กลอง ศรี ษะเอียงขวา ชาย นง่ั คุกเข่าตงั้ ขาซ้ายเอนตัวลงดา้ นซา้ ย เลก็ นอ้ ย มอื ซา้ ยใช้หลังมือแตะท่ีหน้าผากมือขวากา มือแตะที่สะโพกข้างขวา ศรี ษะเอยี งซา้ ย หมายเหตุ ปฏิบตั ิ 2 ชดุ กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 67

ทา่ ท่ี 21 ทา่ ที่ 21 ท่าที่ 22.1 หญิง ย่าเท้าขวา ถัดเท้าซ้าย มือทั้งสองทาท่ารา ทา่ ท่ี 22.2 สา่ ย ชาย ยา่ เท้าขวา ถัดเทา้ ซ้าย มอื ท้ังสะพายกลอง ทีไ่ หลต่ ามเดิม หมายเหตุ ปฏิบัติ 1 จังหวะ ทา่ ที่ 22 ทา่ ท่ี 22.1 หญงิ ยา่ เทา้ หมนุ ตวั ไปด้านขวาหันไปดา้ นหลัง เวที มอื ซา้ ยจีบควา่ อยู่ดา้ นหน้าระดับชายพก มือขวา ชขู ึ้นเหนือศรี ษะจับมือผชู้ ายไว้ ศรี ษะตง้ั ตรง ชาย ยืนถัดเทา้ ซ้ายตามจังหวะ มือซ้ายชูข้ึน เหนือศีรษะจบั มือผหู้ ญิงไว้มอื ขวาตกี ลอง ศีรษะลัก คอสลับซ้าย-ขวาตามจังหวะ ทา่ ที่ 22.2 หญงิ ปฏบิ ัติต่อเนื่องโดยยา่ เทา้ ขวาหมนุ ตัวไป ด้านขวาใหห้ ยุดหนั หนา้ มาด้านหน้าเวที แลว้ ใชจ้ มูก เทา้ ซา้ ยแตะด้านหน้า มือซ้ายปลอ่ ยจีบหงายฝ่ามือ ออกขา้ งลาตวั ปลายน้วิ แทงลง มอื ขวายังจบั มือผูช้ าย ไว้ เอียงศรี ษะซา้ ย ชาย ยืนถดั เทา้ ซา้ ยตามจงั หวะ มอื ซ้ายชูขน้ึ เหนอื ศีรษะจับมือผู้หญงิ ไว้มือขวาตีกลอง ศรี ษะลัก คอสลับซา้ ย-ขวาตามจังหวะ หมายเหตุ การปฏิบตั ิทา่ รานี้ ผู้หญงิ จะหมนุ ตัว มาทางขวาและปฏบิ ตั ดิ งั ทอ่ี ธิบาย และหมนุ กลบั โดยการหมนุ ตวั ไปทางซา้ ยให้หันกลบั มาด้านหนา้ เวที โดยมอื และเท้าปฏบิ ัติเหมือนกัน แต่เพยี งหมนุ สลบั กลบั ไปกลบั มา ปฏบิ ัติใหค้ รบ 4 คร้ัง กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 68

ท่าท่ี 22.3 ท่าที่ 22.3 ท่าที่ 22.4 หญงิ ยนื ถดั เท้าซา้ ยตามจงั หวะ มือซ้ายหงายฝ่า ทา่ ที่ 23 มือออกด้านข้างลาตวั แขนตงึ และวาดแขนขึ้น-ลง กลองยาวสโุ ขทยั ตามจงั หวะมือขวาชูข้นึ เหนือศีรษะจบั มือผู้ชายไว้ ศีรษะลักคอสลบั ซา้ ย-ขวาตามจังหวะ ชาย ยา่ เทา้ หมุนตวั ไปด้านซา้ ยหันไปดา้ นหลังเวที มอื ซ้ายชูขึน้ จับมอื ผ้หู ญงิ มือขวาตีกลอง ศรี ษะต้ัง ตรง ทา่ ที่ 22.4 หญงิ ยนื ถดั เทา้ ซ้ายตามจงั หวะ มอื ซา้ ยหงายฝา่ มอื ออกด้านข้างลาตัวแขนตงึ และวาดแขนขึ้น-ลง ตามจังหวะมือขวาชขู ้นึ เหนือศีรษะจบั มือผู้ชายไว้ ศีรษะลักคอสลบั ซา้ ย-ขวาตามจังหวะ ชาย ปฏิบตั ิต่อเน่ืองโดยย่าเท้าซ้ายหมนุ ตวั ไป ดา้ นซา้ ยใหห้ ยดุ หนั หน้ามาด้านหนา้ เวที แลว้ ใชส้ น้ เทา้ ขวาแตะด้านข้าง มือซ้ายชูข้ึนเหนือศรี ษะจบั มือ ผหู้ ญิงไว้มอื ขวาตีกลอง ศรี ษะเอยี งซ้าย หมายเหตุ การปฏิบัติท่ารานี้ ผชู้ ายจะหมุนตัว ไปทางซ้ายและปฏบิ ตั ิดังที่อธบิ าย และหมนุ กลับ โดยการหมุนตัวไปทางขวาให้หันกลบั มาดา้ นหนา้ เวที โดยมือและเท้าปฏบิ ัติเหมือนกัน แต่เพยี งหมุนสลบั กลบั ไปกลับมา ปฏิบตั ใิ หค้ รบ 4 ครัง้ ทา่ ท่ี 23 หญงิ กลับหลงั หันไปด้านหลังเวที เดินถัดเท้า ขวาตามจงั หวะ มือซ้ายชูขึ้นเหนอื ศรี ษะ จบั มือผู้ชาย ไวม้ อื ขวาหงายฝ่ามือออกด้านขา้ งลาตัวแขนตึงและ วาดแขนขึ้น-ลงตามจังหวะ ศีรษะเอียงขวา ชาย เดินถัดเทา้ ขวาตามจงั หวะ มือซ้ายชขู ึน้ เหนือศรี ษะจบั มือผหู้ ญงิ มอื ขวาหงายฝ่ามอื ออก ด้านขา้ งลาตวั แขนตึงและวาดแขนขนึ้ -ลงตามจงั หวะ ศีรษะเอียงขวา หมายเหตุ การปฏิบัติท่ารานี้ จะเดินวนเปน็ วงกลมทวนเขม็ นาฬกิ าโดยทีย่ ังจบั มือกันไว้ เดินวน เต็มรอบจนกลับที่เดิมของตวั เอง และผูห้ ญิงกห็ ันหนา้ กลับมา ด้านหนา้ เวที หน้า 69

ท่าที่ 24.1 ท่าที่ 24 ท่าที่ 24.2 ท่าท่ี 24.1 ท่าท่ี 24.3 หญิง วางเทา้ ขวาไปด้านหลังโดยใช้จมกู เทา้ แตะ ทา่ ที่ 24.4 เปดิ สน้ เทา้ มอื ทั้งสองจีบสง่ หลังแขนตงึ ศีรษะก้มลง กลองยาวสโุ ขทยั เล็กน้อย ชาย วางเท้าขวาไปดา้ นหลังโดยใชจ้ มูกเท้าแตะ เปดิ สน้ เท้า มอื ทั้งสองจบี สง่ หลังแขนตงึ ศีรษะก้มลง เลก็ น้อย ท่าท่ี 24.2 หญิง ปฏิบตั ติ อ่ เน่ืองโดย เลือ่ นเทา้ ขวามาใชส้ น้ เทา้ แตะดา้ นหน้า มอื ท้ังสองปลอ่ ยจบี วาดข้นึ งอศอก ต้งั ฉากเหนือศีรษะอยูค่ ู่กนั และหงายฝา่ มือข้ึนปลาย นว้ิ แทงมาด้านหนา้ ศรี ษะตงั้ ตรง ชาย ปฏิบัติตอ่ เน่ืองโดย เลื่อนเทา้ ขวามาใชส้ ้น เทา้ แตะด้านหน้า มอื ทัง้ สองปลอ่ ยจบี วาดขน้ึ งอศอก ตั้งฉากเหนือศรี ษะอยูค่ ู่กนั และหงายฝา่ มือข้ึนปลาย น้ิวแทงมาดา้ นหนา้ ศีรษะตง้ั ตรง ทา่ ที่ 24.3 หญิง ปฏิบตั ติ อ่ เน่ืองโดย วางเท้าขวาแลว้ ใช้ส้น เท้าซ้ายแตะมาด้านหนา้ มือทั้งสองมว้ นจบี ปล่อยตง้ั วงกลาง อยู่ดา้ นข้างลาตวั ในระดบั เท่ากนั ศรี ษะเอียง ขวา ชาย ปฏิบัติต่อเน่ืองโดย วางเท้าขวาแลว้ ใชส้ ้น เทา้ ซ้ายแตะมาด้านหนา้ มอื ท้ังสองม้วนจีบปล่อยตง้ั วงกลาง อยดู่ ้านข้างลาตัวในระดบั เทา่ กัน ศีรษะเอยี ง ขวา ทา่ ท่ี 24.4 หญิง ปฏิบตั ิต่อเนอื่ งโดย วางเท้าซ้ายแล้วใชส้ ้น เท้าขวาแตะมาด้านหน้า มือทง้ั สองมว้ นจบี ปล่อย หงายฝา่ มือข้ึนปลายนวิ้ แทงออกดา้ นข้างลาตวั งอศอก ตัง้ ฉากระดับไหล่ อยู่ดา้ นข้างลาตัวในระดับเทา่ กัน เอยี งศรี ษะซ้าย ชาย ปฏบิ ตั ติ อ่ เน่อื งโดย วางเท้าซา้ ยแลว้ ใชส้ น้ เท้าขวาแตะมาด้านหน้า มอื ทงั้ สองมว้ นจีบปล่อย หงายฝา่ มอื ขนึ้ ปลายนิ้วแทงออกด้านขา้ งลาตัวงอศอก ต้ังฉากระดับไหล่ อยู่ดา้ นข้างลาตัวในระดับเทา่ กัน เอียงศรี ษะซ้าย หน้า 70

ท่าที่ 24.5 ทา่ ท่ี 24.5 หญงิ ปฏิบัติตอ่ เนอ่ื งโดย วางเท้าขวาแล้วใช้ส้น ท่าที่ 25.1 ท่าท่ี 25.2 เทา้ ซา้ ยแตะมาด้านหนา้ มอื ท้ังสองม้วนจีบปล่อยตง้ั ทา่ ที่ 25.3 วงกลาง อยดู่ า้ นข้างลาตวั ในระดบั เท่ากนั เอียงศรี ษะ กลองยาวสโุ ขทยั ขวา ชาย ปฏบิ ัติต่อเน่ืองโดย วางเท้าขวาแลว้ ใชส้ ้น เท้าซา้ ยแตะมาด้านหน้า มือท้ังสองม้วนจบี ปล่อยตั้ง วงกลาง อยู่ด้านข้างลาตัวในระดับเทา่ กัน เอียงศรี ษะ ขวา หมายเหตุ การปฏิบตั ิกระบวนทา่ รานี้ 2 ชุด ท่าที่ 25 ท่าท่ี 25.1 หญงิ วางเทา้ ขวาไปด้านหลังโดยใช้จมูกเทา้ แตะ เปิดสน้ เทา้ มือทั้งสองจีบสง่ หลังแขนตงึ ศีรษะก้มลง เล็กนอ้ ย ชาย วางเทา้ ขวาไปดา้ นหลงั โดยใชจ้ มกู เท้าแตะ เปิดสน้ เท้า มือท้ังสองจีบส่งหลงั แขนตงึ ศรี ษะก้มลง เลก็ น้อย ท่าที่ 25.2 หญิง ปฏบิ ตั ิตอ่ เน่ืองโดย เลื่อนเทา้ ขวามาใช้ส้น เทา้ แตะด้านหนา้ มอื ทงั้ สองปล่อยจีบวาดขนึ้ งอศอก ตัง้ ฉากเหนือศรี ษะอยคู่ ู่กัน และหงายฝ่ามือขึ้นปลาย น้วิ แทงมาด้านหนา้ ศีรษะตง้ั ตรง ชาย ปฏบิ ตั ติ ่อเนอื่ งโดย เล่ือนเท้าขวามาใช้ส้น เทา้ แตะด้านหนา้ มอื ทั้งสองปลอ่ ยจีบวาดขน้ึ งอศอก ตั้งฉากเหนือศรี ษะอยูค่ ู่กัน และหงายฝา่ มือขน้ึ ปลาย น้ิวแทงมาด้านหน้า ศรี ษะตั้งตรง ท่าที่ 25.3 หญิง ปฏบิ ัติตอ่ เน่ืองโดย วางเท้าขวาแลว้ ใชส้ น้ เท้าซ้ายแตะมาด้านหน้า มือทั้งสองม้วนจบี ปล่อยตงั้ วงกลาง อยู่ดา้ นข้างลาตัวในระดับเทา่ กนั ศรี ษะเอยี ง ขวา ชาย ปฏบิ ตั ิต่อเนื่องโดย วางเท้าขวาแล้วใชส้ ้น เท้าซา้ ยแตะมาดา้ นหนา้ มอื ท้ังสองมว้ นจบี ปล่อยตั้ง วงกลาง อย่ดู า้ นข้างลาตวั ในระดับเท่ากนั ศรี ษะเอียง ขวา หน้า 71

ทา่ ท่ี 25.4 ท่าท่ี 25.4 หญงิ วางเทา้ ขวาแล้วแตะสน้ เทา้ ซา้ ยด้านหน้า ทา่ ท่ี 26 ท่าที่ 27 มือซา้ ยต้ังวงบนมือขวาจบี หงายระดบั ชายพก ศีรษะ เอียงข้างเดยี วกนั กับมอื ทีจ่ บี และปฏบิ ัติตอ่ เน่ืองโดย วางเท้าซา้ ยแลว้ แตะส้นเทา้ ขวาด้านหนา้ และปฏบิ ัติ มือเปล่ียนเป็นมือซา้ ยจีบหงายระดบั ชายพก มอื ขวา ต้ังวงบน เดนิ หนา้ 2 ก้าว ถอยหลัง 2 กา้ ว ปฏิบัตสิ ลบั กนั จนหมดจงั หวะ ชาย วางเทา้ ขวาแล้วแตะส้นเท้าซ้ายด้านหน้า มือซา้ ยต้ังวงบนมือขวาจีบหงายระดบั ชายพก ศีรษะ เอียงข้างเดยี วกนั กับมอื ทีจ่ ีบ และปฏบิ ัตติ อ่ เนื่องโดย วางเทา้ ซา้ ยแล้วแตะสน้ เท้าขวาดา้ นหน้า และปฏบิ ัติ มอื เปลี่ยนเปน็ มือซา้ ยจบี หงายระดับชายพก มอื ขวา ตงั้ วงบน เดนิ หนา้ 2 กา้ ว ถอยหลงั 2 กา้ ว ปฏบิ ัตสิ ลับกนั จนหมดจงั หวะ ทา่ ที่ 26 หญิง เดนิ ถดั เท้าโดยเท้าซา้ ยอยู่หน้า มือทั้งสอง แบฝา่ มอื หักข้อมือวาดขน้ึ -ลง สลบั กนั ตามจังหวะ ศรี ษะลักคอซ้าย-ขวาสลบั กนั ตามจงั หวะ เพื่อรอ จงั หวะกลองบาก ชาย เดินถดั เทา้ โดยเทา้ ซา้ ยอย่หู น้า มือท้ังสองตี กลองตามจังหวะ ทา่ ที่ 27 หญิง ยนื เหลอ่ื มเทา้ ซ้ายอย่หู น้า ย่อเข่าลง เลก็ น้อย มือไหว้ระดบั หน้าอก ก้มศรี ษะเล็กน้อย ชาย ยืนสน้ เทา้ ชิด มอื ไหว้ระดับหนา้ อก กม้ ศรี ษะเล็กน้อย กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 72

เปรยี บเทยี บทา่ รากลองยาวสุโขทัยท่ใี ชใ้ นคณะทองหลอม ศรวี ิไล - ท่าราที่ใช้ปฏบิ ตั ติ ามหลกั นาฏศิลป์ไทย ทา่ รากลองยาวสโุ ขทัยที่ใช้ในคณะทองหลอม ศรีวิไล ท่าราท่ใี ช้ปฏิบตั ิตามหลกั นาฏศิลปไ์ ทย ทา่ ท่ี 1 ทา่ ที่ 1 ทา่ ที่ 2 ท่าท2ี่ ท่าท่ี 3 ทา่ ท่ี 3 ทา่ ท่ี 4.1 ท่าท่ี 4.1 กลองยาวสโุ ขทัย หนา้ 73

ทา่ รากลองยาวสโุ ขทยั ท่ีใช้ในคณะทองหลอม ศรวี ิไล ทา่ ราท่ใี ชป้ ฏบิ ัตติ ามหลกั นาฏศลิ ปไ์ ทย ทา่ ที่ 4.2 ท่าที่ 4.2 ท่าที่ 5 ทา่ ที่ 5 ท่าที่ 6 ท่าที่ 6 ท่าที่ 7 ท่าท่ี 7 กลองยาวสโุ ขทัย หนา้ 74

ทา่ รากลองยาวสุโขทัยที่ใช้ในคณะทองหลอม ศรีวไิ ล ท่าราทใ่ี ช้ปฏบิ ตั ติ ามหลักนาฏศิลป์ไทย ท่าท่ี 8.1 ท่าที่ 8.1 ทา่ ท่ี 8.2 ทา่ ที่ 8.2 ทา่ ท่ี 8.3 ทา่ ท่ี 8.3 ท่าท่ี 9 ทา่ ท่ี 9 กลองยาวสุโขทัย หน้า 75

ทา่ รากลองยาวสโุ ขทยั ท่ีใชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวิไล ท่าราทใ่ี ชป้ ฏิบัติตามหลักนาฏศลิ ป์ไทย ทา่ ที่ 10.1 ท่าท่ี 10.1 ทา่ ที่ 10.2 ท่าท่ี 10.2 ท่าที่ 11 ท่าที่ 11 ทา่ ท่ี 12 ทา่ ที่ 12 กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 76

ทา่ รากลองยาวสุโขทยั ที่ใชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวไิ ล ท่าราท่ีใช้ปฏิบตั ิตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ทา่ ท่ี 13.1 ท่าที่ 13.1 ทา่ ท่ี 13.2 ทา่ ที่ 13.2 ท่าที่ 13.3 ทา่ ท่ี 13.3 ท่าท่ี 14.1 ทา่ ที่ 14.1 กลองยาวสุโขทยั หน้า 77

ทา่ รากลองยาวสโุ ขทัยท่ใี ชใ้ นคณะทองหลอม ศรวี ไิ ล ทา่ ราท่ใี ชป้ ฏบิ ัติตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ท่าที่ 14.2 ทา่ ท่ี 14.2 ท่าท่ี15 ทา่ ที่ 15 ทา่ ท่ี 16.1 ทา่ ท่ี 16.1 ท่าท่ี 16.2 ท่าท1่ี 6.2 กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 78

ทา่ รากลองยาวสุโขทัยที่ใช้ในคณะทองหลอม ศรวี ไิ ล ทา่ ราท่ใี ชป้ ฏบิ ตั ิตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ท่าที่ 16.3 ทา่ ที่ 16.3 ทา่ ท่ี 17 ทา่ ที่ 17 ทา่ ท่ี 18.1 ท่าที่ 18.1 ท่าท่ี 18.2 ท่าท่1ื 8.2 กลองยาวสุโขทยั หน้า 79

ทา่ รากลองยาวสุโขทยั ที่ใชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวไิ ล ท่าราท่ีใช้ปฏิบตั ิตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ทา่ ท่ี 19.1 ท่าที่ 19.1 ทา่ ท่ี 19.2 ทา่ ที่ 19.2 ท่าที่ 20.1 ทา่ ท่ี 20.1 ท่าท่ี 20.2 ทา่ ที่ 20.2 กลองยาวสุโขทยั หน้า 80

ทา่ รากลองยาวสโุ ขทัยทใี่ ช้ในคณะทองหลอม ศรวี ิไล ทา่ ราทีใ่ ชป้ ฏิบัติตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ท่าที่ 21 ทา่ ที่ 21 ทา่ ท่ี 22.1 ท่าท่ี 22.1 ทา่ ที่ 22.2 ทา่ ท่ี 22.2 ทา่ ท่ี 22.3 ทา่ ที่ 22.3 กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 81

ทา่ รากลองยาวสโุ ขทัยท่ใี ชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวิไล ทา่ ราทีใ่ ชป้ ฏิบตั ติ ามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ท่าท่ี 22.4 ท่าท่ี 22.4 ท่าท่ี 23 ทา่ ที่ 23 ท่าที่ 24.1 ทา่ ท่ี 24.1 ทา่ ท่ี 24.2 ทา่ ที่ 24.2 กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 82

ท่ารากลองยาวสุโขทยั ที่ใชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวไิ ล ท่าราท่ีใช้ปฏิบตั ิตามหลักนาฏศิลปไ์ ทย ทา่ ท่ี 24.3 ท่าที่ 24.3 ทา่ ท่ี 24.4 ทา่ ที่ 24.4 ท่าที่ 24.5 ทา่ ท่ี 24.5 ท่าท่ี 25.1 ทา่ ที่ 25.1 กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 83

ท่ารากลองยาวสุโขทยั ที่ใชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวไิ ล ทา่ ราที่ใชป้ ฏิบตั ติ ามหลกั นาฏศิลปไ์ ทย ทา่ ท่ี 25.2 ท่าที่ 25.2 ท่าที่ 25.3 ทา่ ที่ 25.3 ทา่ ท่ี25.4 ทา่ ท่ี 25.4 ทา่ ท่ี 26 ทา่ ท่ี 26 กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 84

ท่ารากลองยาวสโุ ขทัยทใี่ ชใ้ นคณะทองหลอม ศรีวิไล ทา่ ราท่ใี ชป้ ฏบิ ตั ติ ามหลักนาฏศลิ ป์ไทย ท่าท่ี 27 ทา่ ท่ี 27 10. โอกาสทใี่ ชใ้ นการแสดง กลองยาวสโุ ขทยั จะนิยมแสดงในงานบวชนาค แห่นาคเข้าโบสถ์ งานแห่กฐิน งานแห่เทียน พรรษา และเทศกาลตา่ ง ๆ กลองยาวสุโขทัย หน้า 85

กิจกรรมเสนอแนะ ในการจัดการความรู้เรื่อง กลองยางสุโขทัย ได้รวบรวมองค์ความรู้ของกลองยาวคณะ ทองหลอมศรีวิไลไว้เพียงคณะเดียว ซึ่งกลองยาวสุโขทัยจะมีอยู่หลายคณะและแต่ละคณะมีมือกลอง และท่าราท่ีแตกต่างและโดดเด่นไปคนละแบบ จึงควรมีการรวบรวมองค์ความรู้ของกลองยาวสุโขทัย คณะอน่ื ๆ นอกจากนั้น มือกลองและท่าราของคณะทองหลอมศรีวิไล ได้มีการประดิษฐ์ไว้หลายชุด จึงควรมีการจัดเก็บองค์ความรู้กลองยาวสุโขทัยคณะทองหลอมศรีวิไลให้ครบทุกชุดเพ่ือนามาอนุรักษ์ และเผยแพรใ่ ห้แก่ครู นกั เรียน นกั ศกึ ษา ตอ่ ไป กลองยาวสโุ ขทยั หน้า 86

บรรณานกุ รม บารุง พาทยกุล. กลองยาว. เอกสารวิชา, วิทยาเขตพณชิ ยการพระนคร : กรงุ เทพมหานคร, 2525. สมาน น้อยนิตย์. ร้จู ังหวะไทย รหู้ ัวใจดนตรี. กรงุ เทพมหานคร : อนิ ฟินิตี้ มีเดยี , 2553. สาเนา จันทรจ์ รญู . การเลน่ พน้ื เมืองของชาวจังหวัดสุโขทัย. สภาวัฒนธรรมจังหวดั สุโขทยั , 2540. https://www.google.co.th https://ethnology.wordpress.com https://th.wikipedia.org/wiki กลองยาวสุโขทยั หน้า 87

ภาคผนวก กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 88

ภาคผนวก ก แผนการจัดการความรู้ กลองยาวสโุ ขทัย หน้า 89

แผนการจดั การความรวู้ ิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทยั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 การจัดการความรู้โดยทั่วไปหมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ท่ีกระจัดกระจายในบุคคลหรือ เอกสารขององค์กรมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และนามา พัฒนาตนเองในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษานั้น กิจกรรมท่ีสาคัญท่ีสุดคือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยการค้นหาคน หรือกลุ่มคนที่ประสบ ความสาเร็จในเรือ่ งการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มาร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยนาเรื่องราวความสาเร็จ ของแต่ละบุคคล บันทึกเป็นประเด็นความรู้ และสังเคราะห์เป็น “แก่นความรู้” (Core Competence) เพ่ือนาไปพัฒนาด้านวิชาการและการบริหารในหน่วยงานของตนต่อไป (วิจารณ์ พานิช, ออนไลน์: http://www.gotoknow.org/blogs/posts/94) องค์ความรู้เป็นกระบวนการ (Process) ท่ีดาเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือ หนว่ ยงานย่อยขององค์กร เพือ่ สรา้ งและใชค้ วามรู้ในการทางานใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิ์ดขี น้ึ กว่าเดมิ รูปแบบการจัดการองค์ความรู้โดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและ ประสงค์ท่ีจะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน เช่น เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา, เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทางาน, เพ่ือ ความได้เปรยี บทางการแข่งขนั , หรือเพ่ือเพ่มิ ระดับนวตั กรรมให้สงู ข้นึ (http://th.wikipedia.org) จากความสาคัญของการจัดการความรู้ วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยจึงจัดให้มีงานจัดการความรู้ ในโครงสร้างการบริหารงานของวิทยาลัย เพื่อให้มีคณะทางานที่คอยดาเนินงานด้านการจัดการความรู้ ขับเคลอื่ นใหว้ ทิ ยาลยั นาฏศิลปสุโขทยั ไปสพู่ ันธกจิ ทีไ่ ด้ต้งั ไว้ กลองยาวสุโขทยั หน้า 90

วสิ ยั ทัศน์ “วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ท่ีมี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับระดบั ท้องถ่นิ และระดบั ชาติ” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ระดับพื้นฐานวิชาชีพถึงวิชาชีพ ช้นั สูง ที่มีคุณภาพ เป็นท่ียอมรับระดบั ชาติและนานาชาติ 2. สร้างงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม ที่เป็นองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี อยา่ งมีคุณคา่ แกส่ งั คม 3. เป็นศูนย์กลางการบรกิ ารวชิ าการศลิ ปวฒั นธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี 4. อนุรักษ์ พัฒนา สืบสาน และเผยแพร่ศิลปวฒั นธรรมดา้ นนาฏศิลป์ ดนตรี 5. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและพัฒนาองค์กรเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและ ประชาคมโลก ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ให้มีคุณภาพและ มาตรฐานเปน็ ท่ียอมรับในระดับชาติ 2. ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม องค์ความรู้ ศลิ ปวัฒนธรรมดา้ นนาฏศิลป์ ดนตรี เป็นที่ยอมรบั ทง้ั ในและต่างประเทศ 3. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาการบริการทางวิชาการศิลปวัฒนธรรมธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี แกช่ ุมชนและสังคม 4. ส่งเสริม สนับสนุน การอนุรักษ์ พัฒนา สืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมธรรมด้าน นาฏศิลป์ ดนตรี 5. พัฒนาการบรหิ ารจัดการองค์กรใหม้ ปี ระสิทธภิ าพเพ่อื ก้าวสู่ประชาคมอาเซยี น กลองยาวสุโขทัย หน้า 91

นโยบายการจัดการความรู้ 1. ส่งเสริมและสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรเกี่ยวกับคุณค่าความรู้ท่ีบุคลากรและ วทิ ยาลยั มีใหส้ ามารถนามาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. สร้างวฒั นธรรมของวิทยาลยั ทีเ่ อื้อต่อการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และถ่ายความรู้ระหว่างบุคลากร อย่างตอ่ เน่อื งและท่ัวถึง 3. พัฒนาและส่งให้มีระบบการจัดความรู้ เพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ของ บคุ คลและวทิ ยาลยั และเกดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างและใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานงาน โดยมุ่งหวังให้ บุคลากรเกิดการพัฒนาความรู้ ทักษะ และทัศนคติท่ีดีต่อการปฏิบัติงานและส่งมอบความสาเร็จตาม พันธกิจ ของวิทยาลัยใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด 5. สนับสนุนให้บุคลากร หรือหน่วยงานภายในท่ีรับผิดชอบการจัดการความรู้ ดาเนินการ จัดเก็บความรู้ในแต่ละปีงบประมาณ ให้ครอบคลุมพันธกิจของวิทยาลัย เช่น ด้านการจัดการเรียน การสอน ด้านการวจิ ัย ด้านสายสนบั สนนุ และภมู ิปัญญาท้องถน่ิ เป็นต้น กลองยาวสุโขทยั หนา้ 92

กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 93

กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 94

ภาคผนวก ข ผู้บรรเลงและผู้แสดงกลองยาวสุโขทยั คณะทองหลอมศรีวไิ ล กลองยาวสโุ ขทยั หนา้ 95

ผู้บรรเลงและผแู้ สดงกลองยาวสโุ ขทยั คณะทองหลอมศรวี ิไล กลองยาวสโุ ขทัย หนา้ 96


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook